คาดการณ์สภาพอากาศประเทศไทย ปีพุทธศักราช 2558

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การบันทึกข้อมูล 43 แฟ้มบน Hospital OS
Advertisements

คาดการณ์สภาพอากาศประเทศไทย กรกฎาคม 2552
การคาดการณ์สถานการณ์น้ำปี 2552
Principles of Communications Chapter 5 Communication Media
สิ่งมีชีวิต ที่มีแสงในตัวเอง....
El Nino ดั้งเดิมเป็นคำที่ชาวประมงเปรูใช้ เรียกปีที่มีการจับปลาในทะเลได้เป็นจำนวน มากกว่าปีอื่น ๆ แต่พื้นที่บกบริเวณด้าน ตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิคเกิดภาวะแห้ง.
โลก (Earth).
Earth’s internal processes กระบวนการเปลี่ยนแปลง ภายในโลก
El Niño - La Niña History –1600’s : Peruvians noticed that around Christmas time during certain years there was a lot less fish off shore –Named this.
วิธีการกรอกข้อมูลสำหรับการ ประเมินคุณภาพผลงานวิจัยเชิง วิชาการด้านวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี ของสถาบันอุดมศึกษา ในประเทศไทย ปี 2554 สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
การตั้งค่าแสดงผล Folder Folder Option. Folder Option คือ  ตัวจัดการและตั้งค่าการแสดงผลของ โฟลเดอร์ ( Folder )
LOCATION AJ.2 Satit UP. D C 1 B A F 5 6 K
จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกประวัติ ความเป็นมาของโปรแกรม FreeMind ได้ 2. บอกความหมายและสามารถเลือกใช้โปรแกรม Open Source Software ได้ 3. บอกความหมายของการอับโหลดและการดาวน์
ประชุมคณะอนุกรรมการติดตาม วิเคราะห์ สถานการณ์น้ำและจัดสรรน้ำ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๕ วันศุกร์ที่ ๒๗ กรกฎาคม ๒๕๕๕ ณ ห้องประชุม ๑ ชั้น ๑๔ สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร.
ประชุมคณะอนุกรรมการติดตาม วิเคราะห์ สถานการณ์น้ำและจัดสรรน้ำ ครั้งที่ ๑๑/๒๕๕๕ วันศุกร์ที่ ๑๐ สิงหาคม ๒๕๕๕ ณ ห้องประชุม ๑ ชั้น ๑๔ สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร.
ประชุมคณะทำงานเพื่อติดตาม วิเคราะห์สถานการณ์น้ำ และจัดสรรน้ำ
กรมอุตุนิยมวิทยา นายเมธี มหายศนันท์ สำนักพยากรณ์อากาศ.
และการรับแจ้งข้อมูลลิขสิทธิ์ กรมทรัพย์สินทางปัญญา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเส้นใยแก้วนำแสง
Mobile Application Development
Private Equity มิตรแท้ของเจ้าของกิจการ?
AUSTRALIA-OCENIA GEOGRAPHY OF AUSTRALIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง : TAWEESAK GUNYOCHAI : Satit UP.
คาดการณ์สภาพอากาศประเทศไทย ปีพุทธศักราช 2558
การเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีภาค
อุทกภัย (Floods) เป็นภัยธรรมชาติที่ทำให้เกิดสภาวะน้ำท่วมหรือน้ำท่วมฉับพลัน เกิดจากฝนตกหนักต่อเนื่องกันเป็นเวลานาน บางครั้งทำให้เกิดแผ่นดินถล่ม อาจมีสาเหตุจากพายุหมุนเขตร้อนลมมรสุมมีกำลังแรง.
Introduction to Arduino UNO
แนวทางการออกแบบนามบัตร
คาดการณ์สภาพอากาศประเทศไทย ปีพุทธศักราช 2558
ADM 2301 การสื่อสารการตลาดในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
การพัฒนางานเภสัชกรรม
กลุ่ม 1 ด้านการคาดการณ์ลักษณะอากาศระยะสั้น ระยะกลาง และระยะยาว
บทที่ 4 การคัดเลือกโครงการ
การซักซ้อมความเข้าใจในการเบิกค่าตอบแทนให้กับเจ้าหน้าที่ ตามหลักเกณฑ์ของกระทรวงสาธารณสุข ที่บังคับใช้ในปัจจุบัน.
การจัดการระบบฐานข้อมูล
ซักซ้อมแนวทางการจ่ายค่าตอบแทนตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขการจ่ายค่าตอบแทน แนบท้ายข้อบังคับกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยการจ่ายเงินค่าตอบแทนเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานให้กับหน่วยบริการในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข.
สงกรานต์ ป้องบุญจันทร์ คณะนิติศาสตร์ ม.เชียงใหม่
ประชุมคณะอนุกรรมการติดตาม วิเคราะห์สถานการณ์น้ำและจัดสรรน้ำ
การเปลี่ยนแปลงคาบการแปรแสง ของระบบดาวคู่ XY Leonis
วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ วิชญ์ชัย ธรรมประดิษฐ์
แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล
สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 9 จังหวัดชัยภูมิ
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล สำนักงานสภามหาวิทยาลัย
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
การเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีภาค
สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 6 จังหวัดสระแก้ว
ประชุมคณะทำงานเพื่อติดตาม วิเคราะห์สถานการณ์น้ำ และจัดสรรน้ำ
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 22 มิถุนายน 2558 ข้อมูล ณ เวลา น. และ 1.
เรื่อง การวิเคราะห์และออกแบบฐานข้อมูล MySQL Database
ประชุมคณะอนุกรรมการติดตาม วิเคราะห์สถานการณ์น้ำและจัดสรรน้ำ
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 1 พฤศจิกายน 2557 ข้อมูล ณ เวลา น. และ
ข้อมูลสถานการณ์ภัยแล้ง
ปัจจัยที่ส่งผลทำให้เกิดฝนตกบริเวณประเทศไทย ในช่วงระหว่างวันที่ พ.ค. 58
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล คณะวิทยาศาสตร์
อาจารย์สอง TAWEESAK GUNYOCHAI : Satit UP
ดร. สุทธศรี วงษ์สมาน รองเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 9 จังหวัดสุรินทร์
การกระจายอายุของบุคลากร เวชศาสตร์เขตร้อน
Holy Land อาจารย์สอง Satit UP.
กลุ่มงานประกันสุขภาพ สสจ.ชัยภูมิ
Happy work place index & Happy work life index
การประมาณการโครงการ.
COLOR INDEX : กำหนดกลุ่มเป้าหมายเพื่อการสำรวจหาความต้องการ START HERE
5ใจเลิกบุหรี่ ด้วยวิธี 5 D
เซอร์ ไอแซค นิวตัน Isaac Newton
โดย จันทิมา อ่องประกฤษ ֆ คณะทำงานKPI
คาดการณ์สภาพอากาศประเทศไทย ปีพุทธศักราช 2558
การเปลี่ยนแปลงธรณีภาค
แถลงข่าวดัชนีราคา เดือนกุมภาพันธ์ 2551
สมชาย ละอองพันธ์ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 12 สงขลา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คาดการณ์สภาพอากาศประเทศไทย ปีพุทธศักราช 2558 คาดการณ์สภาพอากาศประเทศไทย ปีพุทธศักราช 2558 จัดทำโดย สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องค์การมหาชน) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เดือนกุมภาพันธ์ 2558

