Chapter 3 Information System Development By

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
System Requirement Collection (2)
Advertisements

ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
แบบจำลองฐานข้อมูล คือ เครื่องมือในเชิงแนวคิดที่ใช้ในการอธิบาย ข้อมูล
BC424 Information Technology 1 บทที่ 7 การพัฒนาระบบ สารสนเทศ (Information System Development)
การพัฒนาระบบสารสนเทศ
Computer in Business เรื่อง การใช้งาน Access เบื้องต้น.
เทคนิคการตรวจสอบภายใน
Software Development and Management
บทที่ 1 หลักการทำโครงงาน
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
ประยุกต์ใช้ในงานด้านการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศที่นำมาใช้สำหรับการเรียนการสอน เป็นการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่หลายอย่าง สอนด้วยสื่อ อุปกรณ์ที่ทันสมัย ห้องเรียนสมัยใหม่
เรื่อง หลักการเขียนโปรแกรม เบื้องต้น จัดทำโดย นางสาวชาดา ศักดิ์บุญญารัตน์
การพัฒนาโปรแกรมระบบ รายงาน หน่วยงานเวชสารสนเทศ หน่วยงานเวชสารสนเทศ กลุ่มพัฒนาระบบบริการ สุขภาพโรงพยาบาลสุโขทัย.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
Adaptive Software Development. วงจรชีวิตของการพัฒนาซอฟแวร์ หรือ Software Development Life Cycle (SDLC) เป็นโครง ร่างหรือแนวทางวิธีการ เพื่อใช้ทำความเข้าใจและเพื่อ.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
หลักการแก้ปัญหา อย่างมีขั้นตอน การแก้ปัญหาด้วย กระบวนการทาง เทคโนโลยี สารสนเทศ หลักการ แก้ปัญหา การใช้หลักการใน การแก้ปัญหา.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
ประเภทของ CRM. OPERATIONAL CRM เป็น CRM ที่ให้การสนับสนุนแก่กระบวนการธุรกิจ ที่เป็น “FRONT OFFICE” ต่างๆ อาทิ การขาย การตลาด และการ ให้บริการ SALES FORCE.
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
ซอร์ฟแวร์ ( Software ). Microsoft excel Microsoft excel Microsoft power point.. Link Link.
Project Management by Gantt Chart & PERT Diagram
การวิเคราะห์ (Analysis)
เรื่อง กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
นำเสนอวิธีปฏิบัติที่ดี ด้านกิจกรรมพัฒนานักศึกษา
Material requirements planning (MRP) systems
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 2 : แบบจำลองเครือข่าย (Network Models) part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
มาตรฐานระบบการบริหารงานคุณภาพ
กระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
บทที่ 7 การวิเคราะห์และพัฒนาระบบ
2 การพัฒนาระบบสารสนเทศ (Information System Development)
ระบบการจัดการฐานข้อมูล บทที่ 3 การวิเคราะห์ (Analysis)
การพัฒนาระบบสารสนเทศ Information System Development
การจัดหาพัสดุในส่วนของรายจ่ายลงทุนในภาพรวม ประจำเดือนมิถุนายน 2561
การพัฒนาระบบสารสนเทศ (Information System Development)
บทที่ 6 การพัฒนาระบบการสอนบนเครือข่าย
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ (Information System)
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
บทที่ 3 แฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูล
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
Project Project (โครงงาน) ปริญญานิพนธ์ กิจกรรมซึ่งดำเนินงานตามลำดับ
Chapter 3 Executive Information Systems : EIS
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
ระบบการจัดการคลินิกครบวงจร
บทที่ 7 การวิเคราะห์และพัฒนาระบบ
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
พื้นฐานการออกแบบ กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้การสื่อความหมาย ด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายของข้อมูลได้ถูกต้องตรง.
การสร้างโมเดลจำลองความสัมพันธ์ ระหว่างข้อมูล E-R Model
Object-Oriented Programming การเขียนโปรแกรมเชิงอ็อบเจ็กต์
การปฐมนิเทศและการบรรจุ
SMS News Distribute Service
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาวุฒิ จันทรมาลี
บทที่ 9 การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)
บทที่ 8 การแก้ไขข้อผิดพลาดโปรแกรม(Debugging)
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
บทที่ 7 การบริหารงานขนส่ง ( Transportation Management System : TMS )
บทที่ 2 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
บทที่ 15 การติดตั้งระบบและการทบทวนระบบงาน.
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
Introduction to Structured System Analysis and Design
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวิเคราะห์และออกแบบระบบทางธุรกิจ (Business System analysis and Design) Chapter 3 Information System Development By Thanapon Thiradathapattaradecha

