การใช้หม้อแปลงไฟฟ้า อย่างมีประสิทธิภาพ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชุมชนของเรา ชุมชนอบอุ่น MANAGEMENT BY P.PROPERTY MANAGEMENT.CO,LTD
Advertisements

เฉลย (เฉพาะข้อแสดงวิธีทำ)
การผลิตบ่อพัก ทำเอง ใช้เอง หจก. มภัสกาญ คอนสตรัคชั่น
หน่วยที่ 13 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดขวางแบบ
ภาวะเศรษฐกิจในปัจจุบันทำให้บริษัทต่างๆ ต้อง ให้ความใส่ใจเป็นพิเศษในการลงทุนสำหรับ เทคโนโลยีใหม่ๆ ให้หันมาสร้างประโยชน์จาก ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเดิมให้มากยิ่งขึ้น.
บทที่ 1 การรวมธุรกิจ.
การพัฒนาระบบทะเบียน ของ โรงเรียนเมโทรเทคโนโลยี จังหวัดเชียงใหม่
นักทรัพยากรบุคคล ชำนาญการพิเศษ
Click Here Click Here. หน้าแรก รายละเอียด LINK Microsoft Word Microsoft Word โปรแกรมการพิมพ์ เอกสาร จดหมายที่มีผู้ใช้งานมากที่สุดใน โลก ! ผมคิดว่ายังงั้น.
การวัดค่ากลาง - ค่าเฉลี่ย
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
หน่วยที่ 14 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดขวางแบบไม่มีแกนเหล็ก
ภาวะ โลก ร้อน.  ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะ ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็น ปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ
เพาเวอร์ แฟกเตอร์ หน่วยที่ 15 เครื่องวัด เครื่องวัดไฟฟ้า ( )
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
ระดับทะเลปานกลาง (MSL)
แนวทางและวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับหลักเกณฑ์ การคำนวณราคากลางงานก่อสร้าง
การพัฒนาโครงการที่อยู่อาศัยในไทย
กลุ่มออกแบบและก่อสร้าง สำนัก อำนวยการ สพฐ.
การจัดซื้อจัดจ้างตามระเบียบ พัสดุ ประกาศคณะรักษาความรักษา ความสงบแห่งชาติ การซื้อและ การจัดจ้างด้วยระบบ อิเล็กทรอนิกส์ (e – GP) และการบริหาร งบประมาณ ขององค์กรปกครองส่วน.
ระเบียบคณะกรรมการพลังงานปรมาณูเพื่อสันติว่าด้วยวิธีการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของวัสดุนิวเคลียร์และสถานประกอบการทางนิวเคลียร์พ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
การคำนวณโหลด Load Calculation
การประมาณโหลดอาคารทั่วไป Load Estimation Calculation
IP-Addressing and Subneting
IP-Addressing and Subneting
มาตรฐานระบบการบริหารงานคุณภาพ
การควบคุมการไหลของกำลังไฟฟ้า
กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน
Piyadanai Pachanapan, Power System Design, EE&CPE, NU
.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
แนวทางการออกแบบโปสเตอร์
การจัดพลังงานโดยการควบคุมพลังไฟฟ้า
บทที่ 1 หน่วยผลิตและทางเลือกภายใต้โครงสร้างตลาด
นางสาวอิศกฤตา โลหพรหม ผู้นำเสนอ นางสาวปาริชาด สุริยะวงศ์
การอนุรักษ์พลังงานในระบบอัดอากาศ
การวิเคราะห์ ต้นทุน ปริมาณ กำไร
คำสั่ง Create , Insert, Delete, Update
ขอแนะนำ PowerPoint 2007 การแนะนำคุณลักษณะใหม่ๆ.
ข่าวประชาสัมพันธ์สำนักงานเกษตรจังหวัดสุโขทัย
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสุรา
โครงสร้างระบบไฟฟ้ากำลัง
.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
การศึกษาการเคลื่อนที่เชิงอนุภาค
การเปลี่ยนแปลงการบริหารจัดการน้ำดื่ม คณะแพทยศาสตร์
วิธีการกำหนดค่า Microsoft SharePoint ของคุณ เว็บไซต์ออนไลน์
หมวด 4 การจัดการของเสียในสำนักงาน
การวิเคราะห์ฟอลต์แบบไม่สมมาตร Unsymmetrical Fault Analysis
การประมาณโหลดไฟฟ้าเบื้องต้น Electrical Load Estimation
ระบบไฟฟ้าที่มีใช้ในประเทศไทย แบ่งได้ดังนี้
Nikola Tesla . . อัจฉริยะโลกลืม
บทที่ 3 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ต้นทุน-ปริมาณ-กำไร
การทดลองหาค่าความแน่นของดินที่มีเม็ดผ่านตะแกรงขนาด 19.0 มม. 1 เติมทรายลงในขวดซึ่งประกอบเข้ากับกรวยเรียบร้อย แล้วให้มีปริมาณเพียงพอสำหรับการใช้งาน.
สื่อเทคโนโลยีประกอบการสอน โดย
Power Flow Calculation by using
ระเบียบคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน ว่าด้วยการจัดหาไฟฟ้าจากผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก โครงการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน ในรูปแบบ Feed-in Tariff พ.ศ
บทที่ 7 การประมวลผลอาร์เรย์
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
หัวใจหยุดเต้น หยุดหายใจ ปั๊มหัวใจ ทำอย่างไร ?
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
ตัวแบบมาร์คอฟ (Markov Model)
กิจกรรมที่ 7 นายปรีชา ขอวางกลาง
เทคนิคการถ่ายภาพทิวทัศน์-บุคคล ในเวลากลางวันและกลางคืน
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
กรณีศึกษา : เทคโนโลยีชีวภาพกับสิ่งแวดล้อม
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
บทที่ 5 พัลส์เทคนิค
กำหนดการเชิงเส้น : การแก้ปัญหาด้วยวิธีกราฟ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การใช้หม้อแปลงไฟฟ้า อย่างมีประสิทธิภาพ

