สัมมนาวิพากษ์ เพื่อรับฟังความคิดเห็นและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง มาตรฐานทางเทคนิคเพื่อการแลกเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ และ กรอบแนวทางการเชื่อมโยงรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์แห่งชาติ เวอร์ชั่น 2.0 Thailand e-Government Interoperability Framework v2.0 ดร. สมนึก คีรีโต Certified TOGAF-8 Architect ผู้อำนวยการ สถาบันนวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ ผู้ช่วยศาสตรจารย์ ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โครงการพัฒนากรอบแนวทางการเชื่อมโยงรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์แห่งชาติ ปี 2555 โดย กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร วันที่ 12 กันยายน 2555
หัวข้อที่นำเสนอ “กรอบนโยบายเพื่อส่งเสริม” การพัฒนา ระบบรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (e-Government) ที่มีการแลกเปลี่ยนทั้งข้อมูล และธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ระหว่างหน่วยงาน (e-GIF: e-Government Interoperability Framework) “กรอบแนวทางการเชื่อมโยงรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ของประเทศไทย เวอร์ชั่น 2.0” (TH e-GIF) ข้อเสนอในการปรับปรุง 2 ส่วนหลัก มาตรฐานเทคนิคเพื่อการแลกเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ กรอบแนวทางการเชื่อมโยงรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์แห่งชาติ ในภาพรวม
กรอบแนวทางและมาตรฐาน TH e-GIF มีเนื้อหาหลัก 5 ด้าน ข้อเสนอเชิงนโยบาย* ในการผลักดันการพัฒนาระบบรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ขั้นก้าวหน้า แบบที่มี “การเชื่อมโยงแลกเปลี่ยนข้อมูลและบริการอัตโนมัติ ข้ามหน่วยงาน” (มุ่งสู่ “บริการร่วม” ระหว่างหน่วยงานภาครัฐ) วิธีการพัฒนาระบบการเชื่อมโยงข้ามหน่วยงาน โดยการใช้หลักการของ “สถาปัตยกรรมองค์กร” วิธีการวิเคราะห์และกำหนดมาตรฐานกระบวนการ วิธีการจัดทำมาตรฐานรายการข้อมูล ข้อกำหนดด้านมาตรฐานทางเทคนิคเพื่อการเชื่อมโยงระบบรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ 95 ด้านใน 7 หมวด “กรอบแนวทางการเชื่อมโยงรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์แห่งชาติ” หรือ “Thailand e-Government Interoperability Framework” (TH e-GIF) เป็นแนวทางปฏิบัติที่พัฒนาขึ้นตามนโยบายของกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อส่งเสริมให้ระบบสารสนเทศของภาครัฐที่มีความแตกต่างกันสามารถเชื่อมโยงข้อมูลและสามารถปฏิบัติการร่วมทางอิเล็กทรอนิกส์ระหว่างระบบได้อย่างอัตโนมัติ ทั้งนี้ เพื่อนำไปสู่การสร้างระบบธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถให้บริการร่วมแบบเบ็ดเสร็จ ณ จุดเดียว และหรือมีการบูรณาการเชื่อมโยงระบบข้อมูลของหน่วยงานภาครัฐหลายหน่วยงานเข้าหากัน หน่วยงานภาครัฐสามารถนำกรอบแนวทางดังกล่าวนี้ไปใช้เป็นแนวนโยบาย รวมทั้งใช้เป็นข้อกำหนดทางเทคนิค และเป็นขั้นตอนปฏิบัติในการพัฒนาระบบข้อมูลที่มีการเชื่อมโยงข้อมูลและบริการอิเล็กทรอนิกส์ระหว่างระบบได้ * เพื่อการผลักดันให้เป็น มติของ คณะกรรมการไอซีทีแห่งชาติ คณะรัฐมนตรี และ ให้เป็นนโยบาย และ KPI ของหน่วยงาน และ เพื่อการจัดสรร “ทรัพยากร” (งบประมาณ และกำลังคน) ในการขับเคลื่อนการพัฒนาต่อไป
มาตรฐานกลางระดับประเทศ ผลงานของ TH e-GIF ปี 2549 - 2554 กรอบแนวทาง และ มาตรฐาน TH e-GIF 1. กรอบนโยบายการพัฒนาระบบเชื่อมโยงรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ 2. วิธีการพัฒนาระบบเชื่อมโยงด้วยหลักการสถาปัตยกรรมองค์กร 3. วิธีการวิเคราะห์กระบวนการ 4. วิธีการทำมาตรฐานรายการข้อมูล และ เอกสารอิเล็กทรอนิกส์ 5. มาตรฐานที่เป็นข้อกำหนดทางเทคนิคที่แนะนำให้ใช้ 95 ด้านใน 7 หมวด คือ Interconnection Specification, Data Exchange Spec, Storage & Presentation Spec, Web Tech Spec, Business Service Spec, Security Spec, Other Spec ข้อมูลสถิติ ของประเทศ StatXML การช่วยเหลือเกษตรกร ผู้ประสบภัยฯ มาตรฐานข้อมูล พัฒนา ชั้นตอนการช่วยเหลือ และพัฒนา ระบบจริงเชื่อมโยง 6 หน่วยงาน สำนักงาน สถิติแห่งชาติ จัดทำ มาตรฐาน รายงานสถิติ ของประเทศ ข้อมูลเกษตร ย้อนกลับ มาตรฐานข้อมูล เพื่อการตรวจสอบ ย้อนกลับ มาตรฐานกลางรายสาขา สาธาณสุข และ โรงพยาบาล National Single Window โลจิสติกส์ส่งออก-นำเข้าสินค้า ความปลอดภัยในการขนส่ง มวลชนสาธารณะ สารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ ฐานข้อมูลงานวิจัย ทะเบียนการศึกษา 1. สถาปัตยกรรมระบบ NSW ของประเทศ โดย ก.