ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เรวัต แสงสุริยงค์ การประเมินความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร: ไอซีที (สังคม รัฐบาล องค์การ ครัวเรือน และปัจเจกบุคคล) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เรวัต แสงสุริยงค์
กระบวนการประเมินผลกระทบของโครงการพัฒนา ICT (ICT4D Project Impact Assessment Process ) ทำไม (Why): อะไรคือเหตุผล (rationale) ในการประเมินผลกระทบ (impact assessment)? สำหรับใคร (For whom): ใครคือกลุ่มเป้าหมาย (intended audience) ในการประเมินผลกระทบ? อะไร (What): อะไรคือสิ่งที่ต้องการวัด (measured)? อย่างไร 1 (How 1): มีวิธีการเลือกดัชนี (indicators) สำหรับวัดอย่างไร ? เมื่อใด (When): อะไรคือจุดสำคัญ (point) ในดัชนีที่อยู่ในกระบวนการดำเนินการ (lifecycle) ของโครงการที่ต้องทำการวัด? อย่างไร 2 (How 2): มีวิธีการรายงานผล (results) การเผยแพร่ (disseminated) และการนำไปใช้ (used) จากการประเมินผลกระทบอย่างไร ? ทำไม (Why?) สำหรับใคร (For Whom?) อะไร (What?) อย่างไร (How?) (1) เมื่อไหร่ (When?) อย่างไร (How?) (2) นำร่อง&ปฏิบัติ (Pilot & Action) ที่มา: Heeks, Richard and Molla, Alemayehu. 2008. Compendium on Impact Assessment of ICT-for-Development Projects
ห่วงโซ่ของการพัฒนา ICT (The ICT4D Value Chain) ความพร้อม (Readiness): "e-readiness" ประเมินระบบที่มีอยู่ก่อนแล้ว/สิ่งที่ต้องทำก่อน (systemic prerequisites) การเริ่มต้นการพัฒนา เช่น ICT infrastructure, ICT skills, ICT policies, และอื่นๆ. การประเมินในขั้นนี้สามารถนำไปใช้เป็นกลยุทธ์ (strategy) ในการกำหนดโครงการว่ามีและไม่มีอะไร และต้องมีสิ่งใดเพิ่มเติมที่จะใส่เข้าไปในระบบ (input) ความสามารถในการใช้งาน (Availability): การเริ่มดำเนินโครงการ โดยนำเอาปัจจัยนำเข้าเข้าสู่ระบบ ทำให้เกิดผลผลิตที่เป็น ICT ที่สามารถใช้งานได้ สามารถเข้าถึงได้ (assess) และเป็นทรัพยากรที่สามารถใช้งานร่วมกันได้ (intermediate resources) การยกระดับ (Uptake): ประเมินผลจากการดำเนินโครงการว่า มีการใช้โดยกลุ่มเป้าหมายหรือไม่ ความยั่งยืน (sustainability) ในการใช้ และศักยภาพ (potential)หรือผลประโยชน์ (actuality) ที่ได้รับเพิ่มขึ้น (scaling-up) ผลกระทบ (Impact): เน้นการประเมินผลกระทบที่แท้จริงจากโครงการ ใน 3 ส่วน ดังนี้ ผลผลิต (Outputs): ความสัมพันธ์ระหว่างการเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรม (behavior change) ระดับเล็กกับการพัฒนาโครงการ ผลลัพธ์ (Outcomes): ความสัมพันธ์ระหว่างค่าใช้จ่าย (cost) และผลประโยชน์ (benefit) กับการพัฒนาโครงการ ผลกระทบของการพัฒนา (Development Impacts): ผลของการพัฒนาโครงการกับเป้าหมายการพัฒนาในระดับกว้าง (broader development goals) สิ่งที่มีอยู่แล้ว (Precursors) -ระบบข้อมูล (Data systems) -กฎหมาย (Legal) -สถาบัน (Institutional) -มนุษย์ (Human) -เทคโนโลยี (Technological) -ผู้นำ (Leadership) -การขับเคลื่อน/ความต้องการ (Drivers/Demand) ปัจจัยนำเข้า (Inputs) -เงิน (Money) -แรงงาน (Labour) -เทคโนโลยี (Technology) -ค่านิยมและแรงจูงใจ (Values and Motivations) -การสนับสนุนทางการเมือง (Political support) -เป้าหมาย (Targets) ระบบงานของส่วนรวม (Intermediates /Deliverables) -ศูนย์บริการสารสนเทศ (Telecentres) -ห้องสมุด (Libraries) -ระบบโทรศัพท์ส่วนรวม (Shared telephony) -ระบบการเข้าถึงของสาธารณะ (Other public access systems) ผลผลิต (Outputs) -รูปแบบการสื่อสารแบบใหม่ๆ (New Communication Patterns) -การตัดสินใจและสารสนเทศใหม่ๆ (New Information & Decisions) -การทำธุรกรรมและการกระทำใหม่ๆ (New Actions & Transactions) ผลลัพธ์ (Outcomes) -การเงินและอื่นๆ (Financial & other) -ผลประโยชน์เชิงปริมาณ (Quantitative benefits) -ผลประโยชน์เชิงคุณภาพ (Qualitative benefits) -ความไม่มีประโยชน์ (Disbenefits) ผลกระทบของการพัฒนา (Development Impacts) -Public goals (e.g. MDGs) กลยุทธ์ (Strategy) การดำเนินการ (Implementation) การยอมรับ (Adoption) ใช้ (Use) ปัจจัยภายนอก (Exogenous Factors) ความพร้อม (READINESS) การยกระดับ (UPTAKE) ผลกระทบ (IMPACT) ความสามารถใช้งาน (AVAILABILITY) ความยั่งยืน (Sustainability) ความสามารถในการขยายตัว (Scalability) ที่มา: Heeks, Richard and Molla, Alemayehu. 2008. Compendium on Impact Assessment of ICT-for-Development Projects
ขั้นตอนของการเปลี่ยนแปลงการพัฒนาไอซีที เวลา (Time) ความพร้อม (Readiness) - ความตะหนักรู้ (Awareness) - โครงสร้างพื้นฐาน(Infrastructure) - ความเหลื่อมล้ำฯ (Digital Divide) การยกระดับ (Uptake) - ความต้องการ (Demand) - การใช้งาน (Usage) - การแบ่งปัน (Use Divide) ผลกระทบ (Impact) - ประสิทธิภาพ (Efficiency) - ความมีประสิทธิผล (Effectiveness) - ความเท่าเทียม (Equity) ความสามารถในการใช้งาน (Availability) - ปริมาณสินค้าและบริการ (Supply) - ระดับของความสมบูรณ์ (Maturity Stage) ระดับของกิจกรรมการพัฒนาไอซีที (Level of ICT4D Activity) ที่มา: Heeks, Richard and Molla, Alemayehu. 2008. Compendium on Impact Assessment of ICT-for-Development Projects
วิธีการประเมินผลเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT Measurement Methods) การประยุกต์ใช้สารสนเทศเชิงเศรษฐศาสตร์ (Applied Information Economics) วิธีการ (method) ทางคณิตศาสตร์ (mathematical) และวิทยาศาสตร์ (scientific) www.hubbardross.com ลิขิตสมดุล (Balanced Scorecard) การวัดทางการเงินแบบเดิมโดยใช้โดยใช้ดัชนีสมรรถนะหลัก (KPIs) มุมมองของผู้ใช้บริการ (customer perspectives) ความก้าวหน้าขององค์การ (org growth) การเรียนรู้ (learning) และนวัตกรรม (innovation) www.bscol.com การเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจ (Economic Value Added) EVA = กำไรสุทธิจากการดำเนินงาน (Net Operating Profit) หลังหักภาษี (after tax) - [ Capital x Cost of Capital ] www.sternsteward.com มูลค่าต้นทุนทางเศรษฐกิจ (Economic Value Sourced) ความเสี่ยง (risk) และเวลา (time) รวมกัน (incorporates) ในสมการมูลค่า (valuation equation) www.metagroup.com การจัดการการลงทุน (Portfolio Management) www.metricnet.com, www.metagroup.com การเลือกตามที่เห็นว่ามีค่าอย่างแท้จริง (Real Option Valuation: ROV) การคำนวณผลรวม (incorporates calculations) ตามความสะดวก (flexibility) ของบรรษัท - Black & Scholes Model
การประเมินผลความสำเร็จ (Successful Measures) การประเมินผลความสำเร็จการดำเนินการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ/ระบบสารสนเทศ (Successful measures of IT/IS implementation) การกระจายของเทคโนโลยี (Technology diffusion) – วัดการแพร่กระจายออกไป (propagation) ของเทคโนโลยีสารสนเทศ การแทรกซึม/หลอมรวมของเทคโนโลยี (Technology infusion) – การขยายตัวของเทคโนโลยีเข้าไปยังหน่วยงานต่าง ๆ การยอมรับเทคโนโลยี (Technology Acceptance Model: TAM) - การยอมรับและนำเอาเทคโนโลยีสารสนเทศไปใช้ประโยชน์ของประชาชน What is the first thing when you get up in the morning?
การเติบโตของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (growth in ICTs) Here is an example of what ITU data can show and how they can be used to help identify trends and telecommunication/ICT developments. We see here the rapid growth of the mobile sector and the number of mobile subscribers overtaking the number of fixed lines at the beginning of this century. Figures are presented to show global trends but are of course also available by region, by country and for other classifications/categories, SUCH AS by income level. Source: World Telecommunication Indicators Database
การวัดความเป็นดิจิทัล (Digitalization Measurement) กำหนดปัจจัยของความเป็นดิจิทัล (Definition of the factors of digitalization) กำหนดพื้นที่เชิงภูมิศาสตร์ (Identification of geographical areas) รวบรวมดัชนีพื้นฐาน (Collection of elementary indicators) สังเคราะห์ดัชนี (Synthesis of the indicators) คำนวณการกระจาย (Computation of the dispersion) มิติของความเป็นดิจิทัล (Dimensions of digitalization) บริบทของความเป็นดิจิทัล (Context of Digitalization) ปัจจัยนำเข้าความเป็นดิจิทัล (Input of digitalization) ค่าความเป็นดิจิทัล (Value of digitalization) ช่องว่างของความเป็นดิจิทัล (Asymmetry of digitalization) ความเหลือมล้ำด้านดิจิทัล (Digital divide) การตลาด (Markets) การกระจาย (Diffusion) โครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructures) ทรัพยากรมนุษย์ (Human resources) ความสามารถทางการแข่งขัน (Competitiveness) การแข่งขัน (Competition) Finland France Germany Italy Japan Norway Spain Sweden UK USA ดัชนีพี้นฐาน 36 ตัว (36 Elementary Indicators)
ดัชนีพื้นฐานของความเป็นดิจิทัล #1 (Elementary indicators of digitalization) การตลาด (Markets) สัดส่วนมูลค่าการตลาดด้านฮาร์ดแวร์ของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (Share of IT hardware market over GDP) สัดส่วนมูลค่าการตลาดด้านซอฟแวร์ของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (Share of IT software and services market over GDP) สัดส่วนมูลค่าการตลาดด้านอุปกรณ์โทรคมนาคมต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (Share of telecommunications equipment market over GDP) สัดส่วนมูลค่าการตลาดด้านการบริการโทรคมนาคมต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (Share of telecommunications services market over GDP) ค่าใช้จ่ายการใช้ออนไลน์ต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (On-line consumer expenditure over GDP)
ดัชนีพื้นฐานของความเป็นดิจิทัล #2 (Elementary indicators of digitalization) การกระจาย (Diffusion) จำนวนเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายต่อประชาชน 1,000 คน (Computer hosts per 1,000 inhabitants) จำนวนผู้ใช้อินเทอร์เน็ตต่อประชาชน 1,000 คน (Internet users per 100 inhabitants) จำนวนร้อยละของผู้ซื้อ WWW ต่อผู้ใช้อินเทอร์เน็ต ( Percentage of WWW buyers over Internet users) จำนวนเครื่องแม่ข่ายการค้าอิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้ระบบการเข้าและถอดรหัสข้อมูลต่อประชาชน 1,000,000 คน (Number of secure WWW servers for electronic commerce per 1,000,000 people: a proxy for the diffusion of the electronic commerce) จำนวนผู้ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ต่อประชาชน 100 คน (Number of mobile subscribers per 100 inhabitants) จำนวนผู้เป็นสมาชิกโทรทัศน์เคเบิล (Number of cable television subscribers) การแพร่กระจายของโดเมนเนมในประเทศต่อจำนวนคน (Diffusion of national domain names per inhabitants) จำนวนครัวเรือนที่มีโทรทัศน์ดิจิทัล (Digital television subscribers among households)
ดัชนีพื้นฐานของความเป็นดิจิทัล #3 (Elementary indicators of digitalization) โครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructures) จำนวนเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลต่อประชาชน 100 คน (Number of PCs per 100 inhabitants) จำนวนอุปกรณ์เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตต่อประชาชน 1,000 คน (Number of devices connected to the Internet per 1,000 inhabitants) จำนวนเครื่องแม่ข่าย WWW ต่อประชาชน 100 คน (Number of WWW servers per 100 inhabitants) จำนวนการใช้โทรศัพท์พื้นฐานต่อประชาชน 100 คน (Number of access lines per 100 inhabitants) จำนวนผู้ใช้ ISDN ต่อประชาชน 1,000 คน (Number of ISDN subscribers per 1,000 inhabitants) อัตราการใช้อินเทอร์ระบบบอร์ดแบน (Penetration of broadband Internet access) จำนวนของเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลต่อจำนวนพนักงาน (Number of PCs per employee: as an indicator of the penetration of the IT infrastructure within firms)
ดัชนีพื้นฐานของความเป็นดิจิทัล #4 (Elementary indicators of digitalization) ทรัพยากรมนุษย์ (Human Resources) สัดส่วนการจ้างงานด้านฮาร์ดแวร์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารต่อจำนวนการจ้างงานรวม (Share of employment in the ICT hardware sector over total employment) สัดส่วนการจ้างงานด้านบริการโทรคมนาคมต่อจำนวนการจ้างงานรวม (Share of employment in the telecommunications services sector over total employment) สัดส่วนการจ้างงานด้านบริการเทคโนโลยีสารสนเทศอื่น ๆ ต่อการจ้างงานรวม (Share of employment in other ICT services over total employment) สัดส่วนค่าใช้จ่ายด้านการศึกษาต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (Share of expenditure on education over GDP) จำนวนร้อยละของประชาชนที่เรียนระดับมหาวิทยาลัย (Percentage of the population with a university degree) จำนวนร้อยละของโรงเรียนที่เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต (Percentage of schools with an Internet connection) จำนวนเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลต่อนักเรียน (Number of PCs per student)