สรุปผลคาดการณ์ ปี 2558 ประเทศไทยจะมีปริมาณฝนค่อนข้างต่ำกว่าปกติ หรือใกล้เคียงกับปี 2530 เดือนมกราคม - มีนาคม โดยรวมทั้งประเทศจะมีปริมาณฝนค่อนข้างต่ำกว่าปกติ โดยเฉพาะ อย่างยิ่งในภาคใต้และภาคตะวันออก ยกเว้นบริเวณตอนล่างของภาคเหนือและด้านตะวันตกของ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนจะมีปริมาณฝนสูงกว่าปกติ เดือนมกราคม ทั่วทุกภาคจะมีปริมาณฝนต่ำกว่าปกติ เดือนกุมภาพันธ์ เกือบทั่วทุกภาคจะมีปริมาณฝนต่ำกว่าปกติ ยกเว้นบางพื้นที่ของภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือจะมีปริมาณฝนสูงกว่าปกติ เดือนมีนาคม เกือบทั่วทุกภาคจะมีปริมาณฝนต่ำกว่าค่าปกติ ยกเว้นบริเวณภาคเหนือตอนล่างและตอนบนของภาคตะวันออกเฉียงเหนือจะมีปริมาณฝนสูงกว่าปกติ เดือนเมษายน - มิถุนายน โดยรวมทั้งประเทศจะมีปริมาณฝนต่ำกว่าปกติ เดือนเมษายน เกือบทั่วทุกภาคจะมีปริมาณฝนต่ำกว่าปกติ ยกเว้นภาคเหนือ ภาคกลาง และตอนบนของภาคตะวันออกเฉียงเหนือจะมีปริมาณฝนสูงกว่าปกติ เดือนพฤษภาคม เกือบทั่วทุกภาคจะมีปริมาณฝนต่ำกว่าปกติ ยกเว้นภาคใต้ตอนล่างจะมีปริมาณฝนสูงกว่าปกติ เดือนมิถุนายน ภาคกลาง และภาคใต้จะมีปริมาณฝนต่ำกว่าปกติ ส่วนภาคเหนือ ภาคตะวันออก และภาคตะวันออกเฉียงเหนือจะมีปริมาณฝนสูงกว่าค่าปกติ ฤดูฝนจะเริ่มต้นช้ากว่าปกติ

