รองผู้อำนวยการฝ่ายการแพทย์ รพ.สมุทรสาคร SERVICE PLAN TRAUMA เขตบริการสุขภาพที่5 28/10/58 นพ.บุญรักษ์ พึ่งเจษฎา รองผู้อำนวยการฝ่ายการแพทย์ รพ.สมุทรสาคร
ข้อมูลพื้นฐาน
ต่อแสนประชากร ที่มา:สถาบันวิจัยด้านการคมนาคมมหาวิทยาลัยมิชิแกน สหรัฐอเมริกา วันที่ 04 เมษายน 2557
อัตราการตาย(ต่อแสนประชากร) อัตราการตายแปรผันตามเศรษฐกิจ /ปี 2551-52 เป็นช่วง subprime loan/ ปี 2556 มีผู้เสียชีวิต 14789 คน
อัตราการตายแยกตามเพศ ปี2556 ชายต่อหญิงประมาณ 3เท่า
ถนนทางหลวง 44.74 % ถนน อบต. 25.51% ถนนทางหลวงชนบท 13.08 %
ช่วงเวลาที่มากที่สุด 16. 00-20. 00 จำนวน 29% รองมาคือ 12. 00-16 ช่วงเวลาที่มากที่สุด 16.00-20.00 จำนวน 29% รองมาคือ 12.00-16.00 จำนวน 20.95 % ต่อมาคือ 20.00-24.00 จำนวน 16.66 %
10 อันดับประเภทยานพาหนะที่มีผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนสูงสูด 1.รถจักรยานยนต์ 6. รถบรรทุก 2.รถยนต์ 7.รถบัส 3.เดินเท้า 8.รถสามล้อ 4.รถปิคอัพ 9.รถอีแต๋น 5.รถจักรยาน 10.รถซาเล้ง สามล้อ ที่มา:มูลนิธิเมาไม่ขับ
ยานพาหนะที่เป็นสาเหตุของอุบัติเหตุ ปี2556 เป็นจำนวนครั้ง/ปี
อวัยวะที่ได้รับบาดเจ็บ จักรยานยนต์ทำให้เกิดการบาดเจ็บที่ศรีษะได้มากกว่า 70 %
ค่าใช้จ่ายจากจักรยานยนต์ ประมาณ 3300 ล้านบาท
ค่าใช้จ่ายอุบัติเหตุทางสมอง คิดเป็น 55%
คนเป็นปัจจัยหลักให้เกิดอุบัติเหตุ คิดเป็น 95.72%
สิ่งคุกคามในอนาคต Asean มีประชากร รวม 600 ล้านคน asean +6(จีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ อินเดีย ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์) รวม 2000 ล้านคน = 1/3 ของประชากรโลก
สิ่งคุกคามในอนาคต ระยะทางจากท่าเรือน้ำลึกทวาย –บ้านพุน้ำร้อน 90 กม / บ้านพุน้ำร้อน –กาญ 70 กม /กาญ-กทม 128 กม/กทม-มาบตาพุด 230 กม / รวม 518 กม/ลดเวลาจาก 16-18 วันเป็น 6-7 ชม
ข้อมูลเขตสุขภาพที่5
แผนที่เขตบริการสุขภาพที่ 5
ข้อมูลแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเครือข่ายบริการที่ 5 โรงพยาบาล จำนวนแพทย์แต่ละสาขา Neuro Gen Sx. Ortho CVT Plastic Maxillo Uro Sx. เด็ก Anas EP นครปฐม 4 9 2 1 3 5 ราชบุรี บ้านโป่ง โพธาราม ดำเนินสะดวก 8 11 7 เจ้าพระยายมราช สมเด็จพระสังฆราชที่ 17 6 พหลพลพยุหเสนา มะการักษ์ สมุทรสาคร กระทุ่มแบน บ้านแพ้ว 12 สมเด็จฯเลิศหล้า พระจอมเกล้า เพชรบุรี ประจวบคิรีขันธ์ หัวหิน รวม 22 59 82 16 39 13 Gen sx ที่ประจวบและพระจอมเกล้า มี 1 คน /ep ที่สมุทรสาคร ไม่มี
ข้อมูลทางสถิติ
ปริมาณรถยนต์บนถนน(คัน/วัน) เขต 5 รวมตะวันตก และใต้ บนถนน สาย 4 9 35 338 340 ประมาณ 170000 คัน/วัน
จำนวนการเสียชีวิตเปรียบเทียบ(คน) เปรียบเทียบ 3 เขต ติดกัน/ เขต 6 สูงสุด