ไอซีที 2. การใช้มาตรฐาน ebXML Messaging Services (THeGIF) 3. Data Harmonization จาก 189 แบบฟอร์ม 21 หน่วยราชการ 6,765 รายการข้อมูล ลดรูปเหลือ 259 รายการข้อมูล 1. มาตรฐานรายการข้อมูล 19 รายการ 2. มาตรฐานกระบวนการรับส่ง หนังสือราชการ 3. มาตรฐานกระบวนการ Time Stamp 4. มาตรฐานการลงลายมือชื่อ มาตรฐาน 65 รายการข้อมูล เพื่อสืบค้น ผลงานวิจัย โดยใช้แนวทาง ของ TH e-GIF มาตรฐานข้อมูล นักเรียน 46 รายการ ครู 33 รายการ สถานศึกษา 41 รายการ โดยใช้แนวทาง ของ TH e-GIF มาตรฐาน 35 แฟ้ม ข้อมูล เพื่อส่งตัว ผู้ป่วย ระหว่าง โรงพยาบาล 1. มาตรฐานรายการข้อมูล คนประจำรถประจำทางสาธารณะ 2. มาตรฐานรายการข้อมูล รถประจำทางสาธารณะ 3. มาตรฐานกระบวนการรับส่งข้อมูล ระหว่างหน่วยงานขนส่ง การพัฒนาระบบงานจริง ก.ไอซีที จัดสรรงบประมาณ ในการพัฒนาระบบแลกเปลี่ยนข้อมูล ระหว่าง 4 หน่วยงาน คือ สำนักงานปลัด ก.คมนาคม กรมการขนส่งทางบก บขส และ ขสมก (มีข้อมูลผู้ประจำรถ 40,000 คน และ ข้อมูลรถประจำทาง 40,000 คัน) ก.ไอซีที สนับสนุนงบฯ พัฒนาการเชื่อมโยงระหว่าง ระบบสารบรรณของ 70 หน่วยราชการ แต่ยังไม่ได้มีการใช้ Digital Signature ของผู้ลงนามในหนังสือ อย่างเต็มรูป 35 หน่วยงานราชการ กำลังพัฒนาระบบไอทีภายใน และ เชื่อมโยงระบบข้ามหน่วยงาน(ebXML protocol) กับ NSW, กรมศุลกากร และ ASEAN Single Window - ก.ไอซีที สนับสนุนงบประมาณ 186 ล้านบาท แก่ 15 หน่วยงาน ในการพัฒนาระบบเชื่อมโยง ดังกล่าว สภาวิจัยฯ เป็น เจ้าภาพพัฒนาระบบการเชื่อมโยงข้อมูลผลงานวิจัยร่วมกับ 37 หน่วยงาน (สถาบีนวิจับ และมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ 60 ฐานข้อมูล) www.vijai.net ก.ศึกษาฯ เป็นเจ้าภาพ พัฒนาระบบ เชื่อมโยงกับ 38,000 สถานศึกษา (ของ 7 กระทรวง 28 หน่วยงาน) ใช้งานจริง ใน 200 โรงพยาบาล ก.สาธารณสุข กำลังประสานความร่วมมือ การพัฒนา ในขั้นต่อไป รวบรวมข้อมูลโดย ดร. สมนึก คีรีโต ผอ. สถาบันนวัตกรรมไอที มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
โดยใช้หลักการของ “สถาปัตยกรรมองค์กร” (EA - Enterprise Architecture) วิธีการพัฒนาระบบ รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ที่เชื่อมโยงกันระหว่างหน่วยงาน Collaborative e-Government โดยใช้หลักการของ “สถาปัตยกรรมองค์กร” (EA - Enterprise Architecture) เส้นทางการขับเคลื่อนจากยุทธศาสตร์ (ทิศทาง และ ความต้องการทางธุรกิจ) สู่ความเป็นจริง
หลักการพื้นฐาน ของ “สถาปัตยกรรม” การใช้ “ภาพ” ช่วยอธิบายสถานะของ ”ปัจจุบัน” และ นำเสนอ “อนาคต” ที่เราต้องการ “ภาพ” ที่อธิบายความสลับซับซ้อนของระบบ โดยการแยกความสบลับซับซ้อนนั้นเป็น องค์ประกอบย่อย (หลาย components ย่อย) มีการแสดงความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบย่อย (เช่น ใช้ “เส้น” แสดง relationships) มีการกำหนด “กลไกการกำกับ” สำหรับแต่ละส่วนย่อย เช่น กำหนดว่า “ชื่อหน่วยงาน” ที่เป็นเจ้าภาพกำกับดูแลในแต่ละส่วนย่อย มักใช้ภาพหลายภาพ แสดงใน “หลายมุมมอง”
หลักการพื้นฐาน ของ “สถาปัตยกรรมองค์กร” นำเสนอภาพในอย่างน้อย 5 โดเมน ด้านยุทธศาสตร์ (Architecture Vision) ด้านธุรกิจและธุรกรรม (Business Architecture) ด้านข้อมูล และ เอกสาร (Data Architecture) ด้านแอพลิเคชั่น-ฟังก์ชั่นการใช้ (Application Architecture) ด้านเทคโนโลยี-ฮาร์ดแวร์และเน็ตเวิร์ค (Technology Architecture)
วิธีการพัฒนาระบบบูรณาการเชื่อมโยงรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ ระยะที่ 1 การเตรียมการเบื้องต้น ระยะที่ 2 การกำหนดวิสัยทัศน์เพื่อ การบูรณาการและการเชื่อมโยง ระบบข้อมูลภาครัฐ ระยะที่ 3 การจัดทำสถาปัตยกรรมด้านธุรกรรม ระยะที่ 4 การจัดทำสถาปัตยกรรมด้านข้อมูล ระยะที่ 5 การจัดทำสถาปัตยกรรม ด้านระบบงาน ระยะที่ 6 การจัดทำสถาปัตยกรรมด้าน เทคโนโลยี ระยะที่ 7 การศึกษาความเป็นไปได้ในเชิงลึก ระยะที่ 8 การวางแผนการดำเนินงานเบื้องต้น ระยะที่ 9 การกำกับและดูแลการบูรณาการ เชื่อมโยงระบบข้อมูลภาครัฐ ระยะที่ 10 การปรับปรุงการบูรณาการ ในกลุ่มงาน
วิธีการจัดทำ สถาปัตยกรรม ตามแนวทาง TOGAF 9 ความต้องการ ในการเชื่อมโยง ข้อมูลธุรกิจ TOGAF-ADM - Architecture Development Method
เตรียมองค์กรเพื่อพร้อมรองรับโครงการที่จะเกิดขึ้น เข้าใจโครงสร้างพื้นฐาน ขององค์กร การสนับสนุนของผู้บริหาร ระดับสูง มีการตกลงในขอบเขตการ ดำเนินงาน กำหนดหลักการโครงการ กำหนดการควบคุมและดูแล การยอมรับวิธีการการจัดทำ สถาปัตยกรรมองค์กร ดร. สมนึก คีรีโต 10
วิสัยทัศน์-ยุทธศาสตร์ กำหนดขอบเขต ข้อจำกัด และเป้าหมายชัดเจน กำหนดวิสัยทัศน์ของ สถาปัตยกรรม ตรวจสอบให้ตรงตามความ ต้องการทางธุรกรรม แถลงการณ์การทำงานด้าน สถาปัตยกรรมองค์กร ดร. สมนึก คีรีโต 11
สถาปัตยกรรมทางด้านธุรกรรม การรวบรวมกระบวนการทาง ธุรกรรม ผู้เกี่ยวข้องและ ความสัมพันธ์ระหว่างกัน แสดงให้เห็นถึงผลที่จะสำเร็จ ได้ตามเป้าหมาย จัดทำตามหลักการที่กำหนด ประกอบด้วย โครงสร้างการดำเนินการ วัตถุประสงค์และเป้าหมาย ทางธุรกรรม หน้าที่การงานต่างๆ การให้บริการทางธุรกรรม กระบวนการทางธุรกรรม บทบาทของผู้เกี่ยวข้อง ความสัมพันธ์ระหว่างกัน ดร. สมนึก คีรีโต 12