Chapter 3 Objective: วัตถุประสงค์ 1.นิสิตอธิบายแนวทางจัดหาระบบสารสนเทศเพื่อใช้งานภายในองค์กร 2.นิสิตสามารถประยุกต์ใช้วงจรการพัฒนาระบบ และแนวทางปฏิบัติ เพื่อพัฒนาระบบได้ 3.นิสิตสามารถอธิบายและเลือกใช้ แนวทางในการพัฒนาระบบสารสนเทศ 4.นิสิตสามารถอธิบายหลักในการพัฒนาระบบสารสนเทศ 5. นิสิตสามารถประยุกต์ใช้การพัฒนาระบบโดยใช้วงจรการพัฒนาระบบ (SDLC) 6.นิสิตสามารถอธิบายเครื่องมือสนับสนุนการพัฒนาระบบ

แนวทางจัดหาระบบสารสนเทศเพื่อใช้งานภายในองค์กร Information System Development แนวทางจัดหาระบบสารสนเทศเพื่อใช้งานภายในองค์กร ในการจัดหาระบบสารสนเทศให้เกิดขึ้นภายในองค์กร จัดทำได้ 3 วิธี พัฒนาระบบสารสนเทศขึ้นเองโดยอาศัยเจ้าหน้าที่คอมพิวเตอร์ภายในองค์กรเป็นผู้พัฒนาระบบ ว่าจ้างบริษัทที่ ปรึกษาจัดทำระบบให้ การซื้อซอฟต์แวร์สำเร็จมาใช้

แนวทางปฏิบัติ (Methodologies) แนวทางปฏิบัติ คือ วิธีการหรือแนวทางที่จะนำกระบวนการพัฒนาระบบสารสนเทศมาปฏิบัติจริงจนกลายเป็นระบบสารสนเทศที่สามารถใช้งานได้ โดยมีการระบุถึงขั้นตอนในการปฏิบัติเพื่อใช้พัฒนาระบบในวงจรการพัฒนาระบบ (SDLC)

แนวทางปฏิบัติ (Methodologies) Methodology 1.SSADM (Structured System Analysis and Design Methodology) 2. RAD (Rapid Application Development-base Methodology) 􀂄 Phase Development-based Methodology 􀂄 Prototyping-based Methodology 􀂄 Throw-away Prototyping-based Methodology 3. Object-Oriented Analysis and Design Methodology

แนวทางในการพัฒนาระบบสารสนเทศ Information System Development แนวทางในการพัฒนาระบบสารสนเทศ 1.Structured System Analysis and Design Methodology (SSADM) Structured System Analysis and Design Methodology (SSADM) จะใช้แบบจำลองที่เป็นแผนภาพเพื่ออธิบายขั้นตอนการทำงานและข้อมูลทั้งหมดของระบบโดยเรียกวิธีการใช้แผนภาพเพื่อจำลองขั้นตอนการทำงานหลักของระบบว่า“Process-Center Approach” และเรียกวิธีการใช้แผนภาพเพื่อจำลองข้อมูลของระบบว่า “Data-Center Approach”

1. Structured System Analysis and Design Methodology (SSADM) Information System Development 1. Structured System Analysis and Design Methodology (SSADM) ข้อดี 􀂄 สามารถรวบรวมความต้องของผู้ใช้ได้เป็นระยะเวลานาน 􀂄 ข้อมูลที่ได้วิเคราะห์ผ่านความเห็นชอบจากเจ้าของระบบแล้ว 􀂄 การเปลี่ยนแปลงความต้องการมีน้อย ตรงตามต้องการมากสุด ข้อเสีย 􀂄 ใช้เวลานานในการวิเคราะห์และออกแบบ 􀂄 การออกแบบทำบนกระดาษ เจ้าของไม่สามารถทดลองได้ 􀂄 ไม่ทราบปัญหาที่แท้จริง ส่งผลต่อการเขียนโปรแกรมได้

1.1 Structure Programming Information System Development 1.Structured System Analysis and Design Methodology (SSADM) 1.1 Structure Programming ประกอบด้วย 3 แนวทาง 1. โครงสร้างแบบเรียงลำดับ(Sequence) 2. โครงสร้างที่มีการตัดสินใจ(Decision) 3.โครงสร้างที่มีการทำงานซ้ำหรือลูป (Repetition)