ดัชนีพื้นฐานของความเป็นดิจิทัล #5 (Elementary indicators of digitalization) ความสามารถทางการแข่งขัน (Competitiveness) จำนวนของผู้นำด้านโทรคมนาคม: 100 บริษัทที่มีรายได้สูงสุด (Number of leaders in the telecommunications sector: according to the ranking of the top 100 companies classified by revenues) อันดับโดยเฉลี่ยของผู้นำด้านโทรคมนาคม: ความสัมพันธ์ระหว่างขนาดบริษัทกับอันดับผู้นำด้านโทรคมนาคม (Mean ranking of the above-mentioned leaders: calculated as the relative size of the companies on the basis of the above described ranking) สัดส่วนการลงทุนการวิจัยและการพัฒนาด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Share of research and development investments in the ICT sector) สัดส่วนของสิทธิบัตรต่อจำนวนรวมของการวิจัยและพัฒนาด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Share of ICT patents over total ICT research and development)
ดัชนีพื้นฐานของความเป็นดิจิทัล #6 (Elementary indicators of digitalization) การแข่งขัน (Competition) ค่าใช้จ่ายด้านการบริการโทรคมนาคม (Costs of telecommunications services) ค่าใช้จ่ายการใช้อินเทอร์เน็ต (Internet access cost) อัตราส่วนการกระจุกตัวด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ: สัดส่วนการตลาดของผู้ประกอบการสูงสุด 10 อันดับ (Concentration ratio in the IT sector: market share of the top ten operators) สัดส่วนการตลาดของผู้ค้ารายใหม่ด้านโทรคมนาคมพื้นฐาน (Market share of the new entrants in the fixed telecommunications segment) สัดส่วนการตลาดของผู้ค้ารายใหม่และรายเดิมด้านโทรคมนาคมเคลื่อนที่ (Market share of the incumbent in the mobile telecommunications segment)
ดัชนีสังคมสารสนเทศ #1 (The Information Society Index: ISI) ดัชนีวัดความเป็นสังคมสารสนเทศของ International Data Corporation: IDC มี 4 ด้าน ดังนี้ โครงสร้างพื้นฐานด้านคอมพิวเตอร์ (Computer Infrastructure) จำนวนผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (PCs installed per capita) จำนวนครัวเรือนที่มีการซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์ (Home PCs shipped per household) สัดส่วนการซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ของภาครัฐและเอกชนต่อแรงงานภาคเกษตร (Government and commercial PCs shipped per non-agricultural workforce) จำนวนเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลด้าน การศึกษาต่อจำนวนนักเรียนและผู้สอน (Educational PCs shipped per student and faculty) จำนวนร้อยละของเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วน บุคคลแบบเครือข่ายที่ไม่ได้ใช้ในบ้าน ( Percent of non-home networked PCs) ค่าใช้จ่ายด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ (Software vs. hardware spending) โครงสร้างพื้นฐานด้านสารสนเทศ (Information Infrastructure) จำนวนผู้เป็นสมาชิกเคเบิล (Cable subscribers per capita) จำนวนผู้มีโทรศัพท์เคลื่อนที่ (Cellular phone ownership per capita) ค่าใช้จ่ายการใช้โทรศัพท์ (Cost for phone call) จำนวนผู้มีเครื่องโทรสาร (Fax ownership per capita) จำนวนผู้มีวิทยุ (Radio ownership per capita) อัตราส่วนสายโทรศัพท์ที่ไม่ปกติ (Telephone line error rates) จำนวนครัวเรือนที่มีโทรศัพท์พื้นฐาน (Telephone lines per household) จำนวนผู้มีโทรทัศน์ (TV ownership per capita)
ดัชนีสังคมสารสนเทศ #2 (The Information Society Index: ISI) โครงสร้างพื้นฐานด้านอินเทอร์เน็ต (Internet Infrastructure) จำนวนผู้ใช้อินเทอร์เน็ตภาคธุรกิจต่อ แรงงานที่ไม่ใช่ภาคเกษตร (Business Internet users per non-agricultural workforce) จำนวนผู้ใช้อินเทอร์เน็ตจากบ้านต่อ ครัวเรือน (Home Internet users per household) จำนวนผู้เรียนการใช้อินเทอร์เน็ตของ นักเรียนและผู้สอน (Education Internet users per student and faculty) มูลค่าการซื้อสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ต่อ จำนวนผู้ใช้อินเทอร์เน็ตโดยรวม (eCommerce spending per total Internet users) โครงสร้างพื้นฐานด้านสังคม (Social Infrastructure) เสรีภาพของประชาชน (Civil liberties) จำนวนผู้ซื้อหนังสือพิมพ์ (Newspaper readership per capita) เสรีภาพของสื่อ (Press freedom) จำนวนผู้เรียนระดับมัธยม (Secondary school enrollment) จำนวนผู้เรียนระดับอุดมศึกษา (Tertiary school enrollment)
ดัชนีไอซีทีของการประชุมสหประชาชาติว่าด้วยการค้าและการพัฒนา (United Nations Conference on Trade and Development: UNCTAD) #1 ดัชนีที่สำคัญด้านไอซีที (Core ICT indicators) มี 4 กลุ่ม 42 ดัชนี โครงสร้างพื้นฐานและการเข้าถึง (ICT infrastructure and access) 12 ดัชนี การเข้าถึงและการใช้โดยครัวเรือนและบุคคล (ICT access and use by households and individuals) 14 ดัชนี การเข้าถึงและการใช้โดยผู้ประกอบการ (ICT access and use by enterprises) 12 ดัชนี กลุ่มธุรกิจไอซีทีและการค้าขายสินค้าไอซีที (ICT sector and trade in ICT goods) 4 ดัชนี ดูรายละเอียดที่: http://new.unctad.org/upload/docs/Core%20ICT%20Indicators_Eng.pdf
ดัชนีไอซีทีของการประชุมสหประชาชาติว่าด้วยการค้าและการพัฒนา (United Nations Conference on Trade and Development: UNCTAD) #2 1. โครงสร้างพื้นฐานและการเข้าถึง (ICT infrastructure and access) 12 ดัชนี ดัชนีพื้นฐาน (Basic core): A1: จำนวนโทรศัพท์บ้าน (fixed telephone lines) ต่อ 100 คน (inhabitants) A2: จำนวนหมายเลขโทรศัพท์เคลื่อนที่ (mobile cellular subscribers) ต่อ 100 คน (inhabitants) A3: จำนวนคอมพิวเตอร์ (computers) ต่อ 100 คน (inhabitants) A4: จำนวนสมาชิกอินเทอร์เน็ต (internet subscribers) ต่อ 100 คน (inhabitants) A5: จำนวนสมาชิกอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง (broadband internet subscribers) ต่อ 100 คน (inhabitants) A6: ปริมาณการรับ/ส่งข้อมูลอินเทอร์เน็ตระหว่างประเทศ (international internet bandwidth) ต่อคน (inhabitant) A7: ร้อยละของประชากรที่อยู่ในพื้นที่ (covered) ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ (mobile cellular telephony) A8: อัตราค่าเข้าถึงอินเทอร์เน็ต (internet access tariffs) จำนวน 20 ชั่วโมง/เดือน, ในสหรัฐอเมริกาเป็นดอลล่าร์ ($), และเป็นร้อยละของรายได้ต่อหัว (percentage of per capita Income) A9: อัตราค่าใช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ (mobile cellular tariffs) จำนวน 100 นาที/เดือน, ในสหรัฐอเมริกาเป็นดอลล่าร์ ($), และเป็นร้อยละของรายได้ต่อหัว (percentage of per capita Income) A10: จำนวนร้อยละของท้องถิ่น (localities) ที่มีศูนย์บริการอินเทอร์เน็ตสาธารณะ (public Internet access centres: PIACs) ให้บริการประชาชน (ชนบท/เมือง) ดัชนีเพิ่มเติม (Extended core): A11: จำนวนวิทยุ (radio sets) ต่อ 100 คน (inhabitants) A12: จำนวนโทรทัศน์ (television sets) ต่อ 100 คน (inhabitants) ที่มา: http://new.unctad.org/upload/docs/Core%20ICT%20Indicators_Eng.pdf