ชนิดของหม้อแปลง  หม้อแปลงน้ำมัน (Oil transformer)  หม้อแปลงแห้ง (Dry type transformer)

การเลือกขนาดและการติดตั้งหม้อแปลงที่เหมาะสม ระบบการจ่ายพลังงานไฟฟ้า 1. ระบบสายประธานเดี่ยว (Simple radial) 2. ระบบสายประธานคู่ (Primary selective radial) 3. ระบบสายประธานสองชุด (Secondary selective ) 4. สปอตเนตเวิร์ค (Spot network)  การหาขนาด KVA หม้อแปลง

ระบบสายประธานเดี่ยว (Simple radial)

ระบบสายประธานคู่ (Primary selective radial)

ระบบสายประธานสองชุด (Secondary selective )

สปอตเนตเวิร์ค (Spot network)

ขนาดหม้อแปลง (KVA) จำนวน 2 ตัว ตารางที่ 1 การเลือกขนาดหม้อแปลง 2 ตัว ให้เหมาะสมกับภาระ ขนาดของภาระ (KVA) ขนาดหม้อแปลง (KVA) จำนวน 2 ตัว 1000 1500 2000 2500 3000 750 1250

ตัวอย่าง อาคารพาณิชย์หลังหนึ่งขนาดภาระ 1500 KVA ควรใช้ หม้อแปลง 2 ตัว ขนาดเท่าใดจึงจะเหมาะสม

ตารางที่ 2 การเลือกขนาดหม้อแปลง 3 ตัวหรือ 4 ตัว ให้เหมาะสมกับภาระ ตารางที่ 2 การเลือกขนาดหม้อแปลง 3 ตัวหรือ 4 ตัว ให้เหมาะสมกับภาระ ขนาดของภาระ KVA ขนาดหม้อแปลง (KVA) 3 ตัว ขนาดหม้อแปลง (KVA) 4 ตัว 5000 - 1250 5333 2000 6000 1500 6666 2500 8000 10000

จากรูป ถ้าภาระทั้งหมด 8000 KVA ต้องเลือกใช้หม้อแปลงขนาด 2000 KVA จำนวน 4 ตัว จึงจะเหมาะสม

