รองอธิบดีกรมควบคุมโรค นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
จุดเน้นการพัฒนางานสาธารณสุขที่สำคัญ ปีงบประมาณ 2559.
Advertisements

สรุปผลการติดตามผลการดำเนินงาน คปสอ
ระบบการกำกับ ติดตามประเมินผล กรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2560
(P7S10P1G2) การประชุมถ่ายทอดนโยบายและตัวชี้วัดด้านสาธารณสุข
นโยบายการดำเนินงาน กรมควบคุมโรค
สรุปผลการตรวจราชการ รอบที่ 1 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560
การประชุมพิจารณาแผนปฏิบัติการ ปี 2561 เขตสุขภาพที่ 2
สรุปผลการตรวจราชการครั้งที่ 2 คณะ 2 ปีงบประมาณ 2560
แนวทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2561
ประเด็นนำเสนอ(DM/HT,Stroke,CPOD)
ครั้งที่ 8/2560 สรุปผลการประชุม คณะอนุกรรมการด้านบริการ
แผนการดำเนินงาน Highlight ปี 2559
ความเชื่อมโยงนโยบาย ยุทธศาสตร์ และแผนงานควบคุมโรคติดต่อ
แผนงาน ที่ 3 การป้องกันควบคุมโรคและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ
Rabie Free Zone สภาพปัญหา นโยบายการขับเคลื่อน เป้าหมายดำเนินการ ปี2560
การนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 คพสอ
ความท้าทายในการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
การดำเนินงานป้องกันและ แก้ไขปัญหาโรคมะเร็ง
สรุปผลการดำเนินงาน กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด
แผนงานควบคุมโรคไม่ติดต่อและปัจจัย เสี่ยง
แผนงานป้องกันและลดการตายจากบาดเจ็บทางถนน ในทศวรรษแห่งความปลอดภัยทางถนน ปีงบประมาณ 2560 กระทรวงสาธารณสุข สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค วันที่ พ.ย.
Service Plan สาขาโรคหัวใจ โรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก
ผลการดำเนินงานตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ดร.นพ.ภานุวัฒน์ ปานเกตุ ผู้อำนวยการสำนักโรคไม่ติดต่อ
การประชุมชี้แจงการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ
สรุปผลการดำเนินงานพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคไม่ติดต่อ
กลุ่มวัยทำงาน เขตสุขภาพที่ 5 28 ตุลาคม 2558
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.โพธิ์ทอง รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 4 มกราคม 2561
รูปธรรมการขับเคลื่อน “รพ.สต.ติดดาว” จ.นครราชสีมา
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การคุ้มครองผู้บริโภค
KPI กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพและรูปแบบบริการ
ความก้าวหน้าการดำเนินงานตามนโยบายตัวชี้วัดวัณโรค
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.ไชโย รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 5 มกราคม 2561
กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิต และยาเสพติด
(ร่าง) กรอบยุทธศาสตร์ 20 ปี กรมควบคุมโรค
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ เขตสุขภาพที่ 7
โดยสำนักอนามัย สิ่งแวดล้อมกรมอนามัย
ความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์และการถ่ายระดับตัวชี้วัด สู่เป้าหมายการลดโรค
ร้อยละของหน่วยบริการที่ประสบภาวะวิกฤตทางการเงินระดับ 7
โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ ชุมชนบ้านทุ่งโหลง อ. เมือง จ
กรมควบคุมโรค 59 นพ.อำนวย กาจีนะ รก.อธิบดีกรมควบคุมโรค 15 ต.ค. 58.
ประชุมร่วมแลกเปลี่ยนถ่ายทอดนโยบายทิศทางการทำงานงาน NCDs
การขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข)
สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค วันที่ 17 ตุลาคม 2560
สิ่งที่พูดถึง การดำเนินงานกลุ่มวัยทำงาน DM HT DPAC องค์กรไร้พุง
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
การบริหารและขับเคลื่อน
สรุปผลการตรวจราชการฯ กรณีปกติ รอบที่ 2/2561
นพ.ทวีทรัพย์ ศิรประภาศิริ สำนักงานคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
การประเมิน RF 4.1 โรคไม่ติดต่อรอบ 2
นโยบายการดำเนินงาน กรมควบคุมโรค
ทิศทาง นโยบาย และเป้าหมายการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ นายแพทย์ภาณุมาศ ญาณเวทย์สกุล รองอธิบดีกรมควบคุมโรค.
