ปัญหาสุขภาพผู้สูงอายุไทย 2547 ปัญหาสุขภาพผู้สูงอายุไทย 2547 เยาวรัตน์ ปรปักษ์ขาม 1 กุมภาพันธ์ 2550
การสำรวจสภาวะสุขภาพประชาชนไทย ครั้งที่ 3 ในปีพ. ศ การสำรวจสภาวะสุขภาพประชาชนไทย ครั้งที่ 3 ในปีพ.ศ.2547 เครื่องมือในการเก็บข้อมูล ประกอบด้วย การสัมภาษณ์ : ใช้แบบสอบถาม การตรวจร่างกาย : สภาพทั่วไป น้ำหนัก / ส่วนสูง เส้นรอบเอว ชีพจร ความดันโลหิต การตรวจทางห้องปฏิบัติการ : ตรวจเลือด
จำนวนตัวอย่างใน การสำรวจสภาวะสุขภาพอนามัยของประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายครั้งที่ 3 ในปี 2547 กลุ่มอายุ ชาย หญิง รวม 60-69 ปี 5323 5635 10958 70-79 ปี 3372 3574 6946 80 ปีขึ้นไป 690 709 1399 9385 9918 19303
สภาวะสุขภาพผู้สูงอายุไทย มาตรการเสริมสร้างสุขภาวะผู้สูงอายุ ได้แก่ ลดโรคทางกาย จิต และประสาทสัมผัส ลดการพึ่งพาในกิจวัตรประจำวัน ในบ้าน นอกบ้าน ความเกื้อหนุนที่พอเพียงด้านสังคม ได้แก่ หลักประกันรายได้ ที่อยู่อาศัย และ สุขภาพ การดำรงคงไว้ในวิถีชีวิตเพื่อสุขภาวะ และความปลอดภัย
ประเด็นที่หนึ่ง ความชุกของโรค ปัจจัยเสี่ยง และ ภาวะมีโรคประจำตัวหลายโรค ถามว่าในเวลา 1 ปีที่ผ่านมาได้เจ็บป่วยด้วยโรคใดโรคหนึ่งใน 11 โรคหรือหลายโรค ใน 11 โรคที่พบได้บ่อย คือ หอบหืด เบาหวาน ความดันโลหิตสูง มะเร็ง โลหิตจาง ปอดอุดกลั้นเรื้อรัง ไขมันในเลือดสูง ไตวาย อัมพฤกษ์ วัณโรค และ ข้อเสื่อม
ความชุกของการมีโรคประจำตัวหลายโรค เปรียบเทียบระหว่าง การสำรวจครั้งที่ 2 และครั้งที่3 ปี 2539 ปี 2547 ทั้งสองเพศ เพศชาย เพศหญิง ไม่เป็นโรค 27.6 13.0 13.6 9.9 เป็นมากกว่า 1 โรค 72.4 87.0 84.4 90.1 min,max ของจำนวนโรค 1,8 1,7 Asthma,cancer,,anemia,COPD,hypercholesterol,renal failure,diabetes,high blood pressure paralysis,TB, ข้อเสื่อม
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ
ปัญหาเรื่องฟัน แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ฉบับที่ 8 และ 9 ได้กำหนดว่า ผู้สูงอายุควรมีฟันบดเคี้ยวไม่น้อยกว่า 20 ซี่ และควรได้รับบริการฟันปลอมเพื่อคงสภาพทำหน้าที่ได้ หากมีฟันน้อยกว่ากำหนด
ปัญหาเรื่องฟัน
อัตราความชุกของภาวะเรื้อรัง
ประเด็นที่ 2 ภาวะการสะสมของโรคเรื้อรัง ประเด็นที่ 2 ภาวะการสะสมของโรคเรื้อรัง โรคเรื้อรังในผู้สูงอายุ ส่วนใหญ่มักเป็นโรคที่สะสมมาตั้งแต่วัยกลางคน ตั้งแต่ 45 ปีขึ้นไป เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง และ โลหิตจาง ฯลฯ