อัตราการตายจากอุบัติเหตุระดับเขต อันดับ1 เขต 6 อันดับ2 เขต11 อันดับ3 เขต 5 คิดต่อแสนประชากร
สถิติผู้บาดเจ็บเขตบริการสุขภาพที่ 5 จังหวัด ปี 57 ปี 58 ทั้งหมด จราจร DBA Dead In-hos. 1.ราชบุรี (ศูนย์/บ้านโป่ง/ดำเนิน) 36,694 12,179 72 97 34,823 79 90 2.กาญจนบุรี(มะการักษ์) 6,201 2,528 8 1,725 766 15 3.สุพรรณบุรี 52,667 12,742 198 238 44,582 11,664 140 220 4.นครปฐม (ศูนย์) 13,321 7,563 71 158 9,170 5,088 39 116 5.สมุทรสาคร 49,712 9,658 160 54,276 9,623 193 6.สมุทรสงคราม 6,595 2,085 48 52 NA 7.เพชรบุรี (พระจอมเกล้า) 10,450 4,164 24 18 7,879 3,163 9 8.ประจวบคิรีขันธ์ ข้อมูลน่าจะไม่ถูกต้อง/ ราชบุรีและกาญ จราจรปี 57กับ58 ต่างกันมาก/
จำนวนการบาดเจ็บนครปฐมและสมุทรสาคร ประมาณ 4200 ราย/ กาญจนบุรีและสุพรรณบุรี ประมาณ 3500 ราย
นครปฐม/กาญจนบุรี/สุพรรณบุรี ตามลำดับ
นครปฐม/สุพรรณบุรี/กาญจนบุรี ตามลำดับ
ประจวบคีรีขันธ์สูงสุด/เพชรบุรี/นครปฐม
ข้อมูลอื่นๆ
จุดเสี่ยง 13 จุด ขาดเพชรบุรีและนครปฐม
จุดเสี่ยง 3 จุดจุดตรวจ 4 จุด
จุดเสี่ยง 3 จุด
มีจุดเสี่ยง 5 จุด จุดตรวจ 9 จุด
จุดเสี่ยง 6 จุด
จุดเสี่ยง 13 จุด
สภาพปัญหา
การกระจายเครือข่ายศูนย์อุบัติเหตุยังไม่ดีโดยกาญจนบุรีและประจวบคีรีขันธ์มีจังหวัดละ 2 จุด เพชรบุรี มี 1 จุด การกระจายตัวของแพทย์ยังไม่ดี โดยโรงพยาบาลประจวบคีรีขันธ์และพระจอมเกล้า มีศัลยแพทย์ทั่วไปเพียง แห่งละ 1 อัตรา และโรงพยาบาลสมุทรสาคร สมุทรสงครามไม่มีแพทย์เวชศาสตร์ฉุกเฉิน กาญจนบุรีมีพื้นที่กว้างใหญ่/ประจวบคีรีขันธ์ยาว
อัตราการตายของเขตเป็นลำดับ 3 ของประเทศ คิดเป็น 29 อัตราการตายของเขตเป็นลำดับ 3 ของประเทศ คิดเป็น 29.19 คน/แสนซึ่งมากกว่าเกณฑ์คือ 18 คน/แสน อัตราการตายต่อแสนที่มากกว่า 18 คน/แสน มี 6 จังหวัด มีสมุทรสงครามและสมุทรสาครที่อยู่ในเกณฑ์คือ 15.46และ 16.73 คน/แสน ตามลำดับ จำนวนคนที่บาดเจ็บ ทุพพลภาพและเสียชีวิต เป็นคนที่อยู่ในพื้นที่มากกว่านอกพื้นที่
ข้อมูลขาดความครบถ้วน ข้อมูลที่ได้ไม่ได้ถูกนำไปวิเคราะห์ ปัญหาทางวิศวกรรมจราจรยังมีอยู่เช่นที่จังหวัดประจวบคีรีขันธ์มีรายงาน 3 จุดคือ กม.349 กม.384+313 กม.414+813 ข้อมูลขาดความครบถ้วน ข้อมูลที่ได้ไม่ได้ถูกนำไปวิเคราะห์ ขาดความเข้าใจในการลงข้อมูล เรื่องข้อมูล
ผู้บาดเจ็บมาเองโดยไม่ได้รับการดูแลระหว่างทาง มาตรฐานการดูแลผู้บาดเจ็บ ณ ที่เกิดเหตุยังไม่มีคุณภาพ ระยะทางไกล EMS ยังไม่ครอบคลุม ผู้ป่วยยังไม่ได้รับการดูแลตามมาตรฐาน ขาดการพัฒนาศักยภาพบุคลากร การส่งต่อล่าช้า ซับซ้อน Prehospital/hospital hospital
ขาดการดูแลผู้ป่วยต่อเนื่องหลังจากออกจากโรงพยาบาล ญาติขาดความรู้ในการดูแลผู้ป่วยที่บ้าน rehab
SWOT