ขั้นตอนการจัดทำสถาปัตยกรรมทางด้านธุรกรรม เลือกต้นแบบอ้างอิง วิธีการ ดำเนินการ และเครื่องมือที่เหมาะสม กำหนดคำอธิบายสถาปัตยกรรม ทั่วไป กำหนดคำอธิบายสถาปัตยกรรม กลุ่มเป้าหมาย วิเคราะห์เป้าหมาย กำหนดองค์ประกอบที่ต้อง ดำเนินการ นำเสนอผู้เกี่ยวข้องให้ยอมรับ สรุปสถาปัตยกรรม จัดทำเอกสารประกอบสถาปัตยกรรม ดร. สมนึก คีรีโต 13
สถาปัตยกรรมทางด้านข้อมูลและโปรแกรมประยุกต์ รวบรวมข้อมูลและระบบงาน ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการ และความสัมพันธ์ระหว่าง กัน แสดงให้เห็นถึงผลที่จะ สำเร็จได้ตามเป้าหมาย จัดทำตามหลักการที่ กำหนด ดร. สมนึก คีรีโต 14
สถาปัตยกรรมทางด้านเทคโนโลยี รวบรวมเทคโนโลยีของ อุปกรณ์ ซอฟต์แวร์ และ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ และ ความสัมพันธ์ระหว่างกัน จัดทำตามหลักการที่ กำหนด ดร. สมนึก คีรีโต 15
แนวทางการปฏิบัติ จัดทำแผนการปฏิบัติก่อน ดำเนินโครงการ กำหนดโครงการหลักที่จะ จัดทำ จัดกลุ่มโครงการเพื่อการ ดำเนินการ เลือกวิธีการจัดหา ทำเองหรือจัดซื้อหรือ ปรับปรุงของเดิม ใช้ outsource ใช้ open source ใช้แบบสำเร็จรูป ประเมินลำดับความสำคัญ รวบรวมองค์ประกอบอื่นๆที่ สัมพันธ์กัน ดร. สมนึก คีรีโต 16
วางแผนการปรับเปลี่ยนกระบวนการทำงาน วิเคราะห์ต้นทุนและผลที่ ได้รับ ประเมินความเสี่ยง จัดทำแผนเพื่อรองรับการ ติดตั้งของใหม่และปรับย้าย ระบบหรือการทำงานเดิม ดร. สมนึก คีรีโต 17
ควบคุมและดูแลการดำเนินงานให้ตรงเป้าหมาย จัดเตรียมการทำงานให้ ครอบคลุมเป้าหมาย รวบรวมอุปสรรคหรือ ข้อจำกัดในการทำงาน ดำเนินการให้สอดคล้องกับ สถาปัตยกรรมองค์กร ตรวจสอบการดำเนินการให้ เป็นไปตามข้อกำหนด ทำให้การพัฒนาระบบเกิด ผลสำเร็จ ดร. สมนึก คีรีโต 18
การบริหารความเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในโครงการ จัดเตรียมงานเพื่อรองรับการ เปลี่ยนแปลง จัดทำและดูแลให้เป็นไป ตามสถาปัตยกรรมเสมอ เตรียมพร้อมสถาปัตยกรรม เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง ของเทคโนโลยีและธุรกรรม ตรวจสอบการบริหารจัดการ ให้ดีเสมอ ดร. สมนึก คีรีโต 19
TH e-GIF เสนอให้ใช้ ข้อกำหนดทางเทคนิคเพื่อ การเชื่อมโยงระบบรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ 132 รายการ ใน 7 หมวด ดังต่อไปนี้
1.หมวดมาตรฐานการเชื่อมโยง ลำดับที่ วัตถุประสงค์การนำไปใช้ ชื่อย่อ ชื่อเต็มและรายละเอียด 1 Hypertext transfer protocols HTTP Hyper Text Transfer Protocol HTTP v1.1 2 E-mail Transport SMTP Simple Mail Transfer Protocol RFC 2821 3 Mailbox access POP3 Post Office Protocol RFC 2449 IMAP Internet Mail Access Protocol RFC 2060 4 Mail Attachment MIME Multipart Internet Mail Extension MIME v1.0 5 Directory LDAPv2 Light Weight Directory Access Protocol version 2 LDAPv3 Light Weight Directory Access Protocol version 3 6 Domain name services DNS Domain Name Service Protocol RFC 1035 7 File transfer protocols FTP File Transfer Protocol RFC 959 8 Newsgroup services NNTP Network News Transfer Protocol RFC 3977 9 Real-time messaging services IMPP Instance Messaging and Presence Protocol RFC 2779 XMPP Extensible Messaging and Presence Protocol XMPP v0.13 draft SIP Session Initiation Protocol RFC 3261 10 LAN/WAN interworking IPv4 Internet Protocol version 4.0 RFC 791 IPv6 Internet Protocol version 6.0 RFC 5095 11 Transport TCP Transport Control Protocol RFC 793 UDP User Datagram Protocol RFC 768 12 GPRS General Packet Radio Service GPRS v2.1.8 13 SMS Short Message Service SMS v9.0 14 MMS Multimedia Message Service MMS V1.3 15 Video Conference Assembly H323 Protocol Suites for Video Conference 16 Distributed Process CORBA Common Object Request Broker Architecture CORBA v2.3 17 Mobile Content Protocal WAP Wireless Application Protocol WAP 2.0 18 Network Time Protocal NTPv4 Network Time Protocol RFC 2030 19 Certificate Status Protocol OCSP Open Certificate Status Protocol RFC 2560 20 Thai Government Language Protocol TGL Protocol ดร. สมนึก คีรีโต 21
2.หมวดมาตรฐานการแลกเปลี่ยนข้อมูล ลำดับที่ วัตถุประสงค์การนำไปใช้ ชื่อย่อ ชื่อเต็ม 1 Data integration metadata/meta language XML Extensible Markup Language XML v1.1 2 Data integration metadata definition XML Schema XML Schema v1.1 3 Data transformation XSL Extensible Stylesheet Language XSL v1.1 XSLT Extensible Stylesheet Language Transformation 4 Data description language RDF Resource Description Framework 5 Data modelling exchange XMI XML Metadata Exchage XML ME v1.1 6 Minimum interoperable character set UTF-8 8 bit Unicode Transformation Format ISO/IEC 10646:2003/Amd.5:2008(E) ดร. สมนึก คีรีโต 22