ดัชนีไอซีทีของการประชุมสหประชาชาติว่าด้วยการค้าและการพัฒนา (United Nations Conference on Trade and Development: UNCTAD) #3 2. การเข้าถึงและการใช้โดยครัวเรือนและบุคคล (ICT access and use by households and individuals) 14 ดัชนี ดัชนีพื้นฐาน (Basic core): HH1: สัดส่วนของครัวเรือน (households) ที่มีวิทยุ (a radio) HH2: สัดส่วนของครัวเรือน (households) ที่มีโทรทัศน์ (a TV) HH3: สัดส่วนของครัวเรือน (households) ที่มีโทรศัพท์บ้าน (a fixed line telephone) HH4: สัดส่วนของครัวเรือน (households) ทีมีโทรศัพท์เคลื่อนที่ (a mobile cellular telephone) HH5: สัดส่วนของครัวเรือน (households) ที่มีคอมพิวเตอร์ (a computer) HH6: สัดส่วนของบุคคล (individuals) ที่ใช้คอมพิวเตอร์ภายใน 12 เดือนที่ผ่านมา (in last 12 months) HH7: สัดส่วนของครัวเรือน (households) ที่มีการเข้าถึงอินเทอร์เน็ตจากที่บ้าน (at home) HH8: สัดส่วนของบุคคล (individuals) ที่มีการใช้อินเทอร์เน็ตภายใน 12 เดือนที่ผ่านมาจากทุกที่ (any location in the last 12 months) HH9: สถานที่ (location) ที่บุคคล (individuals) ใช้อินเทอร์เน็ตภายใน 12 เดือนที่ผ่านมา (last 12 months) ได้แก่ บ้าน ที่ทำงาน สถานศึกษา บ้านคนอื่นๆ อินเทอร์เน็ต ชุมชน (community internet) อินเทอร์เน็ตคาเฟ่ (commercial internet) และอื่นๆ HH10: กิจกรรมการใช้งานอินเทอร์เน็ตภายใน 12 เดือนที่ผ่านมา (in the last 12 months) ดังนี้ การเข้าถึงสารสนเทศ (information) เกี่ยวกับสินค้าหรือบริการ สุขภาพและบริการด้านสุขภาพ เว็บไซต์หรืออีเมล์ของหน่วยงานภาครัฐ และสารสนเทศอื่นๆหรือท่องเว็บทั่วไป (general Web browsing) การสื่อสาร (communication) ซื้อ (purchasing) หรือสั่ง (ordering) สินค้าหรือบริการ การเงินการธนาคารผ่านอินเทอร์เน็ต (internet banking) กิจกรรมการเรียนและการศึกษา กิจกรรมยามว่าง (leisure activities) ได้แก่ การเล่น/ดาวโหลดวีดีโอและคอมพิวเตอร์เกม ดาวโหลดเพลง ภาพยนตร์ และซอฟต์แวร์ อ่าน/ดาวโหลดหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ หนังสื่อพิมพ์หรือหนังสือวารสาร และอื่นๆ ดัชนีเพิ่มเติม (Extended core): HH11: สัดส่วนของของบุคคล (individuals) ที่ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ (a mobile telephone) HH12: สัดส่วนของครัวเรือน (households) กับประเภทการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต (type of access) ได้แก่ ความเร็วต่ำ (narrowband) เช่น Dial-up modem ISDN และโทรศัพท์เคลื่อนที่แบบ 2G ความเร็วสูง (broadband) ความเร็วอย่างน้อย 256 kbit/s HH13: ความถี่ของบุคคล (individuals) ในการเข้าถึงอินเทอร์เน็ตจากทุกที่ภายใน 12 เดือนที่ผ่านมา (in last 12 months) 1 ครั้ง/วัน 1 ครั้ง/สัปดาห์ แต่ไม่ทุกวัน 1 ครั้ง/เดือน แต่ไม่ทุกสัปดาห์ น้อยกว่า 1 ครั้ง/เดือน ที่มา: http://new.unctad.org/upload/docs/Core%20ICT%20Indicators_Eng.pdf
ดัชนีไอซีทีของการประชุมสหประชาชาติว่าด้วยการค้าและการพัฒนา (United Nations Conference on Trade and Development: UNCTAD) #4 3. การใช้อินเทอร์เน็ตของภาคธุรกิจ (Use of ICT by businesses) 12 ดัชนี ดัชนีพื้นฐาน (Basic core): B1: สัดส่วนของภาคธุรกิจ (businesses) ที่ใช้คอมพิวเตอร์ (computers) B2: สัดส่วนของพนักงาน (employees) ที่ใช้คอมพิวเตอร์ (computers) B3: สัดส่วนของภาคธุรกิจ (businesses) ที่ใช้อินเทอร์เน็ต (internet) B4: สัดส่วนของพนักงาน (employees) ที่ใช้อินเทอร์เน็ต (internet) B5: สัดส่วนของภาคธุรกิจ (businesses) ที่ใช้เว็บเผยแพร่ข้อมูล (web presence) B6: สัดส่วนของภาคธุรกิจ (businesses) ที่ใช้ระบบอินทราเน็ต (intranet) B7: สัดส่วนของภาคธุรกิจ (businesses) ที่ใช้ระบบคำสั่งรับซื้อสินค้า/บริการ (receiving orders) ผ่านอินเทอร์เน็ต B8: สัดส่วนของภาคธุรกิจ (businesses) ที่ใช้ระบบคำสั่งซื้อ/ขายสินค้า/บริการ (placing orders) ผ่านอินเทอร์เน็ต ดัชนีเพิ่มเติม (Extended core): B9: สัดส่วนของภาคธุรกิจ (businesses) ที่ใช้อินเทอร์เน็ตจำแนกตามประเภทการเข้าถึง (type of access): ความเร็วต่ำ (narrowband) เช่น Dial-up modem ISDN และโทรศัพท์เคลื่อนที่แบบ 2G ความเร็วสูง (broadband) ความเร็วอย่างน้อย 256 kbit/s B10: สัดส่วนของภาคธุรกิจ (businesses) ที่ใช้เครือข่ายท้องถิ่น (Local Area Network: LAN) B11: สัดส่วนของภาคธุรกิจ (businesses) ที่ใช้เอ็กซ์ทราเน็ต (extranet) B12: สัดส่วนของภาคธุรกิจ (businesses) ที่ใช้อินเทอร์เน็ตตามประเภทกิจกรรม (type of activity) ได้แก่ การรับส่ง (sending/receiving) จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (email) เข้าถึงสารสนเทศ (getting information): (1) เกี่ยวกับสินค้าและบริการ (2) หน่วยงานภาครัฐผ่านเว็บไซต์และจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ และ (3) ทำวิจัยและค้นหาสารสนเทศอื่น ๆ การใช้ระบบการเงิน/การธนาคารผ่านอินเทอร์เน็ต (internet banking) หรือเข้าถึงบริการทางการเงินแบบอื่นๆ (accessing other financial services) ติดต่อ (dealing) กับหน่วยงานภาครัฐ (government organizations/public authorities) การให้ (providing) บริการ (services) ผู้ใช้บริการ (customer) ส่งมอบบริการ (delivering) ผลิตภัณฑ์ (products) แบบออนไลน์ (online) ที่มา: http://new.unctad.org/upload/docs/Core%20ICT%20Indicators_Eng.pdf
ดัชนีไอซีทีของการประชุมสหประชาชาติว่าด้วยการค้าและการพัฒนา (United Nations Conference on Trade and Development: UNCTAD) #5 4. กลุ่มธุรกิจไอซีทีและการค้าขายสินค้าไอซีที (ICT sector and trade in ICT goods) 4 ดัชนี ดัชนีพื้นฐาน (Basic core): ICT1: สัดส่วนของแรงงาน (workforce) ภาคธุรกิจด้านไอซีทีโดยรวม (total business sector workforce involved in the ICT sector) ICT2: มูลค่าเพิ่ม (value added) ในภาคไอซีที (ICT sector) เป็นจำนวน ร้อยละของมูลค่าเพิ่มของภาคธุรกิจโดยรวม (total business sector) ICT3: ร้อยละของสินค้านำเข้าด้านไอซีที (ICT goods imports) กับสินค้า นำเข้าโดยรวม (total imports) ICT4: ร้อยละของสินค้าส่งออกด้านไอซีที (ICT goods exports) กับสินค้า ส่งออกโดยรวม (total exports) ที่มา: http://new.unctad.org/upload/docs/Core%20ICT%20Indicators_Eng.pdf
การจัดกลุ่มประเทศตามดัชนีสังคมสารสนเทศ #1 (ISI COUNTRIES RANKING) พัฒนาอย่างราบรื่น/รวดเร็ว (SKATERS)-ISI คะแนนมากกว่า 3,500 มีความเข้มแข็งและก้าวหน้าอย่าง มากในการปฏิวัติสารสนเทศ เพราะมี ความก้าวหน้าด้านสารสนเทศ คอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต และโครงสร้าง พื้นฐานด้านสังคม พ้ฒนาอย่างเข้มแข็ง/มั่นคง (STRIDERS)-ISI คะแนนมากกว่า 2,000 มีเป้าหมายในการพัฒนาไปสู่ยุคสารสนเทศ รวมถึงมีการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่จำเป็นอย่างมาก