1.1 Structure Programming Information System Development 1.1 Structure Programming โครงสร้างเรียงลำดับ (Sequential Structures) คือ คำสั่งหรือขั้นตอนการทำงานที่ต้องเรียงลำดับกันไป เช่น การซื้อหนังสือในร้านหนังสือ แต่ละคำสั่ง หรือแต่ละขั้นตอนจะประกอบไปด้วยกริยาหลักเพียงตัวเดียว เช่น ดึง (GET) ใส่ (PUT) ค้นหา (FIND) เพิ่ม (ADD) ลบ (SUBTRACT) คูณ (MULTIPY) หาร (DEVIE) คำนวณ (COMPUTER) ลบ (DELETE) ตรวจสอบ (VALIDATE) ย้าย (MOVE) แทนค่า (REPLACE) จับกลุ่ม (SET) จัดเรียง (SORT) เป็นต้น

โครงสร้างเรียงลำดับ (Sequential Structures) Information System Development โครงสร้างเรียงลำดับ (Sequential Structures) กระบวนการทำงานที่มีลักษณะโครงสร้างการทำงานตามลำดับ จะ เป็นความสัมพันธ์ของกิจกรรมต่าง ๆ ภายในกระบวนการทำงาน ตัวอย่าง กระบวนการยืมหนังสือในห้องสมุด 􀂄 ค้นหาดัชนีของหนังสือที่ต้องการ(Find) 􀂄 ไปยังชั้นวางหนังสือตามดัชนี(Get) 􀂄 หยิบหนังสือที่ต้องการ (Put) 􀂄 นำหนังสือไปยังส่วนบริการยืมหนังสือ (Move) 􀂄 ยืมหนังสือ (Add) 􀂄 รับหนังสือ (Receive)

1.1 Structure Programming Information System Development 1.1 Structure Programming โครงสร้างการตัดสินใจ (Decision Structures) คือการอธิบายถึงการตัดสินใจในการปฏิบัติงาน ที่มีการกำหนดเงื่อนไขต่าง ๆ เกิดขึ้นในกระบวนการทำงาน โดยการเขียนอธิบายนั้นมักจะมีประโยคคำสั่ง IF/THEN/ELSE หรือ OTHERWISE หรือ Do Case … End case ซึ่งอาจจะมีได้หลายเงื่อนไขที่ซ้อนกันอยู่ก็ได้เรียกว่า Nested decision Structure

1.1 Structure Programming Information System Development 1.1 Structure Programming โครงสร้างการตัดสินใจ (Decision Structures) ค้นหาดัชนีของหนังสือที่ต้องการไปยังชั้นวางหนังสือตามดัชนี If พบหนังสือที่ต้องการ Then 􀂄 หยิบหนังสือที่ต้องการ 􀂄 นำหนังสือไปยังส่วนบริการยืมหนังสือ 􀂄 ยืมหนังสือ 􀂄 รับหนังสือ Else (หรือ Otherwise) 􀂄 ไม่ต้องนำหนังสือใด ๆ ไปยังส่วนบริการยืมหนังสือ

1.1 Structure Programming Information System Development 1.1 Structure Programming โครงสร้างแบบทำซ้ำ (Repletion or Iteration Structures) ในการปฏิบัติงานประจำวันนั้น ลักษณะงานส่วนใหญ่จะเป็นงานที่ซ้ำ ๆ กันหลายรอบ หรือเรียกว่างาน routine โดยมีจำนวนรอบที่จำกัด มักจะอธิบายความโดยใช้คำสั่ง DO … ENDDO, DO …WHILE หรือ DO…UNTIL เพื่ออธิบายเงื่อนไขและการกระทำต่าง ๆ

1.1 Structure Programming Information System Development 1.1 Structure Programming โครงสร้างแบบทำซ้ำ (Repletion or Iteration Structures) ค้นหาดัชนีของหนังสือที่ต้องการไปยังชั้นวางหนังสือตามดัชนี Do While ยังคงมีหนังสือที่ต้องการอีก If พบหนังสือที่ต้องการ Then * หยิบหนังสือที่ต้องการ Else ทำต่อไป End do If มีหนังสือที่ต้องการจากชั้นวางหนังสือ Then * นำหนังสือไปยังส่วนบริการยืมหนังสือ * ยืมหนังสือ * รับหนังสือ Else (หรือ Otherwise) * ไม่ต้องนำหนังสือใด ๆ ไปยังส่วนบริการยืมหนังสือ