3.หมวดมาตรฐานรูปแบบการจัดเก็บและนำเสนอข้อมูล ลำดับที่ วัตถุประสงค์การนำไปใช้ ชื่อย่อ ชื่อเต็ม 1 Content management metadata definition XML Schema XML Schema v1.1 Dublin Core Dublin Core Metadata Standard DSML Directory Service Markup Language DSML V2.0 2 Content syndication RSSv1 RDF Site Summary version 1 RSS v1.0 RSSv2 Really Simple Syndication version 2 RSS v2.0 3 Distributed searching ISO-23950 Information Retrieval Z39.50 4 Identifiers for digital objects using ASN.1 OIDs Object Identifiers x.667 5 Radio tracking identification RFID Radio Frequency Identifier RP-6-2008 6 Document file types RTF Rich Text Format RTF 1.9.1 HTML Hyper Text Markup Language HTML 5.0 Draft XHTML v1.0 eXtensible HyperText Markup Language Version 1.0 ODF Open Document Format ODF v1.1 OpenXML Open XML Document ISO/IEC DIS 29500 PDFv4 Adobe Portable Document Format version 4 DOC Microsoft Word File DOC, DOCX MHT Multimedia Message formats TXT Text PS Post Script 7 Spreadsheet file types XLS Microsoft Excel Spreed Sheet File XLS, XLSX CSV Comma-separated Value RFC 4180 8 Presentation file types PPS Microsoft Power Point Show File PPS, PPSX PPT Microsoft Power Point File PPT, PPTX 9 Graphical/still image information exchange specifications JPEG Joint Photographic Expert Group ISO-JPEG2000-1 GIF Graphic Interchange Format http://www.w3.org/Graphics/GIF/spec-gif87.txt PNG Portable Network Graphic ISO/IEC 15948:2004 TIF Tagged Image File TIF Version 6.0 ECW Enhanced Compression Wavelet proprietary wavelet compression image format owned by Leica Geosystems V3.3 WMF Window Media Format version 11 10 Vector Graphics SVG Scalable Vector Graphics SVG 1.2 11 Moving image and audio/visual information exchange specifications MPEG Moving Picture Experts Group ดร. สมนึก คีรีโต 23
3.หมวดมาตรฐานรูปแบบการจัดเก็บและนำเสนอข้อมูล (ต่อ) ลำดับที่ วัตถุประสงค์การนำไปใช้ ชื่อย่อ ชื่อเต็ม 12 Audio/video streaming data RA Real Audio version 10 RM Real Media version 10 WMA Window Media Audio WMA version 10 WMV Window Media Video WMV version 9.2 MOV Quick Time format Quick Time 10 WAV Waveform Audio Format RF64, EBU Tech 3306 MP3 Moving Picture Experts Group 3 ISO/IEC 11172-3:1993, ISO/IEC 13818-3:1998 F4V Flash Video Adobe Flash Media 10 H264 video compression standards ISO/IEC 14496-10:2005 13 Web Animation SWF Shock Wave File Adobe SWF 10 14 General purpose files and compression TAR Tape Archive TAR Version 1.22 TGZ TAR GNU ZIP GZIP Version 4.3 GZ GNU ZIP GZIP file format specification version 4.3 ZIP Data Compressed file format V 6.3.2 15 Hypertext interchange formats HTML Hyper Text Markup Language HTML 5.0 Draft 16 Data modelling language UML Unified Modelling Language UML 2.0 E-R diagram Entity Relation Diagram ดร. สมนึก คีรีโต 24
4.หมวดบริการผ่านเว็บเซอร์วิสเทคโนโลยี ลำดับที่ วัตถุประสงค์การนำไปใช้ ชื่อย่อ ชื่อเต็ม 1 Web service request delivery SOAPv1.1 Simple Object Access Protocol version 1.1 SOAPv1.2 Simple Object Access Protocol version 1.2 2 Web service request registry UDDIv2 Universal Description Discovery and Integration version 2 UDDIv3 Universal Description Discovery and Integration version 3 3 Web service description language WSDLv1.1 Web Services Description Language version 1.1 WSDLv1.2 Web Services Description Language version 1.2 4 Web service interoperability WS-I Web Services Interoperability http://www.ws-i.org/ 5 Web service choreography WS-CDL Web Services Choreography Description Language WSBPEL Web Services Business Process Execution Language ดร. สมนึก คีรีโต 25
5.หมวดบริการด้านธุรกรรม ลำดับที่ วัตถุประสงค์การนำไปใช้ ชื่อย่อ ชื่อเต็ม 1 ebXML business repositories ebXML part 3 Registry Information Model (ebRIM) RIM v3.0 ebXML part 4 Registry Service Specification (ebRS) RS v3.0 2 ebXML description language ebXML part 1 Collaboration Protocol Profile & Agreement ebXML CPPA V2.0 3 ebXML Message Service ebXML part 2 Message Service Specifiction (ebMS) ebMS V2.0 4 ebXML Data Standard ebXML part 5 Core Component Technical Specification (CCTS) CCTS V3.0 5 Statistical Data Standard SDMX Statistical Data and Metadata Exchange SDMX V2.0 6 Geospatial Data GeoTIFF Tagged Image File Format including geospatial information GeoTIFF Revision 1.0 ISO-19115 Geospatial metadata ISO 19115-2:2009 KML Keyhole Markup Language KML v2.2 IMG Erdas Imagine IMG ans MIS formats SHP ESRI Shape file format ดร. สมนึก คีรีโต 26