ปัจจัยที่ใช้ในการคาดการณ์ฝนรายฤดูกาล ปัจจัยระดับภูมิภาค: ดัชนีสมุทรศาสตร์ Oceanic Niño Index (ONI) - บริเวณมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันออก Pacific Decadal Oscillation Index (PDO) - บริเวณมหาสมุทรแปซิฟิกเหนือ Dipole Mode Index (DMI) - บริเวณมหาสมุทรอินเดีย ปัจจัยระดับท้องถิ่น: ดัชนีมรสุม Indian Monsoon Index - ดัชนีมรสุมด้านมหาสมุทรอินเดีย Western Pacific Monsoon Index - ดัชนีมรสุมด้านมหาสมุทรแปซิฟิก Madden-Julian Oscillation (MJO) - ความผันแปรของลักษณะอากาศในเขตร้อน

ปัจจัยระดับภูมิภาค: ดัชนีสมุทรศาสตร์ ONI= +0.68 IOD = +0.28 PDO = +2.51 ดัชนี PDO ยังคงสภาพเป็นบวก ปัจจุบันมีค่าเท่ากับ +2.51 (เดือนก่อนหน้าเป็น +1.72) ดัชนี ONI (ENSO) มีสภาพเป็นบวก ปัจจุบันมีค่าเท่ากับ +0.68 (เดือนก่อนหน้าเป็น +0.65) หลังจากนี้มีโอกาสเป็นเอลนีโญ ดัชนี DMI (IOD) มีสภาพเป็นกลาง ปัจจุบันมีค่าเท่ากับ +0.28 (เดือนก่อนหน้าเป็น +0.51) Source http://www.ospo.noaa.gov/Products/ocean/sst/anomaly/index.html ONI: http://www.cpc.ncep.noaa.gov/products/analysis_monitoring/ensostuff/ensoyears.shtml PDO: http://jisao.washington.edu/pdo/PDO.latest IOD: http://www.jamstec.go.jp/frcgc/research/d1/iod/DATA/dmi.monthly.ascii ดัชนี > 0.5 แนวโน้มปริมาณฝนน้อยกว่าปกติ ดัชนี <-0.5 แนวโน้มปริมาณฝนมากกว่าปกติ Pacific Decadal Oscillation (PDO) เป็นค่าเฉลี่ย SSTA เดือนธันวาคม บริเวณมหาสมุทรแปซิฟิก เหนือ 20oN Oceanic Niño Index (ONI) เป็นค่าเฉลี่ย SSTA 3 เดือน (พฤศจิกายน-ธันวาคม-มกราคม) ในมหาสมุทรแปซิฟิกบริเวณ 5oN-5oS, 120o-170oW Indian Ocean Dipole (IOD) เป็นผลต่าง SSTA ของเดือนพฤศจิกายน บริเวณ 50-70oE, 10oS-10oN และ 90-110E, 10oS-0oN 4