การจัดกลุ่มประเทศตามดัชนีสังคมสารสนเทศ #2 (ISI COUNTRIES RANKING) พัฒนาอย่างเร่งรีบ/บีบคั้น (SPRINTERS)-ISI คะแนนมากกว่า 1,000 มีการพัฒนาอย่างเร่งรีบ ก่อนที่จะต้อง หยุดหรือถูกเปลี่ยนลำดับความสำคัญของการ พัฒนาอันเนื่องมาจากแรงกดดันด้านการเมือง สังคม และเศรษฐกิจ พัฒนาอย่างช้า ๆ/ตามสถานการณ์ (STROLLERS)-ISI คะแนนต่ำกว่า1,000 มีการพัฒนา แต่ไม่มีความแน่นอน เพราะมีทรัพยากรด้านการเงินที่จำกัด รวมถึงมีประชากรจำนวนมาก
ดัชนีผลสัมฤทธิ์ด้านเทคโนโลยี (Technology Achievement Index) มิติ (Dimension) ดัชนี (Indicator) ความสร้างสรรค์ด้านเทคโนโลยี (Creation of technology) จำนวนสิทธิบัตร/คน (Patents granted per capita World Intellectual) ค่าลิขสิทธิ์จากต่างประเทศ/คน (Receipts of royalty and license fees from abroad per capita) การแพร่กระจายของเทคโนโลยีสมัยใหม่ (Diffusion of recent innovations) แม่ข่ายอินเทอร์เน็ต/หัว (Internet hosts per capita) สัดส่วนการส่งออกด้านเทคโนโลยี/สินค้าส่งออก (High- and medium-technology exports as a share of all exports) การแพร่กระจายของเทคโนโลยีเก่า (Diffusion of old innovations) ค่า Logarithm ของจำนวนโทรศัพท์/หัว (Logarithm of telephones per capita-mainline and cellular combined) ค่า Logarithm ของการใช้ไฟฟ้า/หัว (Logarithm of electricity consumption per capita) ทักษะของประชาชน (Human skills) ค่าเฉลี่ยของระดับการศึกษา (Mean years of schooling) สัดส่วนผู้เรียนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และวิศวกรรมระดับอุดมศึกษา (Gross enrolment ratio at tertiary level in science, mathematics and engineering) ที่มา: http://hdr.undp.org/en/media/completenew1.pdf
คะแนนและการจัดอันดับผลสัมฤทธิ์ด้านเทคโนโลยี (TAI values and rankings: global trends) กลุ่มผู้นำ (Leaders) – มีสัมฤทธิ์ผลสูงในการสร้างสรรค์ (creation) เทคโนโลยี (TAI > 0.5) เช่น Finland, US, Japan, Korea กลุ่มมีศักยภาพที่จะเป็นผู้นำ (Potential leaders) – ประชาชนมีทักษะดี (human skills) และมีการกระจาย (diffusion) ของเทคโนโลยีมากอยู่ในระดับสูง แต่มีนวัตกรรม (innovate) ไม่มาก (TAI = 0.35 – 0.49) เช่น Spain, Czech Rep กลุ่มผู้ตามที่มีพลวัตร (Dynamic adopters) – มีพลวัตรในการใช้เทคโนโลยี แต่ประชาชนมีทักษะต่ำกว่ากลุ่มประเทศที่มีศักยภาพที่จะเป็นผู้นำ (TAI = 0.20–0.34) เช่น Brazil, China, India กลุ่มด้อยศักยภาพ (Marginalized) – มีสัมฤทธิ์ผลต่ำในทุกมิติ รวมถึงมีการใช้เทคโนโลยีเก่าอย่างกว้างขวาง (TAI< 0.20) เช่น Nicaragua, Pakistan, Kenya ที่มา: http://www.statistics.gov.uk/IAOSlondon2002/downloads/Presentations/Sakiko_Fukuda-Parr.ppt http://unpan1.un.org/intradoc/groups/public/documents/APCITY/UNPAN014340.pdf
ดัชนีสังคมและเศรษฐกิจดิจิทัล #1 (Digital Economy and Society Index) มิติของดัชนี (Dimensions) มิติย่อยและค่าน้ำหนัก (Sub-dimensions and weight) การเชื่อมต่อ (Connectivity):-25% 1.1 ความเร็วสูงแบบใช้สาย (Fixed Broadband):-33% 1.2 ความเร็วสูงแบบเคลื่อนที่ (Mobile Broadband):-22% 1.3 ความเร็ว (Speed):-33% 1.4 ความสามารถในการเข้าถึง/ซื้อได้ (Affordability):-11% การลงทุนด้านมนุษย์ (Human Capital):-25% 2.1 ทักษะพื้นฐานและการใช้ (Basic Skills and Usage) :-50% 2.2 ทักษะชั้นสูงและการพัฒนา (Advanced skills and Development):-50% การใช้อินเทอร์เน็ต (Use of Internet):- (15%) 3.1 เนื้อหา (Content):-33% 3.2 การสื่อสาร (Communication):-33% 3.3 การทำธุรกรรม (Transactions):-33% การบูรณาการของเทคโนโลยีดิจิทัล (Integration of Digital Technology):-20% 4.1 ความเป็นดิจิทัลในภาคธุรกิจ (Business digitization):-60% 4.2การค้าอิเล็กทรอนิกส์ (eCommerce):-40% บริการสาธารณะดิจิทัล (Digital Public Services):-15% 5.1 รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (eGovernment):-67% 5.2 สุขภาพ/สาธารณะสุขอิเล็กทรอนิกส์ (eHealth):-33% ที่มา: http://digital-agenda-data.eu/datasets/desi/indicators
ดัชนีสังคมและเศรษฐกิจดิจิทัล #2 (Digital Economy and Society Index) มิติย่อยและค่าน้ำหนัก (Sub-dimensions and weight) นิยาม (Definition and weight) 1.1 ความเร็วสูงแบบใช้สาย (Fixed Broadband):-33% 1.1.1 ความครอบคลุมของการเชื่อมต่อความเร็วสูงแบบใช้สาย (Fixed BB Coverage):-50% 1.1.2 การใช้การเชื่อมต่อความเร็วสูงแบบใช้สาย (Fixed BB Take-up):-50% (จำนวนครัวเรือนที่มีการเชื่อมต่อ) 1.2 ความเร็วสูงแบบเคลื่อนที่ (Mobile Broadband):-22% 1.2.1 การใช้การเชื่อมต่อแบบเคลื่อนที่ (Mobile BB Take-up):-50% 1.2.2 ความถี่ที่อนุญาตให้ใช้ (Spectrum):-50% 1.3 ความเร็ว (Speed):-33% 1.3.1 ความครอบคลุมของการเข้าถึงเครือข่ายรุ่นใหม่ (NGA Coverage):-50% 1.3.2 การใช้การเชื่อมต่อความเร็วสูง (Subscriptions to Fast BB):-50% (ความเร็ว >= 30 Mbps) 1.4 ความสามารถในการเข้าถึง/ซื้อได้ (Affordability):-11% 1.4.4 ราคาการเชื่อมต่อความเร็วสูงแบบใช้สาย (Fixed BB Price):-100% (ค่าใช้จ่ายต่อเดือนที่ความเร็ว 12-30 Mbps) 2.1 ทักษะพื้นฐานและการใช้ (Basic Skills and Usage) :-50% 2.1.1 ผู้ใช้อินเทอร์เน็ต (Internet Users):-50% 2.1.2 ทักษะพื้นฐานด้านดิจิทับ (Basic Digital Skills):-50% 2.2 ทักษะชั้นสูงและการพัฒนา (Advanced skills and Development):-50% 2.2.1 ผู้เชี่ยวชาญด้านไอซีที (ICT Specialists):-50% 2.2.2 ผู้สำเร็จการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรม และคณิตศาสตร์ (STEM Graduates):-50% ที่มา: http://digital-agenda-data.eu/datasets/desi/indicators