6.หมวดมาตรฐานความมั่นคงปลอดภัย ลำดับที่ วัตถุประสงค์การนำไปใช้ ชื่อย่อ ชื่อเต็ม 1 Secure mailbox access SSLv3 Secure Socket Layer version 3 TLSv1 Transport Layer Security version 1 2 IP security (Authenticated header) IPSec Internet Protocol Security IPSec Version 2 draft 3 IP encapsulation security (for VPN requirements) ESP Encapsulating Security Payload RFC 2406 4 Transport security HTTPS HyperText Transfer Protocol over Secure Socket Layer RFC 2818 S/MIMEv3 Secure/Multipart Internet Mail Extension S/MIME v3.2 5 Timestamp token TSP Time Stamp Protocol RFC 3161 6 Secure Shell SSH SSH-2 7 Encryption algorithms AES Advanced Encryption Standard FIP-197 3DES Triple Data Encryption Standard FIP-46-3 8 For signing DSA for DSS Digital Signature Algorithm for Digital Signature Standard FIP-186 RSA for DSS RSA for Digital Signature Standard PKCS #1 v2.1 9 For key transport 10 For hashing MD-5 Message Digest Number 5 RFC 1321 SHA-1,256,512 Secure Hashing Algorithm SHA-1, SHA-256 and SHA-512 11 XML signatures XML Signature Digital Signature in XML XML Signature v1.1 draft 12 XML encryption XML Encryption Data Encryption in XML XML Encryption v1.1 draft 13 XML security assertion mark-up SAMLv1 Security Assetion Markup Language version 1 SAMLv2 Security Assetion Markup Language version 2 14 Web Services Interoperability Security WS-I Security Basic Security Profile 1.0 15 Digital Certificate X509v3 16 Certificate Signing Request PKCS#10 Certificate Signing Request (CSR) PKCS#10 Version 1.7 17 Personal Information Exchange Syntax Standard PKCS#12 Public Key Cryptography Standard Number 12 Personal Information PKCS#12 Version 1.0 18 Cryptographic Token Interface Standard PKCS#11 Public Key Cryptography Standard Number 11 Token Interface PKCS#11 Version 2.20 19 The Distinguished Encoding Rules of ASN.1 CER Canonical Encoding Rules X.690 DER Distinguished Encoding Rules ดร. สมนึก คีรีโต 27
7.หมวดมาตรฐานเปิดอื่นๆ ลำดับที่ วัตถุประสงค์การนำไปใช้ ชื่อย่อ ชื่อเต็ม 1 ขั้นตอนการพัฒนาระบบงาน UMM UN/CEFACT Modeling Methodology V20030922 2 การจัดทำมาตรฐานข้อมูล CCTS Core Component Technical Specification CCTS V2.0 3 การจัดทำ XML Schema XML NDR XML Naming and Design Rules ดร. สมนึก คีรีโต 28
หัวข้อที่นำเสนอ “กรอบนโยบายเพื่อส่งเสริม” การพัฒนา ระบบรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (e-Government) ที่มีการแลกเปลี่ยนทั้งข้อมูล และธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ระหว่างหน่วยงาน (e-GIF: e-Government Interoperability Framework) “กรอบแนวทางการเชื่อมโยงรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ของประเทศไทย เวอร์ชั่น 2.0” (TH e-GIF) ข้อเสนอในการปรับปรุง 2 ส่วนหลัก มาตรฐานเทคนิคเพื่อการแลกเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ กรอบแนวทางการเชื่อมโยงรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์แห่งชาติ ในภาพรวม
หลักเกณฑ์ 6 ประการ ในการพิจารณาคัดเลือกมาตรฐานทางเทคนิคเพื่อการเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข้อมูลและธุรกรรมระหว่างระบบ Open – มาตรฐานที่ได้รับการพัฒนาอย่างเปิดเผย และ มีการเผยแพร่องค์ความรู้นั้นโดยไม่ปิดกั้น Mature – เป็นมาตรฐานที่ได้พัฒนาจนเป็นที่ยอมรับ และ มีการทดสอบและพิสูจน์ว่าใช้งานได้จริงมาระยะหนึ่งแล้ว Internationally accepted – มาตรฐานนั้นที่เป็นยอมรับอย่างกว้างขวางในระดับสากล Easily deployable – มาตรฐานที่สามารถนำไปพัฒนาได้ง่าย ไม่ติดขัดในเรื่องลิขสิทธิ์หรือไม่ติดขัดด้านเงื่อนไขในการใช้งาน Well supported in the market place –เป็นมาตรฐานที่มี ผลิตภัณฑ์สนับสนุนหลากหลายให้เลือกได้ในท้องตลาด Relevant to the needs of the country – มีความสอดคล้องกับความต้องการ และมีประโยชน์ต่อการใช้งานของประเทศ เช่น มาตรฐานเกี่ยวกับภาษาไทย หรือมาตรฐานที่เสริมกรอบแนวทางของประเทศที่เกี่ยวข้อง บทความชื่อ “e-Government Interoperability: a comparative studies of 30 countries” โดยหน่วยงาน CS Transform ได้นำเสนอการเปรียบเทียบ National eGIF ของ 30 ประเทศ ทั้งในด้านเนื้อหา ข้อดี ข้อจำกัด และการประยุกต์ใช้
มาตรฐานทางเทคนิคใน TH e-GIF v2.0* แบ่งเป็น 7 หมวด (132 รายการ) หมวดมาตรฐานโปรโตคอลการเชื่อมโยง หมวดมาตรฐานการแลกเปลี่ยนข้อมูล หมวดมาตรฐานรูปแบบการจัดเก็บและนำเสนอข้อมูล หมวดบริการผ่านเว็บเซอร์วิสเทคโนโลยี หมวดบริการด้านธุรกรรม หมวดมาตรฐานความมั่นคงปลอดภัย หมวดมาตรฐานเปิดอื่นๆ * TH e-GIF v2.0 พัฒนาขึ้นในปี 2553
การพิจารณา ทบทวนและปรับปรุง รายการมาตรฐานเทคนิคฯ ของ TH e-GIF v2.0 สำรวจศึกษา วิเคราะห์ และดำเนินการรับฟังความคิดเห็นเพื่อการทบทวน และปรับปรุง รายการมาตรฐานทางเทคนิคเพื่อการเชื่อมโยงข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐ โดยให้ดำเนินการศึกษาเปรียบเทียบกับต่างประเทศ อย่างน้อย 4 ประเทศ
หลักเกณฑ์ในการพิจารณาเลือกประเทศเพื่อการเปรียบเทียบ เลือกประเทศที่มีการดำเนินงานที่ชัดเจนในการพัฒนา การเชื่อมโยงข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ประเทศที่เปิดโอกาสให้หน่วยงานทุกภาคส่วนทั้งรัฐบาลและ เอกชนมีส่วนร่วม ประเทศที่มีการจัดทำเอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเชื่อมโยง ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์อย่างเปิดเผย ประเทศที่มีการกำกับดูแลรวมถึงการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์และ การมีส่วนร่วมในการปฏิบัติงานภายในภาครัฐและเอกชน ประเทศที่มีกระบวนการกำกับดูแล ทบทวนและปรับปรุงมาตรฐาน ที่ประกาศใช้งานและมาตรฐานใหม่ที่ควรประกาศใช้งานเพิ่มเติม อย่างสม่ำเสมอ เลือกประเทศตัวแทนจากหลากหลายภูมิภาค และให้มีประเทศ เพื่อนบ้านใกล้เคียงเพื่อเปรียบเทียบด้วย
กลุ่มประเทศที่มีการทบทวนปรับปรุงกรอบแนวทางฯ และ มาตรฐานเทคนิคฯ เป็นระยะอย่างต่อเนื่อง คณะทำงานฯ พิจารณาเลือกประเทศที่จะนำมาเปรียบเทียบกับมาตรฐานเทคนิคฯ ของประเทศไทย โดยให้น้ำหนักกับประเทศที่มีกระบวนการกำกับดูแล ทบทวนและปรับปรุงมาตรฐานที่ประกาศใช้งานและมาตรฐานใหม่ที่ควรประกาศใช้งานเพิ่มเติมอย่างสม่ำเสมอ http://www.cstransform.com/resources/white_papers/eGIFgovernanceV1.0.pdf
ประเทศที่คัดเลือกและ เอกสารมาตรฐานเทคนิคฯ ที่นำมาพิจารณาเปรียบเทียบ เวอร์ชั่นของเอกสารมาตรฐานเทคนิคฯ อังกฤษ เวอร์ชั่น 6.2 (ทบทวนล่าสุดเมื่อ กันยายน 2548 ) เขตเศรษฐกิจพิเศษฮ่องกง เวอร์ชั่น 10.0 (ทบทวนล่าสุดเมื่อ ธันวาคม 2554 ) มาเลเชีย เวอร์ชั่น 1.0 (ทบทวนล่าสุดเมื่อ สิงหาคม 2551) บราซิล เวอร์ชั่น 2012 (ทบทวนล่าสุดเมื่อ พฤศจิกายน 2554) ออสเตรเลีย เวอร์ชั่น 2.0 (ทบทวนล่าสุดเมื่อ กรกฎาคม 2548) นิวซีแลนด์ เวอร์ชั่น 3.3 (ทบทวนล่าสุดเมื่อ กุมภาพันธ์ 2551)
สรุปการวิเคราะห์เปรียบเทียบ รายการมาตรฐานเทคนิคฯ กับอีก 6 ประเทศ ลำดับ หมวดมาตรฐานเทคนิค จำนวนมาตรฐาน TH e-GIF 2.0 จำนวนรายการมาตรฐานเทคนิคฯ สอดคล้องอย่างน้อย 3 ประเทศ สอดคล้อง 1 ถึง 2 ประเทศ ไม่เหมือนกับประเทศตัวอย่าง 1 มาตรฐานการเชื่อมโยง 26 14 10 2 มาตรฐานการแลกเปลี่ยนข้อมูล 7 - 3 มาตรฐานรูปแบบการจัดเก็บและนำเสนอ 47 36 8 4 มาตรฐานบริการผ่านเว็บเซอร์วิส 9 5 มาตรฐานด้านธุรกรรม 11 6 มาตรฐานความมั่นคงปลอดภัย 29 23 มาตรฐานเปิดอื่นๆ 132 96 24 12
ร้อยละความสอดคล้องของมาตรฐานเทคนิคฯ ไม่เหมือนกลุ่มประเทศตัวอย่าง ร้อยละ 9 ความสอดคล้อง 1 หรือ 2 ประเทศ ร้อยละ 18 สอดคล้องอย่างน้อย 3 ประเทศ ร้อยละ 73
A. ข้อเสนอการปรับปรุง “มาตรฐานเทคนิคฯ” ของ TH e-GIF เวอร์ชั่นใหม่ (1/4) เสนอให้ยังคงรายการมาตรฐาน 132 รายการเดิมไว้ เนื่องจาก มีความสอดคล้องกับรายการมาตรฐานใน e-GIF ของประเทศชั้นนำของโลก ส่วนที่แตกต่างจากของประเทศอื่นนั้น เป็นความต้องการเฉพาะของประเทศไทย (12 รายการ) LDAP v2 (เราประกาศ LDAP v3 แล้ว) TGL – Thai Government Language Protocol PS – Post Script WMF – Window Media Format v11 H264 - VDO Compression Standard GeoTIFF – Tagged Image File Format including geospatial information ISO-19115-2:2009 – Geospatial Metadata KML – Keyhole Markup Language IMG – Erdas Imagine IMG and MIS formats SHP – ESRI Shape file format CER – Canonical Encoding Rules X.690 DER – Distinguished Encoding Rules X.690 หมวด Interconnection หมวด Storage & Presentation หมวด business service ด้านข้อมูลแผนที่ หมวด Security
A. ข้อเสนอการปรับปรุง “มาตรฐานเทคนิคฯ” ของ TH e-GIF เวอร์ชั่นใหม่ (2/4) เสนอให้เพิ่มรายการมาตรฐานเทคนิคฯ 2 รายการ (เนื่องจากประเทศที่นำมาเปรียบเทียบอย่างน้อย 3 ประเทศ* กำหนดเป็นมาตรฐานประเทศ และ เป็นส่วนที่เกี่ยวกับสำหรับการจัดการด้านลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ และการตรวจสอบสิทธิ์ที่มีความสำคัญในการประยุกต์ใช้งาน) คือ XML-Key Management Specification (XKMS 2.0)* สำหรับใช้ในการเข้ารหัส XML ด้วย PKI เสนอให้อยู่ในหมวดมาตรฐานความมั่นคงปลอดภัย (Security Specification) XACML (Extensible Access Control Markup Language)** สำหรับใช้ในการตรวจสิทธิ 4 ลักษณะคือ แบบหัวข้อโดยจะใช้ได้ เพียงแต่ attribute ที่ได้สิทธิ แบบเป้าหมายจะเป็นการใช้เอกสาร XML ชุดที่กำหนดให้ตามสิทธิ แบบการอนุญาตเป็นการกำหนดสิทธิ การอ่าน เขียน การสร้างเอกสาร การลบเอกสาร แบบการจัดหาเป็น การตรวจสอบสิทธิที่ต้องมีการใช้หนังสือรับรองอื่นอีกในการเรียกใช้ งานเอกสารนั้น * อังกฤษ ฮ่องกง และ บราซิล ** อังกฤษ ฮ่องกง และ นิวซีแลนด์
A. ข้อเสนอการปรับปรุง “มาตรฐานเทคนิคฯ” ของ TH e-GIF เวอร์ชั่นใหม่ (3/4) เสนอให้เพิ่มรายการมาตรฐานเทคนิคฯ ที่เกี่ยวกับ ไบโอแมทริกซ์ (Biometric) เช่น ISO/IEC 19794 ซึ่งเป็นมาตรฐานในการจัดเก็บข้อมูลไบโอแมทริกซ์ (Common Biographic Data Format) อย่างน้อย Part 1,2,4 คือ Part 1: Framework Part 2: Finger Minutiae Data Part 4: Data record interchange format for storing, recording, and transmitting the information from one or more finger or palm image ทั้งนี้เนื่องจากข้อมูลด้าน Finger Print และความสามารถในการจัดเก็บและแลกเปลี่ยน ข้อมูล finger print เป็นนโยบายสำคัญของประเทศไทย และในกรอบความ ร่วมมือของอาเซียน ประกอบกับมาตรฐาน ISO 19794 ได้มีการพัฒนาและ ยอมรับเป็นมาตรฐานสากลมาตั้งแต่ปี 2005 อื่นๆ อยู่ในระหว่างการพิจารณา (โครงการที่ปรึกษา Biometric ก.ไอซีที)
A. ข้อเสนอการปรับปรุง “มาตรฐานเทคนิคฯ” ของ TH e-GIF เวอร์ชั่นใหม่ (4/4) ขอความคิดเห็นเกี่ยวกับ Cloud Computing Interoperability ว่าควรจะมีการเสนอแนะให้ใช้มาตรฐานอะไร หรือไม่ ใน TH e-GIF อื่นๆ
ข้อคิดเห็น จะมีมาตรฐานในการเชื่อมโยงตามมาตรฐานที่สอดคล้องกันในอาเซียน ควรตรวจสอบว่า JPEG 2000, H264, ISO 19794-Part 3…. เสียค่าลิขสิทธิ์ในการใช้งานหรือไม่ ISO/IEC JTC-1/SC-38: working group ด้านกำลังพิจารณาด้าน Distribute Platform and Services ISO/IEC JTC-1/SC-37: กำลังพิจารณาด้าน Biometric Std ตัวอย่างโครงการที่ปรึกษาฯ ก.ไอซีที (ดร.วุฒิพงษ์) เกี่ยวกับ Biometric Applications รายการมาตรฐานบางตัว อาจมีเวอร์ชั่นใหม่ เช่น ควรปรับให้มี tag ว่าบางตัว recommend ให้ใช้เวอร์ชั่นไหน ด้วยหลักคิดอย่างไร บางตัวเป็น หมวด emerging std ควรพิจารณา revise เวอร์ชั่น มาตรฐานบางตัว มีรายละเอียดมาก – ควรแนะนำด้วยว่าจะใช้อย่างไร จะมีมาตรฐานในการเชื่อมโยงตามมาตรฐานที่สอดคล้องกันในอาเซียน WS Privacy ความสำคัญ และ การจัดทำ Data Standard & Data Mapping
ข้อคิดเห็น น่าจะกำหนดมาตรฐานรายการข้อมูล – ชื่อ ที่อยู่ รหัสหมู่บ้าน รหัสตำบล รหัสอำเภอรหัสจังหวัด – โดยควรจะมีการกำหนดวิธีการ maintain และคู่มือการใช้งาน การกำหนด “รหัสมาตรฐาน” ในด้านต่างๆ เช่น Product Codes/Harmonize Codes – กรมศุลกากร เจ้าภาพ Code Classification ของประเภทอุตสาหกรรม (CPC + Harmonized Code) – ก.ไอซีที เจ้าภาพ รหัสมาตรฐานอาชีพ – กรมการจัดหางาน+สศช เจ้าภาพ จะวัดผลความสำเร็จของ TH e-GIF อย่างไร หน่วยงานไหนนำไปใช้บ้าง แต่ละ application domain นำตัวไหนไปใช้บ้าง
ข้อคิดเห็น โจทย์ปัญหาหลัก ไม่ใช่ทางเทคนิค ควรจะดำเนินการแบบ Top Down–ไม่ใช่เพียง bottom up เท่านั้น TH e-GIF ไม่มีความจำเป็นที่จะต้อง “สร้างมาตรฐานใหม่” จะนำเสนอเนื้อหาอย่างไร ให้เหมาะกับ Viewpoints สำหรับแต่ละระดับ ผู้บริหารระดับนโยบาย ผู้บริหารระดับปฏิบัติการ ผู้ปฏิบัติงาน นักวิเคราะห์ระบบ วิศวกรคอมพิวเตอร์ และนักพัฒนาไอที TH e-GIF น่าจะมีการเสนอ “สิ่งที่อาจะผิดพลาด หลุมพราง หรือ ข้อควรระวัง” (Things to Avoid, Pitfalls, etc) ทะเบียนกลาง แหล่งรวบรวมมาตรฐานรายสาขา และบันทึกบทเรียน
หัวข้อที่นำเสนอ “กรอบนโยบายเพื่อส่งเสริม” การพัฒนา ระบบรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (e-Government) ที่มีการแลกเปลี่ยนทั้งข้อมูล และธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ระหว่างหน่วยงาน (e-GIF: e-Government Interoperability Framework) “กรอบแนวทางการเชื่อมโยงรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ของประเทศไทย เวอร์ชั่น 2.0” (TH e-GIF) ข้อเสนอในการปรับปรุง 2 ส่วนหลัก ข้อเสนอมาตรฐานเทคนิคเพื่อการแลกเปลี่ยน ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ กรอบแนวทางการเชื่อมโยงรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์แห่งชาติ ในภาพรวม
B. ข้อเสนอการปรับปรุง กรอบแนวทาง TH e-GIF ในภาพรวม (1/2) การปรับเนื้อหา “กรอบแนวทาง” ให้เข้าใจได้ง่ายขึ้น โดย เน้นความสำคัญว่า TH e-GIF เป็นกรอบแนวทางเชิงนโยบาย ไม่ใช่ข้อเสนอทางเลือกทางเทคนิค เท่านั้น เพิ่มเนื้อหาความชัดเจน ขององค์ประกอบเพื่อความสำเร็จ 6 ด้าน คือ การขับเคลื่อนด้านนโยบาย และการสนับสนุนทรัพยากร (Political Will) การขับเคลื่อนความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน และการขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงเชิงสังคม และการสร้างความคุ้นเคย (Inter-agency Collaboration & Social/Cultural Change) การปรับปรุงด้านระเบียบปฎิบัติ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง (Legal Power) การวิเคราะห์เสนอ และเห็นชอบร่วมกันในกระบวนการทำงานในขั้นตอนแบบใหม่ (Process Agreement) การวิเคราะห์เสนอ และเห็นชอบร่วมกันความหมายของรายการข้อมูลที่จะแลกเปลี่ยนกัน (Meaning Exchange Agreement) การพัฒนาระบบด้านเทคนิคไอซีทีตามข้อตกลงข้างต้น (Technical Development)