กำลังสูญเสียและประสิทธิภาพของหม้อแปลง - กำลังสูญเสียไม่มีภาระ (NO load loss) - กำลังสูญเสียขณะรับภาระ (Load loss) 000000

= nS cos  nS cos  + Wi + n2Wc จากกำลังสูญเสียของหม้อแปลงสามารถคำนวณหาประสิทธิภาพ ของหม้อแปลงได้ดังนี้ = nS cos  nS cos  + Wi + n2Wc h (1)

Wc = ค่ากำลังงานสูญเสียในหม้อแปลงเนื่องจาก โดย = ประสิทธิภาพ (% ) n = ตัวประกอบถาระ (Load factor) S = ขนาดพิกัดของหม้อแปลง cos  = ค่าเพาเวอร์แฟกเตอร์ของภาระ(%) Wi = ค่ากำลังงานสูญเสียในหม้อแปลงขณะที่ไม่มีภาร Wc = ค่ากำลังงานสูญเสียในหม้อแปลงเนื่องจาก การรับภาระเต็มพิกัด h

n = Wi Wc จะได้ค่าประสิทธิภาพสูงสุด ค่าประสิทธิภาพของหม้อแปล จะเปลี่ยนแปลงไปตามค่าตัวประกอบภาระ ในกรณี n = Wi Wc จะได้ค่าประสิทธิภาพสูงสุด

ตารางแสดงมาตรฐานกำลังสูญเสียของหม้อแปลง ของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค หม้อแปลง 1 เฟส

ตารางแสดงมาตรฐานกำลังสูญเสียของหม้อแปลง ของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค หม้อแปลง 3 เฟส

การใช้หม้อแปลงอย่างมีประสิทธิภาพ 1. ปลดหม้อแปลงออกจากระบบเมื่อไม่ได้ใช้งาน 2. จัดภาระของหม้อแปลงให้สมดุลกันทุกเฟส 3. ถ้าภาระมีค่าค่อนข้างสม่ำเสมอตลอดเวลา

การใช้หม้อแปลงอย่างมีประสิทธิภาพ 4. ถ้าภาระมีการเปลี่ยนแปลงค่อนข้างสูง อุตสาหกรรมที่มีการทำงานเฉพาะตอน กลางวันเท่านั้น ในกรณีเช่นนี้ควรใช้หม้อแปลงอย่างน้อย 2 ตัว ตัวหนึ่งขนาดใหญ่สำหรับรับภาระในเวลากลางวัน ส่วนอีกตัวหนึ่งขนาดเล็กสำหรับรับภาระในเวลากลางคืน 5. ใช้หม้อแปลงชนิดประหยัดพลังงานหรือประสิทธิภาพสูง 6. ปรับปรุงเพาเวอร์แฟกเตอร์ให้สูงขึ้นในกรณีนี้ต้องติดตั้งคาพาซิเตอร์ไฟฟ้าแรงดันต่ำของหม้อแปลง

การเลือกซื้อหม้อแปลง การไฟฟ้านครหลวงมีสูตรสำหรับพิจารณาซื้อหม้อแปลงดังนี้

การวิเคราะห์การประหยัดพลังงาน  ลดค่าใช้จ่ายโดยการปรับปรุงตัวประกอบกำลัง (Power factor)ของ ระบบกำลังสูญเสียในหม้อแปลง  เมื่อความต้องการของภาระลดลงใช้หม้อแปลงตัวเล็กแทนตัวใหญ่

ลดค่าใช้จ่ายโดยการปรับปรุงตัวประกอบกำลัง (Power factor) ของระบบกำลังสูญเสียในหม้อแปลง สำหรับกำลังสูญเสียในหม้อแปลงอาจหาได้จากกราฟ ค่า Cu หมายถึง ค่าการสูญเสียในลวดทองแดง และค่า Fe หมายถึง ค่ากำลังสูญเสียในแกนเหล็ก ในทำนองเดียวกันกราฟเส้นที่ 3 เป็นหม้อแปลงกรณีกำลังสูญเสียธรรมดา (Normal loss) กราฟเส้นที่ 2 เป็นหม้อแปลงกรณีกำลังสูญเสียต่ำ (Reduce loss) และกราฟเส้นที่ 1 เป็นหม้อแปลงกรณีกำลังสูญเสียต่ำเป็นพิเศษ (Extra low loss)