ดัชนีสังคมและเศรษฐกิจดิจิทัล #3 (Digital Economy and Society Index) มิติย่อยและค่าน้ำหนัก (Sub-dimensions and weight) นิยาม (Definition and weight) 3.1 เนื้อหา (Content):-33% 3.1.1 ข่าว (News):-25% 3.1.2 เพลง (Music) วีดีโอ (Videos) และเกม (Games):-25% 3.1.3 วีดีโอตามคำขอ (Video on Demand) (25%) (ร้อยละของครัวเรือนในการเป็นสมาชิก) 3.1.4 ทีวีอินเทอร์เน็ต (IPTV):-25% 3.2 การสื่อสาร (Communication):-33% 3.2.1 วีดีโอภาพเคลื่อนไหว (Video Calls):-50% 3.2.2 เครือข่ายทางสังคม (Social Networks):-50% (มีบัญชี, โพสข้อความ, เผยแพร่เรื่องต่างๆ) 3.3 การทำธุรกรรม (Transactions):-33% 3.3.1 การธนาคาร (Banking):-50% 3.3.2 การซื้อสินค้า (Shopping):-50% 4.1 ความเป็นดิจิทัลในภาคธุรกิจ (Business digitization):-60% 4.1.1 การแบ่งปันสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Information Sharing):-20% (มี ERP ใช้แลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างแผนก) 4.1.2 การใช้ระบบระบุลักษณะของวัตถุด้วยคลื่นความถี่วิทยุในการส่งมอบผลิตภัณฑ์/บริการ/หลังการขาย (RFID):-20% 4.1.3 การใช้สื่อสังคมออนไลน์ (Social Media):-20% (ผู้ประกอบมีการใช้อย่างน้อย 2 ชนิด) 4.1.4 ใบส่งของอิเล็กทรอนิกส์ (eInvoices):-20% 4.1.5 คลาวด์ (Cloud):-20% 4.2 การค้าอิเล็กทรอนิกส์ (eCommerce):-40% 4.2.1 การขายแบบออนไลน์ของผู้ประกอบการขนาดเล็กและขนาดกลาง (SMEs Selling Online):-33% 4.2.2 การเติบโตของการขายแบบการค้าอิเล็กทรอนิส์ (eCommerce Turnover):-33% (อย่างน้อยร้อยละ 1) 4.2.3 การขายแบบออนไลน์ระหว่างประเทศ (Selling Online Cross-border):-33% 5.1 รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (eGovernment):-67% 5.1.1 ผู้ใช้รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (eGovernment Users) ในรอบ 12 เดือนที่ผ่านมา:-25% 5.1.2 แบบฟอร์มออนไลน์ (Pre-filled Forms):-25% 5.1.3 การแข่งขันด้านบริการออนไลน์ (Online Service Completion):-25% 5.1.4 การเปิดเผยข้อมูล (Open Data):-25% 5.2 สุขภาพ/สาธารณะสุขอิเล็กทรอนิกส์ (eHealth):-33% 5.2.1 การแลกเปลี่ยนข้อมูลทางการแพทย์ (Medical Data Exchange):-50% 5.2.1 ใบสั่งยาแบบอิเล็กทรอนิกส์ (ePrescription) (50%) ที่มา: http://digital-agenda-data.eu/datasets/desi/indicators
ดัชนีความพร้อมด้านรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ของสหประชาชาติ (UN e-Government Readiness Index) ดัชนีด้านเว็บไซต์ (Web Measure Index) ดัชนีด้านโครงสร้างพื้นฐานโทรคมนาคม (Telecommunication Infrastructure Index) ดัชนีด้านการลงทุนทรัพยากรมนุษย์ (Human Capital Index) ดัชนีด้านการมีส่วนร่วม (Participation Index)
ดัชนีด้านเว็บไซต์ (Web Index) ขั้นเริ่มต้น (Emerging Stage) รัฐบาลเริ่มสร้างเว็บไซต์ มีบางหน่วยงานเท่านั้นที่มีเว็บไซต์ สารสนเทศที่นำเสนอมีเพียงเล็กน้อย ส่วนใหญ่เป็นสารสนเทศพื้นฐาน และสถิติต่าง ๆ ขั้นก้าวหน้า (Enhanced Stage) มีการปรับปรุงเนื้อหาและสารสนเทศให้ถูกต้องอยู่เสมอ ขั้นการปฏิสัมพันธ์ (Interaction Stage) ผู้ใช้สามารถดาวน์โหลด (download) แบบฟอร์ม ติดต่อกับเจ้าหน้าที่ กำหนดเวลานัดพบ และเสนอความต้องการได้ ขั้นการทำธุรกรรม (Transaction Stage) ผู้ใช้สามารถชำระค่าบริการ และทำธุรกรรมด้านการเงินออนไลน์ได้ ขั้นบูรณาการ (Connected Stage) มีการเชื่อมโยงอย่างสมบูรณ์ ทั้งแนวตั้ง แนวนอน โครงสร้างพื้นฐาน รัฐบาลกับประชาชน และผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อตอบสนองต่อความต้องการของประชาชน
ดัชนีด้านโครงสร้างพื้นฐานโทรคมนาคม (Telecommunication Infrastructure Index) ผู้ใช้อินเทอร์เน็ต/ประชากร 100 คน (Internet Users /100 persons) เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล/ประชากร 100 คน (PCs /100 persons) โทรศัพท์พื้นฐานต่อประชากร 100 คน (Main Telephones Lines /100 persons) โทรศัพท์เคลื่อนที่ต่อประชากร 100 คน (Cellular telephones /100 persons) การสื่อสารความเร็วสูง/ประชากร 100 คน (Broad banding /100 persons)
ดัชนีด้านการลงทุนทรัพยากรมนุษย์ (Human Capital Index) อัตราการรู้หนังสือของประชากรวัยผู้ใหญ่ (adult literacy rate) สัดส่วนการเรียนหนังสือระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษา และอุดมศึกษา (primary, secondary and tertiary gross enrolment ratio)
ดัชนีด้านการมีส่วนร่วม (Participation Index) มีช่องทางใหม่ (new channel) หลากหลายช่องทาง เพื่อให้ประชาชนใช้ และ การลดอุปสรรค์ (reduce barrier) ในการเข้าไปมีส่วนร่วมกำหนดนโยบาย (policymaking)
ดัชนีการดำเนินงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ของสหรัฐอเมริกา (e-Gov Performance) สำนักงานจัดการและงบประมาณ (Office of Management and Budget: OMB) ของสหรัฐอเมริกา ใช้ดัชนีวัดผลการดำเนินงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ 5 ด้าน ดังนี้ 1. การยอมรับ/การมีส่วนร่วม (Adoption/Participation) – ระดับการมีส่วนร่วมของชุมชน ได้แก่ พนักงาน หน่วยงานของรัฐ และองค์การต่างๆ 2. ความมีประโยชน์ (Usage) – ระดับการใช้งานของผู้ใช้งาน (end user) 3. ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ (Customer Satisfaction) – ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้งานในผลิตภัณฑ์ (product) และ/หรือบริการ (service) 4. ความประหยัด/ลดค่าใช้จ่าย (Cost Savings/Avoidance) – ระดับความประหยัด/ลดค่าใช้จ่ายทั้ง 2 มุมมอง คือ รัฐบาล (government) และพลเมือง (citizenry) 5. ความมีประสิทธิภาพ (Efficiency) – ระดับของการปรับปรุงกระบวนการ เช่น ลดเวลา และเพิ่มประสิทธิภาพ (productivity) ที่มา: Office of Management and Budget. E-GOV. http://www.whitehouse.gov/omb/egov/c-7-index.html
การวัดผลการดำเนินงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ด้านการท่องเที่ยวของสหรัฐอเมริกา (e-Gov Travel Performance Measure) การยอมรับ/การมีส่วนร่วม (Adoption/Participation) ร้อยละของหน่วยงานที่มีการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ด้านการท่องเที่ยวอย่างสมบูรณ์เต็มที่ (fully deployed) ร้อยละของหน่วยงานที่เปลี่ยนไปใช้ (migrating to) รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ด้านการท่องเที่ยวบางส่วนแต่ยังไม่สมบูรณ์เต็มที่ ร้อยละของหน่วยงานที่มีแผนงานในการพัฒนา (scheduled to deploy) รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ด้านการท่องเที่ยว ความมีประโยชน์ (Usage) ร้อยละของการให้บริการใบรับประกัน/ใบรับรอง/เอกสารสำคัญ (vouchers serviced) ผ่านรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ด้านการท่องเที่ยว ร้อยละของการใช้ระบบออนไลน์ (online) ในการเดินทางทุกขั้นตอน (trips completed) จากระบบรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์แบบครบวงจร (end-to-end) ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ (Customer Satisfaction) คะแนนความพึงพอใจ (satisfaction score) ของหน่วยงานในประสิทธิผล (effectiveness) โครงการรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ด้านการท่องเที่ยว ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ (customer satisfaction) รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ด้านการท่องเที่ยว ความประหยัด/ลดค่าใช้จ่าย (Cost Savings/Avoidance) ความมีประสิทธิภาพ (Efficiency) เวลาในประมวลผล (processing time) การให้ใบรับประกัน/ใบรับรอง/เอกสารสำคัญ (voucher) ที่มา: Office of Management and Budget. E-GOV. http://www.whitehouse.gov/omb/egov/c-7-index.html