1.1 Structure Programming Information System Development 1.1 Structure Programming บางครั้งจะมีโครงสร้างแบบกรณี (Case Structure) ซึ่งโครงสร้างแบบกรณี (Case Structure) จะเกิดจากในการปฏิบัติงานบางเรื่องมีหลายเหตุการณ์ แต่ละเหตุการณ์มีเงื่อนไขในการทำงานที่แตกต่างกัน ดังนั้นการอธิบายต้องพิจารณาแต่ละ case ที่จะเกิดขึ้น การอธิบายอาจจะแฝงอยู่ใน IF…THEN…ELSE structure หรือใน DO-WHILE ก็ได้

Information System Development 1.2 Structure Design ระบบสารสนเทศที่มีความซับซ้อนมีฟังก์ชันมากๆไม่เป็นระบบก็จะใช้เทคนิคการออกแบบเชิงโครงสร้างเพื่อจัดกลุ่มของโปรแกรมให้มีรูปแบบเป็นขั้นตอนรูปแบบการจัดลำดับนี้เรียกว่า โมดูลและการเตรียมโมดูลต่างๆก็จะแสดงได้ในลักษณะของภาพแบบจำลองเรียกว่า ผังโครงสร้างหรือ Structure chart or Module Chart

1.2 Structure Design Information System Development Control Module Start Call Module 1 Call Module 2 Stop Module 1 Begin Do 1 Do 2 Return Module 2 Begin Do X Do Y Return Module 3 Begin If x then y Else z do abc Return

Information System Development 1.2 Structure Design

1.3 Modern Structure Analysis and Design Information System Development 1.3 Modern Structure Analysis and Design

แนวทางในการพัฒนาระบบสารสนเทศ Information System Development แนวทางในการพัฒนาระบบสารสนเทศ 2.Repid Application Development-based Methodology (RAD) RapidApplication Development-based Methodologyเป็น Methodology แนวใหม่ที่พัฒนาขึ้นในช่วงปี ค.ศ.1990 เพื่อแก้ไขจุดอ่อนของ Methodology แบบ Structured Design ด้วยการปรับระยะในวงจรการพัฒนาระบบ ให้มีขั้นตอนการทำงานที่รวบรัดมากขึ้น มีการเลือกใช้เครื่องมือ (Tools) และเทคนิค (Techniques) ต่าง ๆ เพื่อช่วยให้การพัฒนาระบบนั้นดำเนินการได้อย่างรวดเร็ว อีกทั้งผู้ใช้ระบบยังสามารถทดลองใช้โปรแกรมต้นแบบเพื่อบอกนักวิเคราะห์ระบบได้ว่า ระบบที่ออกแบบมานั้นถูกต้องหรือไม่ และมีข้อผิดพลาดใดเกิดขึ้นบ้าง

Information System Development 2.Repid Application Development-based Methodology (RAD) RAD ยังมีการพัฒนาออกเป็นรูปแบบย่อย ๆ ได้หลายแบบ เช่น 􀂄 Phase development-based methodology 􀂄 Prototyping-based methodology 􀂄 Throw-away prototyping-based methodology

2.1 Phased development-based ข้อดี Information System Development 2.Repid Application Development-based Methodology (RAD) 2.1 Phased development-based ข้อดี 􀂄 ผู้ใช้สามารถใช้งานระบบในส่วนที่ต้องการ และจำเป็นได้เร็วกว่า SSADM ข้อเสีย 􀂄 ระบบที่นำมาใช้อาจจะยังทำงานได้ไม่ครอบคลุมระบบทั้งหมด

2.2 Prototyping-based methodology Information System Development 2.Repid Application Development-based Methodology (RAD) 2.2 Prototyping-based methodology ข้อดี 􀂄 ใช้เวลาน้อยในการพัฒนา เพราะเป็นการสร้างต้นแบบของงานก่อน 􀂄 เหมาะกับระบบงานที่มีขนาดเล็ก ข้อเสีย 􀂄 ขาดความรอบคอบในการพิจารณาถึงปัญหาที่จะเกิดตามมาเมื่อใช้ งานระบบทั้งหมด เพราะยากต่อการเรียนรู้