วันที่ 29 สิงหาคม 2562 นายบรรเจิด เดชาศิลปชัยกุล เภสัชกรเชี่ยวชาญ
ชี้แจงตัวชี้วัด/โครงการNCD ปี 2561
ประเด็น ที่ 2 ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิต.
ยินดีต้อนรับ ทีมเยี่ยมเสริมพลัง พชอ. (AI)
สรุปผลการตรวจราชการฯ
นโยบาย การป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ
เขตสุขภาพที่ 10 มุกศรีโสธรเจริญราชธานี
ผลการดำเนินงานระบบการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบส่งต่อ
สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควมคุมโรค
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (service Plan) แผนงานที่ 3 การพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบการส่งต่อ โรงพยาบาลมหาสารคาม.
การพัฒนาระบบบริการจังหวัดอำนาจเจริญ
เป็นปัญหาสาธารณสุข อันดับ ๓ ของจังหวัด
พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดฉะเชิงเทรา
ประเด็น ที่ 2 ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
สรุปผลการตรวจราชการฯ กรณีปกติ รอบที่ 2 ปี 2562 เขตสุขภาพที่ 3
การตรวจราชการและนิเทศงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รองอธิบดีกรมควบคุมโรค นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ จุดเน้นและแนวทางการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรค และภัยสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ 2560 รองอธิบดีกรมควบคุมโรค นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ การประชุมเชิงปฏิบัติการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์การป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 วันที่ 19 ตุลาคม 2559 ณ โรงแรมปรินซ์พาเลซ มหานาค กรุงเทพฯ

ความเชื่อมโยงตัวชี้วัดกระทรวง สำนักตรวจฯ กรม ประจำปีงบประมาณ 2560 ตัวชี้วัดภายใต้แผนยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (ประกอบด้วย 16 แผนงาน 48 โครงการ 96 ตัวชี้วัด) ความเชื่อมโยงตัวชี้วัดกระทรวง สำนักตรวจฯ กรม ประจำปีงบประมาณ 2560 ตัวชี้วัด เป้าหมาย 2560 ประเด็นเน้นหนัก ระดับ การ รง. ข้อมูล PA ปลัด สตป. กรม Promotion & Prevention Excellence (ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคเป็นเลิศ) แผนงานที่ 2 : การป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ 1. อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำ ≤ 5.0 ต่อประชากรเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปีแสนคน √ ประเทศ 2. อัตราการเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนน ไม่เกิน 14 ต่อประชากรแสนคน 3. อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและ/หรือเบาหวานรายใหม่ ลดลงร้อยละ 0.25 จังหวัด Service Excellence (บริการเป็นเลิศ) แผนงานที่ 6 : การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) 4. ร้อยละของผู้ป่วย DM, HT ที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด ≥ ร้อยละ 90 5. ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้ DM = เพิ่มขึ้นอย่างน้อย 5 %จากปี 2559 หรือมากกว่า 40% HT = เพิ่มขึ้นอย่างน้อย 5 %จากปี 2559 หรือมากกว่า 50% เขต

แผนควบคุมโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ ปี 2560 ตายก่อนวัยอันควรจาก NCDs ลดลง 25% ภายในปี 2568 ลดอัตราตายจากการบาดเจ็บจากการจราจร ลดลง 50% ภายในปี 2563 เป้าหมาย ตัวชี้วัดแผนควบคุมโรคไม่ติดต่อ ตัวชี้วัดแผนป้องกันการบาดเจ็บจากสาเหตุอื่นๆ (จมน้ำ และพลัดตกหกล้ม) ตัวชี้วัดแผนป้องกัน การบาดเจ็บ อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและ/หรือเบาหวานรายใหม่ (ลดลงร้อยละ 0.25) ร้อยละของผู้ป่วย DM, HT ที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) (≥ 90%) ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้ (>40/50%) อัตราการเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนน (ไม่เกิน 14 ต่อประชากรแสนคน) อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำไม่เกิน 5.0 ต่อ ปชก.เด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี แสนคน - จำนวนโรงพยาบาลนำร่องที่ดำเนินงานป้องกันการบาดเจ็บจากการพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุ (6 แห่ง) มาตรการ ขับเคลื่อนการดำเนินงาน ป้องกันและลดการตายจาก การจราจรทางถนน ผ่าน ระบบสุขภาพอำเภอและ อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง ยั่งยืน (DHS/DC) ขับเคลื่อนการดำเนินงาน ป้องกันอุบัติเหตุทางถนนใน เมืองใหญ่ (City RTI) การพัฒนาการสอบสวนการ บาดเจ็บจากการจราจรทาง ถนนและการนำข้อมูลไปใช้ ประโยชน์ มาตรการ สร้างทีมเครือข่ายผู้ก่อการดี (Merit Maker) ป้องกันการจมน้ำ สร้างเครือข่ายดำเนินงานป้องกันการบาดเจ็บโดยสถานบริการสาธารณสุข สื่อสารประชาสัมพันธ์ป้องกันการจมน้ำและการพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุ มาตรการ มาตรการลดการเข้าถึงปัจจัยเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อ มาตรการด้านข้อมูลเฝ้าระวังสอบสวนโรค มาตรการป้องกันระดับชุมชน มาตรการป้องกันในสถานบริการสาธารณสุข

ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) เป้าหมายปี 2560 :  ร้อยละ 90 มาตรการภายใต้ตัวชี้วัด : ผู้ป่วย DM HT ที่ขึ้นทะเบียน ได้รับการคัดกรอง CVD Risk ผู้ป่วย DM HT ที่มีระดับ CVD Risk ≥30% เข้าถึงบริการ และได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม Small Success 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน ผู้ป่วย DM HT ได้รับการประเมิน CVD Risk 30% - อบรมพัฒนาจนท.สธ ระดับจังหวัด - จัดทำเครื่องมือให้กับ จนท.สธ. ในสถานบริการสุขภาพ ผู้ป่วย DM HT ได้รับการประเมิน CVD Risk 50% - สนับสนุนเครื่องมือให้กับ จนท.สธ ในสถานบริการสุขภาพ - ลงพื้นที่ เร่งรัด ติดตามผลการการประเมิน CVD Risk ผู้ป่วย DM HT ได้รับการประเมิน CVD Risk 70% เร่งรัด พัฒนา เขตบริการที่ยังไม่บรรลุผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด ผู้ป่วยDM HT ได้รับการประเมิน CVD Risk 90% - ผู้ป่วย DM HT ที่มีระดับ CVD Risk ≥30% เข้าถึงบริการ และได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเข้มข้น เร่งด่วน 60% ได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงซ้ำ และมีความเสี่ยงลดลง ≥ 20% ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด(CVDs) เป้าหมายมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 90 อยู่ที่ค่าคะแนน 5 ประเมินผลจากการดำเนินการค้นหาและคัดกรองผู้ป่วยที่ประเมิน CVD Risk และกลุ่มดังกล่าวสามารถเข้าถึงบริการและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การประเมินผล : ข้อมูลจากการรายงานผลการคัดกรองโดย สคร. (ประเมินผล 1 ครั้ง ในรอบ 12 เดือน)

อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและ/หรือเบาหวานรายใหม่ Performance Agreement กรมควบคุมโรค ปี 2560 อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและ/หรือเบาหวานรายใหม่ คำอธิบาย : ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง รายใหม่ หมายถึง ผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัย ครั้งแรกด้วยรหัส ICD-10 = I10 – I15 เป้าหมายปี 2560 : ลดลงร้อยละ0.25 ผู้ป่วยโรคเบาหวานรายใหม่ หมายถึง ผู้ป่วยที่ ได้รับการวินิจฉัยครั้งแรกด้วยรหัส ICD-10 = E10-E14) เป้าหมายปี 2560 : ลดลงร้อยละ0.25 มาตรการภายใต้ตัวชี้วัด : คัดกรอง DM, HT ในประชากรอายุ 35 ปี ขึ้นไป กำกับติดตามให้กลุ่มเสี่ยง DM/HT เข้าถึงบริการและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม Small Success 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน คัดกรอง DM, HT อายุ 35 ปี ขึ้นไป ≥ 50 % สนับสนุนเครื่องมือ 1. ชุดมาตรฐานการบริการป้องกันควบคุมโรคDM, HT 2. คู่มือการประเมินคุณภาพ NCD Clinic Plus ปี 2560 คัดกรอง DM, HT อายุ 35 ปี ขึ้นไป ≥ 80 % - สนับสนุนเครื่องมือสื่อความรู้ กลุ่มเสี่ยง DM, HT ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ≥ 50 % กลุ่มเสี่ยง DM, HTได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ≥ 60 % อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่ ลดลงร้อยละ 0.25 อัตราผู้ป่วยโรคเบาหวาน รายใหม่ ลดลงร้อยละ 0.25 ตัวชี้วัดที่ 6 อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูง และ/หรือ เบาหวานรายใหม่ ผู้ป่วยรายใหม่ของโรคความดันโลหิตสูงคือ ผู้ป่วยที่มีรหัส ICD10 = I10 – I15 ผู้ป่วยรายใหม่จากโรคเบาหวาน หมายถึง ผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยครั้งแรกจากแพทย์ว่าป่วยจากโรคเบาหวาน ในทุกกลุ่มอายุ (รหัสโรค ICD10 = E10-E14) เป้าหมายคือ อัตราเพิ่มของผู้ป่วย DM/HT รายใหม่ ลดลงร้อยละ 0.25 จากปี 2559 โดยเก็บข้อมูลจาก HDC การประเมินผล : จากข้อมูล HDC ทุก 1 ปี (ปีงบประมาณ)

Road Safety การป้องกันและลดการตายจากอุบัติเหตุทางถนน เป้าหมาย : ลดการตายจากปี 2554 ลงครึ่งหนึ่งในปี 2563 ปี 2560 : ลดการตายจากอุบัติเหตุทางถนนไม่เกิน 14 ต่อประชากรแสนคน ระดับ การบริหารจัดการ ระบบข้อมูล การป้องกัน การรักษา ส่วน กลาง มี EOC RTI Virtual office พัฒนากลไกข้อมูล บูรณาการข้อมูลตาย 3 ฐาน Set ระบบรายงาน IS ผ่าน Tablet Set ระบบรายงานการสอบสวน ส่วนกลาง/เขต/ ขับเคลื่อน DHS/DC +ศปถ.อำเภอ ติดตามประเมินผล อำเภอ/จังหวัด - รพ.สธ. ดำเนินการ Ambulance safety - DHS/DC+ศปถ.