ดัชนีความพร้อมด้านรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (eGovernment Readiness Index) ภาควิชาพัฒนาชุมชนและมนุษย์ มหาวิทยาลัยอิลลินอยส์ เออบานา-แคมเปญ (University of Illinois at Urbana-Champaign) ประเภทของการให้บริการออนไลน์ (types of services offered online) การใช้บริการออนไลน์ของชุมชน (community’s use of services) กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ที่เกี่ยวข้องในออกแบบและดำเนินการด้านรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (process of including stakeholders in the design and implementation of eGovernment) การประสานความร่วมมือระหว่างหน่วยงานของรัฐบาลในการให้บริการออนไลน์ (government units collaborate to provide services online)
ดัชนีความพร้อมด้านโครงสร้างพื้นฐานโทรคมนาคม (Telecommunications Infrastructure Readiness Index) ภาควิชาพัฒนาชุมชนและมนุษย์ มหาวิทยาลัยอิลลินอยส์ เออบานา-แคมเปญ ผลลัพธ์ที่เกิดจากการใช้เทคโนโลยีโทรคมนาคม (telecommunications quotient) ดัชนีโครงสร้างพื้นฐาน (infrastructure index) ผู้ให้บริการโทรคมนาคม (telecommunications providers)
ตัวแบบ ‘CUT’ #1 ระดับ (intensity) เวลา (time) ความสามารถ (CAPACITY) การเปลี่ยนรูปแบบ (TRANSFORMATION) ‘impact’ การใช้งาน (USAGE) เวลา (time) ระดับ (intensity) ดัชนี (indicators) ที่มา: Makane Faye . 2007. Developing e-Government indicators. http://www.uneca.org/disd/events/2007/ict-measurement
ขอบเขตและความมุ่งหมาย ตัวแบบ ‘CUT’ #2 ประเภท (Broad Category of e-Gov Indicators) ขอบเขตและความมุ่งหมาย (Scope and Purpose) 1: ดัชนีปริมาตร (Capacity) ปริมาตร (capacity) การใช้งาน (usage/exploitation deployment) และการพัฒนา (development) ภายในรัฐบาล 2: ดัชนีการใช้ประโยชน์ (Usage) ติดตาม (Monitoring) ประเมิน (Assessing) และวัดผล (Measuring) ความก้าวหน้าในการพัฒนาของ IS/IKE (Information and Knowledge Economy) ภายในรัฐบาล 3: ดัชนีการเปลี่ยนรูปแบบหรือผลกระทบ (Transformation/Impact) ติดตาม (Monitoring) ประเมิน (Assessing) และวัดผล (Measuring) ผลกระทบของการพัฒนา IS/IKE ระบบ (systems) เทคโนโลยี (technology) และการปฏิบัติงาน (operations) ของรัฐบาล ที่มา: Makane Faye . 2007. Developing e-Government indicators. http://www.uneca.org/disd/events/2007/ict-measurement
ตัวแบบ ‘CUT’ #3 การเปลี่ยนรูปแบบ (TRANSFORMATION) ‘impact’ เวลา (time) ระดับ (intensity) ความสามารถ (CAPACITY) การใช้งาน (USAGE) การเปลี่ยนรูปแบบ (TRANSFORMATION) ‘impact’ ดัชนี (Indicators) การให้บริการด้านโครงสร้างพื้นฐาน รูปแบบ ความสะดวก และทรัพยากรด้านไอซีที (ICT Delivery Infrastructure Platform, Facilities and Resources) ขนาด (size) ความสามารถ (capacity) การขยายและครอบคลุม (spread & coverage) ขนาดและระดับของการพัฒนา (degree and level of deployment) ทรัพยากรด้านไอซีทีอื่นๆ (Other ICT resources) ความสะดวกและทรัพยากรด้านไอซีที (ICT Facilities and Resources) ระดับ ขนาด และการขยายตัวในการเข้าถึง (level, degree and spread of access) ขนาดและระดับของการใช้งาน (degree and level of usage) การกระจายในการใช้งานเฉพาะชุมชน กลุ่ม และภาคส่วน (distribution of usage in specific communities, groups and sectors) การวัดผลกระทบของการพัฒนาสังคมสารสนเทศ (Measurements of the impact of the dev of the information society on:) government system operations & staff การให้บริการ (delivery of services) สมรรถนะและกิจกรรม (performances and activities) ชุมชนท้องถิ่น (local communities) ที่มา: Makane Faye . 2007. Developing e-Government indicators. http://www.uneca.org/disd/events/2007/ict-measurement
มุมมองการบริหารระบบสารสนเทศในองค์การ มุมมองด้านเทคนิค (technical perspective) มุมมองการบริหาร (managerial perspective) มุมมองด้านผู้ใช้ (user perspective)
ความพร้อมด้านอิเล็กทรอนิกส์ #1 (e-Readiness) ประเภท น้ำหนัก ดัชนี การเชื่อมต่อและโครงสร้างพื้นฐานด้านเทคโนโลยี (Connectivity and technology infrastructure) 20% การเข้าถึง/ใช้ (penetration) บอร์ดแบนด์ (broadband) โทรศัพท์เคลื่อนที่ (mobile-phone) อินเทอร์เน็ต (internet) คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (PC) และไวไฟ (WiFi hotspot) อัตราราคาที่เหมาะสมของ (affordability) ของบอร์ดแบนด์ ความปลอดภัย (security) ของอินเทอร์เน็ต (internet) บัตรประชาชนอิเล็กทรอนิกส์ (electronic ID.) สภาพแวดล้อมด้านธุรกิจ/กิจการ (Business environment) 15% สภาพแวดล้อมด้านการเมือง (political) ทั้งหมด สภาพแวดล้อมด้านเศรษฐกิจมหภาค (macroeconomic) โอกาส (opportunities) ด้านการตลาด (market) นโยบาย (policy) ต่อผู้ประกอบการเอกชน (private enterprise) นโยบายด้านการลงทุนของต่างชาติ (foreign investment) foreign trade and exchange กฎ/กติกา (regimes) ด้านการแลกเปลี่ยนและการค้าระหว่างประเทศ กฎ/กติกาด้านภาษี (tax) การเงิน (financing) ตลาดแรงงาน (the labour market) สภาพแวดล้อมทางด้านสังคมและวัฒนธรรม (Social and cultural environment) ระดับการศึกษา (education) การรู้หนังสือ (literacy) ระดับความรอบรู้ด้านอินเทอร์เน็ต (internet literacy) อันดับผู้บริหารกิจการ (degree of entrepreneurship) ทักษะด้านเทคนิคของแรงงาน (technical skills of workforce) อันดับของนวัตกรรม (degree of innovation) ที่มา: IBM. 2008. E-readiness rankings 2008: Maintaining momentum. http://www-935.ibm.com/services/us/index.wss/ibvstudy/gbs/a1029550?cntxt=a1000055
ความพร้อมด้านอิเล็กทรอนิกส์ #2 (e-Readiness) ประเภท น้ำหนัก ดัชนี สภาพแวดล้อมด้านกฎหมาย (Legal environment) 10% ความมีประสิทธิผล (effectiveness) ของตัวกฎหมายโบราณ (traditional legal framework) กฎหมายที่ใช้ควบคุม (covering) อินเทอร์เน็ต ระดับของการเซ็นเซอร์ (censorship) จำนวนของการจดทะเบียนธุรกิจใหม่ (ease of registering a new business) วิสัยทัศน์และนโยบายของรัฐบาล (Government policy and vision) 15% สัดส่วน (proportion) ค่าใช้จ่ายของรัฐบาล (government spend) ด้านไอซีทีต่อจีดีพี (GDP) ยุทธศาสตร์ (strategy) ในการพัฒนาดิจิทัล (digital) การจัดซื้อจัดจ้างแบบออนไลน์ (online procurement) การยอมรับของธุรกิจ/กิจการและผู้บริโภค (Consumer and business adoption) 25% การใช้จ่าย (spending) ของผู้บริโภค (consumer) ต่อหัว (per head) ด้านสารสนเทศ (information) และเทคโนโลยีการสื่อสาร (communications technology) ระดับของการพัฒนาธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ (e-business) อันดับ (degree) ของการทำการค้าแบบออนไลน์ (online commerce) ความสามารถในการใช้งาน (availability) บริการสาธารณะ (public services) แบบออนไลน์ของภาคประชาชน (citizens) และภาคธุรกิจ (businesses) ที่มา: IBM. 2008. E-readiness rankings 2008: Maintaining momentum. http://www-935.ibm.com/services/us/index.wss/ibvstudy/gbs/a1029550?cntxt=a1000055