ขนาดหม้อแปลง

cos 1 cos 2 cos 1 เมื่อ I2 = I1 cos 2 (กรณีกำลังสูญเสียเท่ากับ I2R) 2 cos 1 cos 2   I22R = I21R กำหนดให้ I21R คือ กำลังสูญเสียในลวดทองแดงก่อนปรับปรุงตัวประกอบกำลัง I22R คือ กำลังสูญเสียในลวดทองแดงหลังปรับปรุงตัวประกอบกำลัง

ตัวอย่างที่ 1 หม้อแปลงแบบกำลังสูญเสียธรรมดา (Normal loss) ขนาด 500 k VA รับภาระขนาด 300 KW ที่ตัวประกอบกำลัง (PF) 0.6 ระยะเวลาที่ใช้งาน 8 ชั่วโมงต่อวัน ถ้าค่าไฟหน่วยละ 2 บาท ถ้าต้องการปรับปรุง PF เป็น 0.95 สามารถประหยัดค่าไฟฟ้าได้กี่บาทต่อปี  วิธีทำ กรณี PF 0.6 จากกราฟรูปที่ 7 กำลังสูญเสียในแกนเหล็ก = 1150 W กำลังสูญเสียในลวดทองแดง = 6000 W กำลังสูญเสียในหม้อแปลง = 1150 + 6000 = 7150 W

กำลังสูญเสียในแกนเหล็ก = 1150 W กรณี PF 0.95 กำลังสูญเสียในแกนเหล็ก = 1150 W กำลังสูญเสียในลวดทองแดง = 6000 = 2393 W   กำลังสูญเสียในหม้อแปลง = 1150 + 2393 = 3543 W  กำลังสูญเสียลดลง = 7150 – 3513 = 3607 W ปีหนึ่งจะประหยัดค่าไฟได้ = 3607  8  365  2 บาท 1000 = 21064.88 บาทต่อปี 2 0.6 0.95

เมื่อความต้องการของภาระลดลงใช้หม้อแปลงตัวเล็กแทนตัวใหญ่ ในกรณีที่อาคารพาณิชย์ หรือโรงงานอุตสาหกรรมทำงานเฉพาะเวลากลางวัน แต่ในเวลากลางคืนมีภาระเฉพาะแสงสว่างเพื่อความปลอดภัยเท่านั้น เช่น ถ้าต้องการภาระทั้งหมด 1000 K V A 22 K V /400-230 V กำลังสูญเสียเมื่อไม่มีภาระ 1600 วัตต์ และกำลังสูญเสียขณะรับภาระ 13500 วัตต์ แต่ในเวลากลางคืนต้องรับภาระเฉพาะแสงสว่างและภาระอื่น ๆ ลดลงเหลือเพียง 50 K V A กำลังสูญเสีย (เวลากลางวัน) 1600 + 13500 = 15100 วัตต์ กำลังสูญเสีย (เวลากลางคืน) 1600 + 13500 x = 1633.75 วัตต์ ถ้าเปลี่ยนมาใช้หม้อแปลง 2 ตัว ดังรูป 2 50 1000

เลือกใช้หม้อแปลงตัวเล็กแทนตัวใหญ่

หม้อแปลงขนาด 50 KVA กำลังสูญเสียเมื่อไม่มีภาระ 210 วัตต์ และกำลังสูญเสียขณะรับภาระ 1050 วัตต์    รวมกำลังสูญเสีย = 210 + 1050 = 1260 วัตต์  กำลังสูญเสียลดลง = 1633.75 - 1260 = 373.75 วัตต์ ถ้าในเดือนหนึ่งเปิดไฟ 10 ชั่วโมงต่อวัน และถ้าค่าไฟฟ้าหน่วยละ 2 บาท   1000 = 2728 บาทต่อปี  ในปีหนึ่งจะประหยัดค่าไฟได้ = 373.75  10  365  2 บาท

จบการบรรยาย