ความชุกของผู้ที่อายุ 45 ปีขึ้นไปที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นความดันโลหิตสูง(Systolic BP>140 or diastolic BP >90 mm hg)
ความชุกของผู้ที่อายุ 45 ปีขึ้นไปที่ได้รับการวินิจฉัยว่ามีไขมันในเลือดสูง (ระดับไขมันรวม ≥ 240mg/dl )
ความชุกของผู้ที่มีอายุ 45 ปีขึ้นไปที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นเบาหวาน (ระดับน้ำตาลในเลือด FBS>126 mg/dl)
ระดับของมาตรการป้องกัน ลดอุบัติการณ์ของปัจจัยเสี่ยงและโรค ลดความชุกของโรคโดยทำให้ระยะการเป็นสั้นลง มาตรการเพื่อลดภาวะเสื่อมถอยทุพพลภาพ มาตรการเหล่านี้จึงจำเป็นต้องเริ่มตั้งแต่วัยกลางคน เพื่อลดภาระโรคในผู้สูงอายุ
ประเด็นที่ 3 การเข้าถึงบริการ ได้การรักษาและ ควบคุมได้ของกลุ่มผู้สูงอายุ เพื่อชี้วัดความคลอบคลุมและคุณภาพบริการ โดยจำแนกผู้ที่ตรวจพบว่าเป็นโรค เป็น 4 กลุ่ม คือ ไม่ทราบว่าเป็น ไม่เคยตรวจ ทราบว่าเป็น แต่ไม่ได้รักษา ทราบว่าเป็น ได้รับการรักษาด้วยยา แต่คุมไม่ได้ รักษา และ ควบคุมได้ พบระดับปกติจากการตรวจเลือด
ความดันโลหิตสูง เกณฑ์:- ผู้ที่ Systolic BP เฉลี่ยตั้งแต่ 140 มิลลิเมตรปรอทขึ้นไป หรือ ผู้ที่ Diastolic BP เฉลี่ยตั้งแต่ 90 มิลลิเมตรปรอทขึ้นไป หรือ ผู้ที่กำลังได้รับการรักษาด้วยการรับประทานยาลดความดันโลหิต กลุ่มที่ได้รับการรักษาและควบคุมได้ หมายถึง ผู้ป่วยที่ได้รับการ รักษาด้วยยาลดความดันโลหิต และตรวจวัดความดันโลหิต พบว่า SBP < 140 mmHg และ DBP < 90 mmHg .ในวันสัมภาษณ์
เบาหวาน เกณฑ์:- หมายถึงผู้ที่มีระดับน้ำตาลในเลือด Fasting Blood Sugar ≥ 126 mg/dl หรือ เป็นผู้ที่ได้รับการรักษาด้วยการรับประทานยาลดน้ำตาลในเลือดหรือฉีด อินซูลิน กลุ่มที่ได้รับการรักษาและควบคุมได้ หมายถึง ผู้สูงอายุที่ได้รับการ รักษาด้วยยาลดน้ำตาลในเลือดหรือฉีดอินซูลิน และตรวจพบ FBS < 140 mg/dlในวันสัมภาษณ์
ความชุกของเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และทั้งสองโรค
ระดับของการรับบริการ
ลักษณะของผู้สูงอายุและการส่งเสริมความเป็นอยู่ดี เป็นหลายโรคพร้อมๆกัน ที่ควรควบคุมได้ด้วยบริการสุขภาพ กินยาหลายอย่างเป็นประจำ มีการควบคุมเฉพาะยาที่จำเป็น ต้องการความเป็นส่วนตัวมากขึ้น ผู้อยู่ด้วยมีความเข้าใจ แยกตัวจากจากสังคม ให้มีกลุ่มเพื่อนร่วมรุ่นหรือชมรมผู้สูงอายุด้วยกัน