S ผู้บริหารมีนโยบายชัดเจน มีโครงสร้างและ คกก. เครือข่ายสาขาอุบัติเหตุ บุคลากรมีความรู้ความสามารถและมุ่งมั่นในการทำงาน บุคลากรมีทักษะในการทำงานที่ดี
O มีนโยบายป้องกันควบคุมการบาดเจ็บโดยเฉพาะ RTI Technology เติบโตแบบก้าวกระโดด สังคมเอื้อเฟื้อและมิตรไมตรี ROAD TRAFFIC INJURY
W ขาดแคลนบุคลากรที่จำเป็น มีข้อบกพร่องในการสื่อสารและประสานงาน ข้อมูลหาได้ยากและไม่มีคุณภาพ ขาดการวิเคราะห์ ติดตาม และประเมินผล
T งบประมาณมีจำกัด ความร่วมมือและการประสานงานระหว่างรัฐต่อรัฐ และรัฐต่อเอกชนยังไม่ดี บุคลากรที่ส่วนกลางจัดสรรมีจำนวนน้อย การเข้าสู่ประชาคมอาเซียนในปี 2558 โครงการท่าเรือน้ำลึกทวาย
กำหนดยุทธศาสตร์
so จัดตั้งศูนย์การแพทย์ด้านอุบัติเหตุเน้นงานฝึกอบรม และวิจัย จัดตั้งสถาบันป้องกันภัยทางถนน แบบบูรณาการณ์
WO ปรับปรุงระบบ management information system(MIS) ปรับปรุงการกระจายทรัพยากรให้เหมาะสม ปรับปรุงเรื่องการประสานความร่วมมือในเขต Mis การวางแผนการเก็บข้อมูล ถึง การนำมาวิเคราะห์เพื่อใช้งาน
ST ประสานข้อมูลเพื่อการแก้ไขปัญหาวิศวกรรมจราจร เตรียมความพร้อมเกี่ยวกับอุบัติเหตุเพื่อรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน กระตุ้นทีมงานให้เกิดความพร้อมในการทำกิจกรรมทางด้านงานอุบัติเหตุอย่างต่อเนื่อง
WT ลดการจัดเก็บข้อมูลที่ไม่จำเป็น ลดการจัดเก็บข้อมูลที่ซ้ำซ้อน
แผนงานระยะสั้น ทบทวนแผนอุบัติภัยหมู่เพื่อรับเทศกาลปีใหม่ โดยจัดอบรมบุคลากรการแพทย์ครบ 100% จัดประชุมเพื่อซักซ้อมความเข้าใจของ FR ERT ในการดูแลผู้ป่วยเบื้องต้น 100 % อบรม อสม ในการเฝ้าระวังอุบัติภัยทางถนน 100 % จัดทำเอกสารเผยแพร่การใช้รถ ถนน ที่ถูกต้องแก่ประชาชนทั่วไปโดยเฉพาะในจุดเสี่ยง 100%
แผนงานระยะสั้น จัดประชุมทบทวนการจัดเก็บข้อมูล IS เพื่อให้เป็นรูปแบบเดียวกันและไม่ซ้ำซ้อนทุก 2 เดือน ประสานข้อมูลอุบัติเหตุในการประชุมระดับจังหวัดทุกเดือน Trauma fast tract/ Trauma/IS audit ทุก 2-4เดือน ข้อ2 ปัญหาของ FR/วิศวกรรมจราจร
แผนงานระยะกลาง จัดให้มีการซ้อมแผนรับอุบัติภัยหมู่ในรูปแบบบูรณาการณ์เป็นประจำทุกปี จัดให้มีการอบรมรวมถึงแสดงสาธิตในเจ้าหน้าที่ทุกระดับทุกปี - ATLS nurse ใน รพ ระดับ M2 F1-3 - ATLS intern 1-2-3
แผนงานระยะกลาง จัดอบรมโปรแกรม THAI REFER เพื่อสามารถใช้งานได้ระหว่าง รพ A S M1 ภายในปีงบประมาณ 2559 จัดตั้ง Trauma corner ใน A S M1 ภายในปีงบประมาณ 2559 เพิ่มศักยภาพ รพ.ให้สามารถผ่าตัดผู้ป่วยอุบัติเหตุฉุกเฉินได้ในระยะทางทุกๆ 60 กม.
แผนงานระยะยาว จัดตั้งศูนย์การแพทย์ด้านอุบัติเหตุเน้นเรื่องการฝึกอบรมและงานวิจัย ระยะเวลา 5-10 ปี จัดตั้งสถาบันป้องกันภัยทางถนน ระยะเวลา 3-5 ปี จัดตั้ง Trauma unit ในรพ A S M1 ระยะเวลา 3-5 ปี
ขอบคุณครับ ดอกกันเกรา