จัดกลุ่มปีที่มีดัชนีระดับภูมิภาคใกล้เคียงกัน แนวโน้มปริมาณฝนปี 2558 ใกล้เคียงกับปี 2530 ดัชนีระดับภูมิภาค ช่วงเดือนมิถุนายน-เดือนพฤศจิกายน ปี 2557 ใกล้เคียงกับปี 2529 คาดการณ์ได้ว่าในระยะ 6 เดือนข้างหน้า หรือระหว่างเดือนมกราคม-เดือนมิถุนายน 2558 ประเทศไทยจะมีปริมาณฝนใกล้เคียงกับปี 2530 ในช่วงเวลาเดียวกัน โดยต่ำกว่าค่าเฉลี่ยประมาณร้อยละ 19 และจะมีปริมาณฝนสะสมอยู่ในช่วง 400-500 มิลลิเมตร

ปัจจัยระดับท้องถิ่น: ดัชนีมรสุมปี 2558 http://apdrc.soest.hawaii.edu/projects/monsoon/realtime-monidx.html ปัจจุบันลมมรสุมด้านมหาสมุทรอินเดีย มีดัชนีใกล้เคียงค่าปกติ ปัจจุบันลมมรสุมด้านมหาสมุทรแปซิฟิก มีดัชนีสูงกว่าค่าปกติ ที่มา: มหาวิทยาลัย Hawaii

ปัจจัยระดับท้องถิ่น: ดัชนี MJO (Madden-Julian Oscillation) กันยายน 2557 ฝนน้อยกว่าปกติ ตุลาคม 2557 พฤศจิกายน 2557 ฝนใกล้เคียงปกติ ธันวาคม 2557 ฝนมากกว่าปกติ มกราคม 2558 กุมภาพันธ์ 2558 เดือนกุมภาพันธ์ปี 2558 ดัชนี MJO ตรงบริเวณประเทศไทยมีค่าปกติ จึงไม่ส่งอิทธิพลต่อสภาพฝนของไทย ที่มา: NCEP/CDAS and CFS

เปรียบเทียบปริมาณฝนรายเดือน เดือนมกราคม-มีนาคม ความแตกต่างจากค่าเฉลี่ย 30 ปี ค่าเฉลี่ย 30 ปี ปี 2530 มกราคม มกราคม 14 mm. 7 mm. -49.45% กุมภาพันธ์ กุมภาพันธ์ 18 mm. 10 mm. -42.52% มีนาคม มีนาคม 44 mm. 33 mm. -26.45%

เปรียบเทียบปริมาณฝนรายเดือน เดือนเมษายน-มิถุนายน ความแตกต่างจากค่าเฉลี่ย 30 ปี ค่าเฉลี่ย 30 ปี ปี 2530 เมษายน เมษายน 85 mm. 66 mm. -21.45% พฤษภาคม พฤษภาคม 186 mm. 118 mm. -36.67% มิถุนายน มิถุนายน 177 mm. 188 mm. +6.36%

เปรียบเทียบปริมาณฝนสะสม 3 เดือน ระหว่างเดือนมกราคม-มีนาคม ค่าเฉลี่ย 30 ปี ความแตกต่างจากค่าเฉลี่ย 30 ปี ปี 2530 76.21 mm. 50.01 mm. -34.38%

เปรียบเทียบปริมาณฝนสะสม 3 เดือน ระหว่างเดือนเมษายน-มิถุนายน ค่าเฉลี่ย 30 ปี 447.85 mm. ปี 2530 ความแตกต่างจากค่าเฉลี่ย 30 ปี 372.64 mm. -16.79%