2.2 Throw-away Prototyping-based Information System Development 2.Repid Application Development-based Methodology (RAD) 2.2 Throw-away Prototyping-based ข้อดี 􀂄 ช่วยให้นักพัฒนามั่นใจว่าระบบที่ออกแบบตรงกับความต้องการของผู้ใช้ 􀂄 ลดความเสี่ยงในการเกิดความผิดพลาด 􀂄 มีความน่าเชื่อถือ ข้อเสีย 􀂄 ใช้ระยะเวลาในการสร้างระบบจริงนานกว่าแบบอื่นเพราะไม่ได้ใช้ต้นแบบมาทำระบบงาน

แนวทางในการพัฒนาระบบสารสนเทศ Information System Development แนวทางในการพัฒนาระบบสารสนเทศ 3. Object-Oriented Analysis and Design Methodology

Unified Modeling Language (UML) Information System Development แนวทางในการพัฒนาระบบสารสนเทศ 3. Object-Oriented Analysis and Design Methodology Unified Modeling Language (UML) เป็นวิธีแสดงให้เห็นภาพและการทำเอกสารของการออกแบบซอฟท์แวร์ที่ใช้กันอย่างกว้างขวาง - ยูสเคสไดอาแกรม (Use Case Diagrams) - ซีคเว็นซ์ไดอาแกรม (Sequence Diagrams)

ยูสเคสไดอาแกรม (Use Case Diagrams)

ซีคเว็นซ์ไดอาแกรม (Sequence Diagrams)

แนวทางในการพัฒนาระบบสารสนเทศ Information System Development แนวทางในการพัฒนาระบบสารสนเทศ 3. Object-Oriented Analysis and Design Methodology การพัฒนาโปรแกรมเชิงวัตถุประกอบด้วย 3 แนวทางในการพัฒนา คือ การวิเคราะห์เชิงวัตถุ Object –oriented analysis :OOA เช่น Object ที่ต้องมีในระบบหรือการโต้ตอบของ Object ต่างๆ ออกแบบระบบวัตถุ Object –oriented design เช่น ลักษณะการสื่อสารกับคน การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ Object –oriented programming เช่น การเขียนชุดคำสั่งให้มีโครงสร้างการทำงานร่วมกันของวัตถุต่างๆ จาก Methodologies ทั้งหมดที่กล่าวมาข้างต้นนั้น เป็นการดัดแปลงวิธีการในการพัฒนาระบบจาก Methodology แบบ Structured System Analysis and Design

Information System Development แบบจำลอง (Model ) แบบจำลอง (Model) คือ สัญลักษณ์ที่ใช้ในการจำลองข้อเท็จจริงต่างๆที่เกิดขึ้นในระบบ ไม่ว่าจะเป็นแบบจำลองข้อมูล (Data Model) หรือขั้นตอนการทำงานของระบบ (Process Model)

แบบจำลอง (Model) Information System Development ตัวอย่างแบบจำลอง -  Flow Chart -  Data Flow Diagram (DFD) -  Entity Relationship Diagram (ERD) -  Structure Chart -  Use Case Diagram         - Class Diagram - Sequence Diagram -  PERT Chart -  Gantt Chart - Organization Hierarchy Chart

Case Tools (Ex. Rational Rose, Visible analyst) Information System Development เครื่องมือสนับสนุนการพัฒนาระบบ (Computer-Aided Systems Engineering Tools : CASE Tools) ปัจจุบันมีซอฟต์แวร์ที่ช่วยสร้างแผนภาพ รายงาน โค้ดโปรแกรม ในระหว่างการวิเคราะห์และออกแบบระบบให้เป็นไปโดยอัตโนมัติ นั่นคือ Computer-Aided Systems Engineering (CASE Tools) ซึ่งเป็นโปรแกรมประยุกต์หรือเป็นซอฟต์แวร์ชนิดหนึ่งของเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ช่วยในการพัฒนาระบบ คอยสนับสนุนการทำงานในแต่ละขั้นตอนของการพัฒนา ด้วยการเตรียมฟังก์ชั่นการทำงานต่าง ๆ ที่ทำให้การทำงานแต่ละขั้นตอนมีความรวดเร็วและมีคุณภาพมากขึ้น

Information System Development แบบจำลอง (Model) เครื่องมือในการพัฒนาระบบ (Case Tools) คือ ซอฟต์แวร์ที่ช่วยสร้างหรือวาดแบบจำลองชนิดต่างๆ ตรวจสอบความถูกต้องของแบบจำลองช่วยสร้างรายงานและแบบฟอร์มรวมทั้งช่วยสร้างโค้ดโปรแกรมให้อัตโนมัติโดยทั่วไปแล้วจะแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ 1.Upper Case Tools 2.Lower Case Tools