อำเภอ การแก้ไขปัญหาแบบมีส่วนร่วม ของทีมสหสาขา การขับเคลื่อนให้เกิด RTI Team มาตรการชุมชน/ด่านชุมชน มาตรการองค์กร มีแผนงาน/โครงการ การรณรงค์ให้ความรู้ ประชาสัมพันธ์ การสรุปผลการดำเนินงาน ดำเนินงานตาม Trauma Service plan เขตสุขภาพ สสจ./รพ. เขตสุขภาพมีแผนงานสนับสนุนการดำเนินงานในพื้นที่และระบบกำกับติดตามประเมินผล มี EOC RTI สสจ./สคร. TEA Unit (รพ.A S M1) จังหวัดบูรณาการข้อมูล และนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ รายงานข้อมูล IS ผ่าน Tablet สอบสวน Case ตามเกณฑ์ การชี้เป้าจุดเสี่ยง ผ่าน ศปถ.จังหวัด อำเภอ สสอ./รพช. เป็นเลขา ร่วมใน ศปถ.อำเภอ จัดการข้อมูลในระดับอำเภอ การสอบสวน Case การชี้เป้าจุดเสี่ยง ผ่าน ศปถ.อำเภอ Small Success ตัวชี้วัดนี้เป็น Joint KPI ระดับกระทรวง ในส่วนของกรมควบคุมโรค จะมีการดำเนินการโดย ส่วนกลาง/เขต/ ขับเคลื่อน DHS/DC +ศปถ.อำเภอ ดำเนินการมาตรการชุมชน/ด่านชุมชน RTI Team แก้ไขปัญหาแบบมีส่วนร่วมของทีมสหสาขา และติดตามประเมินผล อำเภอ/จังหวัด - รพ.สธ. ใช้มาตรการ Ambulance safety โดยวัดความสำเร็จคือ 3 เดือน ร้อยละ 20 ของจังหวัดมีการบูรณาการข้อมูล 3 ฐาน และชี้เป้าจุดเสี่ยง 380 จุด 6 เดือน จัดรายงานเสนอศูนย์ถนนเพื่อขอมติให้ข้อมูลตาย 3 ฐานเป็นข้อมูลอ้างอิง และจำนวนอำเภอที่ดำเนินการDHS/DC ไม่น้อยกว่า 30% ของอำเภอในจังหวัด 9 เดือน มีระบบรายงานการสอบสวนใน Web Based และอุบัติเหตุรถพยาบาลลดลง 50% 12 เดือน ร้อยละ 80 ของจังหวัดมีการบูรณาการข้อมูล 3 ฐาน, จังหวัดชี้เป้าจุดเสี่ยง 1,520 จุด , DHS/DC ผ่านเกณฑ์ระดับดี 50% ,เรียกใช้บริการ 1669 อย่างน้อย 70% , ผู้บาดเจ็บสีแดงนำส่งด้วยหน่วย ALS 85% 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน มีจังหวัดบูรณการข้อมูล 3 ฐาน อย่างน้อย 20% จังหวัดมีการชี้เป้าจุดเสี่ยง 380 จุด จัดรายงานเสนอศูนย์ถนนเพื่อขอมติให้ข้อมูลตาย 3 ฐานเป็นข้อมูลอ้างอิง จำนวนอำเภอที่ดำเนินการDHS/DC ไม่น้อยกว่า 30% ของอำเภอในจังหวัด มีระบบรายงานการสอบสวนใน Web Based อุบัติเหตุรถพยาบาลลดลง 50% จังหวัดบูรณการข้อมูล 3 ฐาน 80% จังหวัดชี้เป้าจุดเสี่ยง 1,520 จุด จำนวนที่ดำเนินการ DHS/DC ผ่านเกณฑ์ระดับดี 50% ของอำเภอที่ดำเนินการ เรียกใช้บริการ 1669 อย่างน้อย 70% ผู้บาดเจ็บสีแดงนำส่งด้วยหน่วย ALS อย่างน้อย85%

การป้องกันการบาดเจ็บจากสาเหตุอื่น ๆ (จมน้ำ และพลัดตกหกล้ม) การป้องกันการบาดเจ็บจากสาเหตุอื่น ๆ (จมน้ำ และพลัดตกหกล้ม) อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำ เป้าหมาย : ไม่เกิน 5.0 ต่อประชากรเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปีแสนคน จำนวนโรงพยาบาลนำร่องที่ดำเนินงานป้องกันการบาดเจ็บจากการพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุ เป้าหมาย : 6 แห่ง มาตรการภายใต้ตัวชี้วัด : สร้างทีมเครือข่ายผู้ก่อการดี (Merit Maker) ป้องกันการจมน้ำ สร้างเครือข่ายดำเนินงานป้องกันการบาดเจ็บจากการพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุโดยสถานบริการสาธารณสุข สื่อสารประชาสัมพันธ์ป้องกันการจมน้ำและพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุ Small Success ประเด็น 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน สร้างทีมเครือข่ายผู้ก่อการดี (Merit Maker) ป้องกันการจมน้ำ จังหวัดมีการสร้างทีมผู้ก่อการดี (ทีมใหม่) ที่สมัครใจ อย่างน้อย 200 ทีม -มีการจัดการแหล่งน้ำเสี่ยง อย่างน้อย 300 แห่ง -ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้รับการจัดการอย่างน้อย 200 แห่ง เด็กได้เรียนหลักสูตรว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอด อย่างน้อย 20,000 คน จำนวนการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็ก (< 15 ปี) น้อยกว่าหรือเท่ากับ 600 คน สร้างเครือข่ายดำเนินงานป้องกันการบาดเจ็บจากการพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุฯ โรงพยาบาลนำร่องจำนวน 6 แห่ง สมัครใจในการดำเนินงานป้องกันการบาดเจ็บจากการพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุ ร้อยละ 30 ของผู้สูงอายุที่มารับบริการในสถานบริการสาธารณสุข ได้รับ การประเมินความเสี่ยง ต่อการพลัดตกหกล้ม ร้อยละ 50 ของผู้สูงอายุที่มารับบริการในสถานบริการสาธารณสุข ได้รับการประเมินความเสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้ม ร้อยละ 70 ของผู้สูงอายุที่มารับบริการในสถานบริการสาธารณสุข ได้รับ การประเมินความเสี่ยง ต่อการพลัดตกหกล้ม

แผนงานควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ปี 2560 สถานการณ์ ความชุก 15-19 ปี (ร้อยละ) ความชุกของผู้บริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในประชากรอายุ 15-19 ปี ไม่เกิน 19.9 ปริมาณการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ต่อประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป (ลิตรแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ต่อคนต่อปี) ไม่เกิน 6.8 สคร1:24.6 มาตรการ Q1 ร้อยละของจังหวัดที่รับผิดชอบจัดทำและขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ร้อยละ 60 (46) จังหวัด สคร2:28.8 1.ควบคุมการเข้าถึงฯและการควบคุมโฆษณา แนวทางควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ของสถานศึกษา ระดับมัธยม สคร3:17.5 จำนวนครั้งในการดำเนินการตามกฎหมายฯ 24 ครั้ง / สคร.ละ 12 ครั้ง สคร4:14.2 Q2 สคร5: 8.2 ร้อยละสถานศึกษาที่มีการดำเนินการควบคุมฯ (ทั้งในและรอบสถานศึกษา) ร้อยละ 10 2.สื่อสารสาธารณะ เพื่อปรับ เปลี่ยนค่านิยม เสริมสร้างศักยภาพชุมชนในพื้นที่ อ.บ้านไร่ จ. อุทัยธานี สคร6:13.7 ร้อยละของประชาชนที่เข้าร่วมกิจกรรมรับทราบและมีความรู้ ร้อยละ 80 สคร7:16.6 Q3 สคร8:27.4 ตรวจเตือนเฝ้าระวังการบังคับใช้กฎหมายช่วงเทศกาลสงกรานต์ 3.มาตรการระดับชุมชน จำนวนชุมชนรูปแบบที่ดำเนินการควบคุมเครื่องดื่มฯ จังหวัดละ 1 ชุมชน สคร9:27.7 จังหวัดพื้นที่ที่รับผิดชอบมีการจัดเทศกาลหรืองานประเพณี ปลอดเหล้า สคร10:22.3 จังหวัดละ 1 เทศกาล Q4 4. สนับสนุนมาตรการคัดกรองและบำบัด รักษา จังหวัดมีการจัดทำและขับเคลื่อนแผนยุทธฯจังหวัด สคร11:9.0 ร้อยละของสถานบริการสาธารณสุขที่ให้บริการด้านการบำบัดสุราตามเกณฑ์ที่กำหนด ร้อยละ 60 สคร12:10.9 สปคม.:17.0

ขอบพระคุณ ครับ 9