B. ข้อเสนอการปรับปรุง กรอบแนวทาง TH e-GIF ในภาพรวม (2/2) การเพิ่มเนื้อหาแนะนำ “วิธีการบริหารโครงการ” (Project Management) การพัฒนาระบบรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์(โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่มีนวัตกรรมค่อนข้างมาก มีหน่วยงานเกี่ยวข้องและขนาดใหญ่) โดยควรดำเนินการอย่างเป็นระบบใน 5 ระยะ คือ ขั้นการวิเคราะและกำหนดทิศทางเบื้องต้น (Inception) ขั้นวิเคราะห์ออกแบบ และตกลงร่วมกันในความเป็นไปได้ในรายละเอียด (Elaboration) ขั้นการวางแผนการพัฒนา (Planning) ขั้นการสร้างระบบ (Construction) ขั้นการบริหารการเปลี่ยนแปลง และการขับเคลื่อนให้มี การใช้งานจริง (Adoption)
5 ขั้นตอนการบริหารจัดการโครงการ e-Gov (1/3) ระยะที่ ๑ - ระยะการศึกษาความเป็นไปได้ และกำหนดทิศทางในเบื้องต้น (Inception Phase - for Initial Concept Direction) การดำเนินการในระยะนี้เพื่อการศึกษาวิเคราะห์ กำหนดแนวทางทิศทาง และเห็นชอบร่วมกันระหว่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในขอบเขตความต้องการที่เหมาะสมและที่มีความเป็นไปได้ในเบื้องต้น ระยะที่ ๒ - ระยะการศึกษาวิเคราะห์ กำหนดรายละเอียดความต้องการ และออกแบบรูปแบบสถาปัตยกรรมระบบที่มีความเป็นไปได้ในระดับลึก (Elaboration Phase - Detailed Blueprint Design) เพื่อการศึกษาวิเคราะห์ ออกแบบ และเห็นชอบร่วมกันระหว่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในขอบเขตความต้องการในรายละเอียด ทั้งในด้าน "กระบวนการใหม่" (To-be Business Process) "รูปแบบของเอกสารและข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์แบบใหม่" "ความเป็นไปได้ในการใช้ระบบสารสนเทศและการแลกเปลี่ยนเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งความเป็นไปได้ในเชิงกฎหมาย กฎระเบียบ การปฎิบัติงานแบบใหม่ มาตรฐานและองค์ประกอบทางเทคโนโลยีที่จะใช้" และ "การออกแบบสถาปัตยกรรมระบบไอทีรวมทั้งคุณลักษณะและฟังก์ชั่นการใช้งานหลักของระบบย่อยต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง (Application Architecture)"
5 ขั้นตอนการบริหารจัดการโครงการ e-Gov (2/3) ระยะที่ ๓ - ระยะการจัดทำข้อกำหนดความต้องการด้านเทคนิคในรายละเอียด แผนงานและงบประมาณด้านการพัฒนาระบบฮาร์ดแวร์ และ ซอฟต์แวร์ (Planning Phase - for Detailed Construction) หลังจากที่มีการออกแบบและเห็นชอบร่วมกันในกระบวนการใหม่ ตลอดไปจนถึงการออกแบบสถาปัตยกรรมระบบที่ต้องการอย่างชัดเจนในระยะที่ ๒ แล้ว เราจึงจะมีข้อมูลเพียงพอในการลงรายละเอียดของข้อกำหนดความต้องการด้านเทคนิค ทั้งขนาด ความสามารถด้านประสิทธิภาพ จำนวนของฮาร์ดแวร์และข้อกำหนดซอฟต์แวร์ของโปรแกรมประยุกต์ต่างๆ ในรายละเอียด เพื่อพร้อมที่จะดำเนินการจัดซื้อจัดจ้าง การติดตั้ง และการก่อสร้างพัฒนาระบบใหม่ในลำดับต่อไป ระยะที่ ๔ - ระยะการพัฒนาและติดตั้งระบบไอที (Construction Phase - for IT Implementation) ขั้นตอนการลงรายละเอียดการออกแบบ การพัฒนา และติดตั้งระบบในเชิงเทคนิคทั้งด้านฮาร์ดแวร์ เครือข่าย ซอฟต์แวร์พื้นฐาน และระบบซอฟต์แวร์ประยุกต์
5 ขั้นตอนการบริหารจัดการโครงการ e-Gov (3/3) ระยะที่ ๕ - ระยะการประยุกต์ใช้ระบบใหม่ และ การบริหารการเปลี่ยนแปลง (Adoption Phase - for Change Management) นอกเหนือจากการออกแบบ พัฒนาและติดตั้งระบบที่รองรับกระบวนการใหม่ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศตามที่ดำเนินการในระยะที่ ๔ แล้ว ความสำเร็จของโครงการในภาพรวมยังจะไม่บรรลุผลจนกว่าจะมีกลไกการขับเคลื่อน ที่สำคัญที่สุดประการต่อไป ก็คือ การขับเคลื่อนเชิงองคาพยพที่จะทำให้ทั้งผู้ใช้และผู้เกี่ยวข้องทุกภาคส่วนปรับเปลี่ยนเข้าสู่สภาวะแวดล้อมใหม่ กระบวนการและระบบใหม่นี้มักจะเริ่มจากผู้ใช้ที่ทดลองใช้งานระบบในช่วงแรกจำนวนไม่มาก ไปสู่การขับเคลื่อนให้เกิดการยอมรับ การจัดฝึกอบรม และการส่งเสริมการใช้งานจริงโดยผู้ใช้ที่มีจำนวนมากขึ้นในลำดับต่อมา การดำเนินการขับเคลื่อนในระยะนี้มักจะรวมถึงการปรับแก้กฎหมาย หรือออกประกาศเพื่อกำหนดกฎระเบียบปฏิบัติใหม่ให้รองรับและสอดคล้องกับระบบใหม่ รวมทั้งมักจะมีการตัดสินใจในเชิงนโยบายและ กำหนดแนวทางปฏิบัติในรายละเอียดอีกหลายด้านควบคู่กันไปด้วย เป็นต้น
แหล่งเผยแพร่ข้อมูลความรู้ TH e-GIF http://egif.mict.go.th/ แหล่งข้อมูลโครงการพัฒนากรอบแนวทางการเชื่อมโยงระบบรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ http://nrr.mict.go.th/ แหล่งข้อมูลทะเบียนกลางเพื่อการเชื่อมโยงรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์แห่งชาติ
ถาม-ตอบ คำถาม ขอขอบคุณ ถาม-ตอบ คำถาม ขอขอบคุณ ดร. สมนึก คีรีโต ผู้อำนวยการ สถาบันนวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ sk@ku-inova.org