Case Tools (Ex. Rational Rose, Visible analyst) Information System Development Case Tools (Ex. Rational Rose, Visible analyst) Software tools that provide automated support for some portion of the system development processes. Upper CASE Lower CASE Repository --- a centralized database that contains all diagrams, form and report definitions, data structure, data definition

Upper and Lower CASE Tools

CASE – Repository

Information System Development Case Tools ในการทำงานของ CASE Tools จะมีการเรียกใช้ข้อมูลจาก Repository ซึ่งจะทำให้ CASE Toolsมีความสามารถและจัดเตรียมสิ่งอำนวยความสะดวกให้กับนักวิเคราะห์ระบบในการพัฒนาระบบได้ดังนี้ 1.เครื่องมือช่วยสร้างแผนภาพ (Diagram Tools) ใช้ในการเขียนแผนภาพเพื่อจำลองสิ่ง ต่าง ๆ ของระบบ ซึ่งสามารถเชื่อมโยงกับแบบจำลองส่วนอื่นได้ 2. เครื่องมือช่วยเก็บรายละเอียดต่าง ๆ ของระบบ (Description Tools) ใช้ในการบันทึก ลบ และแก้ไขรายละเอียดต่าง ๆ ของระบบได้ รวมทั้งยังสามารถแสดงผลลัพธ์ในรูปแบบเอกสารแสดง รายละเอียดได้

Information System Development Case Tools 3. เครื่องมือช่วยสร้างตัวต้นแบบ (Prototyping Tools) ใช้ในการสร้างโปรแกรมต้นแบบเพื่อจำลองระบบออกมาทดลองใช้งานได้ในระดับที่สามารถบอกถึงความพอใจของผู้ใช้ได้ 4. เครื่องมือช่วยสร้างรายงานแสดงรายละเอียดของแบบจำลอง (Inquiry and Reporting) ใช้ในการสร้างรายงานรายละเอียดต่าง ๆ ของแบบจำลองซึ่งถูกเก็บไว้ใน Repository ได้

Information System Development Case Tools 5. เครื่องมือเพื่อคุณภาพของแบบจำลอง (Quality Management Tools) ช่วยให้การสร้างแบบจำลอง เอกสาร และต้นแบบต่าง ๆ ที่ถูกสร้างขึ้นมีคุณภาพ โดยมีการตรวจสอบความถูกต้องและความสอดคล้องกันได้ อีกทั้งหากเกิดข้อผิดพลาดขึ้น เครื่องมือชนิดนี้สามารถบ่งบอกข้อผิดพลาด นั้นได้ 6. เครื่องมือสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support Tools) จัดเตรียมสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจที่จะเกิดขึ้นระหว่างการพัฒนาระบบ เช่น ช่วยนักวิเคราะห์ระบบประเมินและวิเคราะห์ถึงความเป็นไปได้ของแนวทางแก้ไขปัญหา เป็นต้น

Information System Development Case Tools 7. เครื่องมือช่วยจัดการเอกสาร (Documentation Organization Tools) ใช้ในการสร้าง จัดการ และ แสดงรายงานสารสนเทศต่าง ๆ ซึ่งถูกเก็บไว้ใน Repository เพื่อนำเสนอต่อผู้บริหารและผู้ใช้ ระบบได้ 8. เครื่องมือช่วยออกแบบ (Design Generation Tools) ใช้ในการออกแบบระบบคร่าว ๆ ใน เบื้องต้นได้ ภายใต้ความต้องการที่รวบรวมมาแล้ว เช่น CASE สามารถออกแบบฐานข้อมูลที่ได้ สร้างแบบจำลองข้อมูลมาแล้ว 9. เครื่องมือช่วยสร้างโค้ดโปรแกรม (Code Generator Tools) ใช้ในการสร้างโค้ดของโปรแกรมทั้ง หมดหรือสามารถสร้างเพียงบางส่วนได้

Information System Development Case Tools 10.เครื่องมือช่วยทดสอบ (Testing Tools) ช่วยให้นักวิเคราะห์และโปรแกรมเมอร์สามารถทดสอบ โปรแกรมได้รวดเร็วยิ่งขึ้น 11. เครื่องมือช่วยให้สามารถใช้ข้อมูลร่วมกัน (Data Sharing Tools) เตรียมการนำเข้า (Import) และส่งออก (Export) ของสารสนเทศระหว่าง CASE Tools ที่ต่างกันได้