การเติบโตของระบบสารสนเทศภายในองค์กร #1 Richard L. Nolan ขั้นตอน เริ่มต้น (Initiation) แผ่ขยาย (Expansion) ควบคุม (Control) สมบูรณ์ (Maturity) กระบวนการ รายการโปรแกรมที่มีใช้ (Application portfolio) บทบาทและความตระหนักของผู้ใช้ (Users’ role and awareness) ทรัพยากรระบบสารสนเทศ (I/S resources) - ฮาร์ดแวร์/ซอฟต์แวร์/เครือข่าย… (Hardware/software/networks/ . . .) - ทีมงาน (Staff) - การบริหาร (Management) การวางแผนและการควบคุม (Planning and control activities)
การเติบโตของระบบสารสนเทศภายในองค์กร #2 Richard L. Nolan กระบวนการ (Processes) การมีและใช้แอปพลิเคชั่น (Application Portfolio) บทบทและความตระหนักรู้ของผู้ใช้ (Users’ role & Awareness) ทรัพยากรระบบสารสนเทศ (I/S Resources) HW/SW/TP/.. Staff Management การวางแผนและควบคุม (Planning and Control) I. II. III. IV. เริ่มต้น แผ่ขยาย ควบคุม สมบูรณ์ (Initiation) (Expansion) (Control) (Maturity) ขั้นตอน (Stages)
การเติบโตของระบบสารสนเทศภายในองค์กร #3 Richard L. Nolan ระดับงบประมาณด้าน IS/IT (Level Of IS/IT Expense) จุดเปลี่ยน (Transition point) บริหารคอมพิวเตอร์/ประมวลผลข้อมูล (Computer/DP) management) บริหารสารสนเทศ/ระบบ (Information/system management) I II III IV V VI ขั้นเริ่มต้น (Initiation) ขั้นแผ่ขยาย (Contagion) ขั้นควบคุม (Control) ขั้นบูรณาการ (Integration) ขั้นบริหารข้อมูล (Data Mgmt.) ขั้นพัฒนาสมบูรณ์ (Maturity)
การเติบโตของระบบสารสนเทศภายในองค์กร #4 Richard L. Nolan ขั้นการเริ่มต้น (Initiation) องค์การเริ่มปรับปรุงระบบการดำเนินงาน มีการนำเครื่องมือสมัยใหม่มาใช้ในการประมวลผลข้อมูล ขั้นแผ่ขยาย (Contagion) องค์การเห็นผลดีของการนำเครื่องมือสมัยใหม่มาใช้ในการประมวลผลข้อมูล มีการพัฒนาโปรแกรมการใช้งานต่าง ๆ มีการใช้นักคอมพิวเตอร์ช่วยพัฒนางานคอมพิวเตอร์ด้านต่าง ๆ มีการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยประมวลผลข้อมูลเพิ่มขึ้นอย่างชัดเจน ขั้นการควบคุม (Control) องค์การเริ่มมีการวางนโยบายด้านระบบสารสนเทศ ผู้บริหารเริ่มมีการจัดสรรทรัพยากรคอมพิวเตอร์ไปให้งานด้านที่สำคัญ ๆ ก่อนเริ่มมีการจัดตั้งหน่วยงานด้านระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (Management Information System: MIS) ขั้นบูรณาการ (Integration) องค์การเริ่มบูรณาการข้อมูลเข้าด้วยกัน โดยใช้วิทยาการทางด้านฐานข้อมูลเครือข่าย และโทรคมนาคม เพื่อให้สามารถแลกเปลี่ยนหรือใช้ข้อมูลร่วมกันหลาย ๆ ฝ่าย ขั้นการบริหารข้อมูล (Data Administration) องค์การอยู่ในขั้นสามารถประสานการใช้ข้อมูลของหน่วยงานหลายด้านร่วมกัน จึงต้องมีการบริหารงานด้านวิทยาการฐานข้อมูล และโทรคมนาคม ขั้นพัฒนาสมบูรณ์ (Maturity) ผู้บริหารในองค์การตระหนักถึงความสำคัญของหน่วยงานด้านระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร ในการสนับสนุนงานด้านบริหารขององค์การ
ช่องว่างระหว่าง Design-Reality Gaps จากตัวแบบ ITPOSMO Current Reality Design Proposal for New System I สารสนเทศ (Information) สารสนเทศ (Information) เทคโนโลยี (Technology) T เทคโนโลยี (Technology) P กระบวนการ (Processes) กระบวนการ (Processes) O เป้าหมายและค่านิยม (Objectives and Value) เป้าหมายและค่านิยม (Objectives and Value) S ทีมงานและทักษะ (Staffing and Skill) ทีมงานและทักษะ (Staffing and Skill) M การบริหาร (Management and Structures) การบริหาร (Management and Structures) O ทรัพยากรอื่น ๆ (Other Resources) ทรัพยากรอื่น ๆ (Other Resources) ความเป็นจริง (Reality) การออกแบบ (Design) ช่องว่าง (Gap)
ดัชนีการเข้าถึงและการใช้ไอซีทีของครัวเรือนและบุคคล (Core Indicators on Access to, and Use of, ICT by Households and Individuals) #1 สัดส่วนของครัวเรือนต่อ (Proportion of HHs with): HH1: วิทยุ 1 เครื่อง (a radio) HH2: โทรทัศน์ 1 เครื่อง (a TV) HH3: โทรศัพท์บ้าน 1 เลขหมาย (a fixed line telephone) HH4: โทรศัพท์เคลื่อนที่ 1 เครื่อง (a mobile cellular telephone) HH5: คอมพิวเตอร์ 1 เครื่อง (a computer) HH7: การเข้าถึงอินเทอร์เน็ตที่บ้าน (internet access at home) HH12: ประเภทการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต (access to the internet by type of access) ที่มา: Rachman, Abdul. The Availability of ICT Indicators for Households and Individuals: Case of Indonesia . Retrieved from http:// http://www.postel.go.id/webupdate/ict-indicators/data/BPS-Availability_of_ICT_Indicators4Households_and_Individuals-final1.ppt
ดัชนีการเข้าถึงและการใช้ไอซีทีของครัวเรือนและบุคคล (Core Indicators on Access to, and Use of, ICT by Households and Individuals) #2 สัดส่วนของบุคคลในการใช้ (Proportion of individuals who used:) HH6: การใช้คอมพิวเตอร์ภายใน 12 เดือนที่ผ่านมา (computer in the last 12 months) HH8: การใช้อินเทอร์เน็ตภายใน 12 เดือนที่ผ่านมาจากทุกที่ (the internet (from any location) in the last 12 months) HH9: สถานที่ใช้อินเทอร์เน็ตภายใน 12 เดือนที่ผ่านมา (Location of individual use of internet in the last 12 months ) HH10: กิจกรรมการใช้งานอินเทอร์เน็ตภายใน 12 เดือนที่ผ่านมา (Internet activities undertaken by individuals in the last 12 months) HH11: สัดส่วนของการใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ (Proportion of individuals with use of a mobile telephone) HH13: ความถี่ในการเข้าถึงอินเทอร์เน็ตภายใน 12 เดือน จากทุกสถานที่ (Frequency of individual access to the internet in the last 12 months (from any location) ที่มา: Rachman, Abdul. The Availability of ICT Indicators for Households and Individuals: Case of Indonesia . Retrieved from http:// http://www.postel.go.id/webupdate/ict-indicators/data/BPS-Availability_of_ICT_Indicators4Households_and_Individuals-final1.ppt
ตัวแบบการยอมรับเทคโนโลยี (Technology Acceptance Model: TAM) การยอมรับความมีประโยชน์ (Perceived Usefulness) ปัจจัยภายนอก (External Variables) พฤติกรรมความตั้งใจที่จะใช้งาน (Behavioral Intention to Use) ทัศนะคติต่อการใช้งาน (Attitude towards Use) การใช้งานจริง (Actual System Use) การยอมรับความง่ายในการใช้งาน (Perceived Ease of Use)