Adapted Waterfall SDLC 1. ค้นหาและเลือกสรรโครงการ 1 2 3. วิเคราะห์ระบบ 2. เริ่มต้นและวางแผนโครงการ 3 4 5. ออกแบบเชิงกายภาพ 4. ออกแบบเชิงตรรกะ 5 6 6. พัฒนาและติดตั้งระบบ 7 7. ซ่อมบำรุงระบบ

Information System Development (Activity : SDLC)

หลักการในการพัฒนาระบบ คำนึงถึงเจ้าของระบบและผู้ใช้ระบบ พยายามเข้าถึงปัญหาให้ตรงจุด กำหนดขั้นตอนหรือกิจกรรมในการทำงาน กำหนดมาตรฐานในระหว่างการพัฒนาระบบและจัดทำเอกสารประกอบในทุกขั้นตอน การพัฒนาระบบคือการลงทุน เตรียมความพร้อมหากแผนงานหรือโครงการต้องถูกยกเลิกหรือต้องทบทวนใหม่ แตกระบบใหญ่ให้เป็นระบบย่อย ออกแบบระบบเพื่อรองรับการเติบโตและการเปลี่ยนแปลงในอนาคต

Information System Development 1. การค้นหาและการเลือกสรรโครงการ (Project Identification and Selection) เริ่มจากการที่ผู้บริหารขององค์กรหรือบุคลากรมีความต้องการที่จะพัฒนาระบบงานจึงได้มีการแต่งตั้งกลุ่มบุคคลเพื่อค้นหาโครงการที่เห็นสมควรว่าควรได้รับการพัฒนา จากกิจกรรมการค้นหาโครงการนี้ ส่งผลให้เกิดโครงการพัฒนาขึ้นมาหลายโครงการ ผู้บริหารและนักวิเคราะห์ระบบจะต้องทำการจำแนกกลุ่มของโครงการให้เป็นหมวดหมู่อย่างมีหลักเกณฑ์ เช่น จำแนกตามความสำคัญหรือ จำแนกตามผลตอบแทนที่จะได้รับ กิจกรรมสุดท้ายของขั้นตอนนี้จะทำการเลือกโครงการที่เหมาะสมที่สุด และตรงกับวัตถุประสงค์ (Objective) ขององค์กรในสถานการณ์ปัจจุบันมากที่สุด

ตัวอย่างแผนภาพ เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ Information System Development สรุป การทำงานในขั้นตอนการค้นหาและการเลือกสรรโครงการ (Project Identification/Selection) กิจกรรม ตัวอย่างแผนภาพ เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ 1.ค้นหาโครงการพัฒนาระบบที่เห็น สมควรได้รับการพัฒนา 2. จำแนกและจัดลำดับโครงการ 3. เลือกโครงการที่เหมาะสมที่สุด ตารางเมตริกซ์ (Matrix Table)

Information System Development 2.การเริ่มต้นและวางแผนโครงการ (Project Initiating and Planning) ขั้นตอนนี้จะรวบรวมข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อเริ่มต้นจัดทำโครงการที่ได้รับอนุมัติโดยเริ่มจากการจัดตั้งทีมงานเพื่อเตรียมการดำเนินงาน จากนั้นทีมงานดังกล่าวร่วมกันค้นหา สร้างแนวทาง และเลือกทางเลือกที่ดีที่สุดในการนำระบบใหม่มาใช้งาน เมื่อได้ทางเลือกที่ดีและเหมาะสมที่สุดแล้ว ทีมงานจึงเริ่มวางแผนดำเนินงานโครงการ โดยศึกษาความเป็นไปได้ กำหนดระยะเวลาดำเนินกิจงานแต่ละขั้นตอนและกิจกรรม เพื่อนำเสนอต่อผู้บริหารพิจารณาอนุมัติให้ดำเนินการในขั้นตอนต่อไป

ตัวอย่างแผนภาพ เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ Information System Development สรุป การทำงานในขั้นตอนการเริ่มต้นและวางแผนโครงการ(Project Initiating and Planning) กิจกรรม ตัวอย่างแผนภาพ เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ 1. เริ่มต้นโครงการ 2. เสนอแนวทางเลือกในการ นำระบบใหม่มาใช้งาน 3. วางแผนโครงการ - เทคนิคการรวบรวมสารสนเทศและข้อ เท็จจริง (Fact-Finding and Information Gathering) - เทคนิคการวิเคราะห์ต้นทุนและผลกำไร (Cost-Benefit Analysis - PERT Chart - Gantt Chart

Information System Development 3.การวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) สรุป การทำงานในขั้นตอนการวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) กิจกรรม ตัวอย่างแผนภาพ เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ 1.ศึกษาขั้นตอนการทำงานของระบบเดิม 2.กำหนดความต้องการในระบบใหม่จากผู้ใช้ระบบ 3. จำลองแบบขั้นตอนการทำงาน 4.อธิบายขั้นตอนการทำงานของระบบ 5. จำลองแบบข้อมูล    -   เทคนิคการรวบรวมสารสนเทศและข้อเท็จจริง (Fact-Finding and Information Gathering)    - แผนภาพกระแสข้อมูล (Data Flow Diagram)    - แผนภาพแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูล (E-R Diagram)    -  พจนานุกรมข้อมูล (Data Dictionary)    -   ตัวต้นแบบ (Prototyping)    -   ผังงานระบบ (System Flowcharts)   - เครื่องมือช่วยในการวิเคราะห์และออกแบบระบบ (CASE Tools)

สรุป การทำงานในขั้นตอนการวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) Information System Development 4.การออกแบบระบบเชิงตรรกะ (Logical Design) กิจกรรม ตัวอย่างแผนภาพ เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ 1.ออกแบบฟอร์มข้อมูลและรายงาน (Form/Report) 2.ออกแบบ User Interface 3.ออกแบบฐานข้อมูลในระดับตรรกะ - แผนภาพกระแสข้อมูล (Data Flow Diagram - แผนภาพแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูล (E-R Diagram) -   พจนานุกรมข้อมูล (Data Dictionary) -   ตัวต้นแบบ (Prototyping) เครื่องมือช่วยในการวิเคราะห์และออกแบบ ระบบ (CASE Tools) สรุป การทำงานในขั้นตอนการวิเคราะห์ระบบ (System Analysis)

Information System Development 5.ขั้นตอนการออกแบบระบบเชิงกายภาพ (Physical Design) สรุป การทำงานในขั้นตอนการออกแบบทางกายภาพ (Physical Design) กิจกรรม ตัวอย่างแผนภาพ เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ 1. ออกแบบฐานข้อมูลระดับ กายภาพ 2.   ออกแบบ Application - แผนภาพกระแสข้อมูล (Data Flow Diagram) -แผนภาพแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูล (E-R Diagram) - พจนานุกรมข้อมูล (Data Dictionary) - ตัวต้นแบบ (Prototyping) -เครื่องมือช่วยในการวิเคราะห์และออกแบบ ระบบ (CASE Tools)

Information System Development 6.การพัฒนาและติดตั้งระบบ (System Implementation) สรุป การทำงานในขั้นตอนการพัฒนาและติดตั้งระบบ (System Implementation) กิจกรรม ตัวอย่างแผนภาพ เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ 1.     เขียนโปรแกรม (Coding) 2.     ทดสอบโปรแกรม (Testing) 3.     ติดตั้งระบบ (Installation) 4.     จัดทำเอกสาร (Documentation) 5.     ฝึกอบรม (Training) 6.     บริการให้ความช่วยเหลือหลังการ ติดตั้ง (Support)         โปรแกรมช่วยสอน (Computer Aid Instruction : CAI)         ระบบคอมพิวเตอร์เพื่อการฝึกอบรม (Computer-Based Training : CBT)         ระบบการฝึกอบรมผ่านเว็บ (Web-Based Training : WBT)         โปรแกรมแก้ไขข้อผิดพลาด (Debugging Program)

Information System Development 7.ขั้นตอนการซ่อมบำรุงระบบ (System Maintenance) สรุป การทำงานในขั้นตอนการบำรุงรักษาระบบ (System Maintenance) กิจกรรม ตัวอย่างแผนภาพ เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ 1.เก็บรวบรวมคำร้องขอให้ปรับปรุง ระบบ 2.วิเคราะห์ข้อมูลคำรองขอเพื่อการ ปรับปรุง 3.ออกแบบการทำงานที่ต้องการ 4.ปรับปรุงระบบ -  แบบฟอร์มแจ้งข้อผิดพลาดของระบบ