โครงการ PrEP PACKAGE ปี 2561 BATS & TUC & GF
วัตถุประสงค์ พัฒนารูปแบบการให้บริการใช้ยาต้านไวรัสก่อนการสัมผัสเชื้อเอชไอวี Pre-Exposure Prophylaxis (PrEP) เป็นมาตรการเสริมในการป้องกัน สำหรับกลุ่มประชากรที่มีความเสี่ยงสูง 2. เพื่อพัฒนาศักยภาพเครือข่ายบุคลากรที่สนใจในการจัดบริการใช้ยาต้านไวรัสก่อนการสัมผัส เชื้อเอชไอวี Pre-Exposure Prophylaxis (PrEP) เพื่อรองรับการขยายบริการที่ครอบคลุมในปี 2562
ชายมีเพศสัมพันธ์กับชาย กลุ่มเป้าหมาย...คือ?? ผู้ที่มีพฤติกรรมความเสี่ยง ชายมีเพศสัมพันธ์กับชาย (MSM) Youth TG Discordant PWID
โครงการ PrEP ปี 2561 งบประมาณกองทุนโลก (GF) และ TUC กลุ่มMSM GF 7 จังหวัด 1.พิษณุโลก 2.นครสรรค์ 3.พระนครศรีอยุธยา 4.นครปฐม 5.ระยอง 6.นครศรีธรรมราช 7.สุราษฎร์ธานี กลุ่ม PWID GF 19 จังหวัด 1.เชียงราย 11.นครศรีธรรมราช 2. เชียงใหม่ 12. ตรัง 3. แม่ฮ่องสอน 13. สตูล 4. ตาก 14. พัทลุง 5. นนทบุรี 15.สงขลา 6.ปทุมธานี 16.นราธิวาส 7.สมุทรปราการ 17.ปัตตานี 8.ขอนแก่น 18.ยะลา 9. กาฬสินธุ์ 19. กทม. 10.สุราษฎร์ธานี พื้นที่เป้าหมาย TUC 13 จังหวัด PrEP-Package ภาคเหนือ (เชียงใหม่ เชียงราย) ภาคกลาง (สมุทรปราการ ชลบุรี นนทบุรี ปทุมธานี กทม.) ภาคอีสาน (ขอนแก่น อุดรธานี นครราชสีมา อุบลราชธานี ภาคใต้ (ภูเก็ต สงขลา)
เกณฑ์การคัดเลือกเข้าร่วมโครงการ ผู้อำนวยการโรงพยาบาล เห็นชอบโครงการ มีกลุ่มประชากรเป้าหมาย ได้แก่ กลุ่ม MSM, TG เป็นหลัก และกลุ่มอื่นๆ ที่มีโอกาสเสี่ยงสูงต่อการติดเชื้อเอชไอวี เช่น sero- discordant เป็นต้น มีทีมงานผู้รับผิดชอบในการดำเนินงาน PrEP มียา TENO-EM ในโรงพยาบาล เนื่องจากโครงการจ่ายเป็นค่าตอบแทนชุดบริการทางการแพทย์(งบ TUC) ถ้า งบกองทุนโลก มียาในโครงการฯ ให้
หนังสือขอความร่วมมือ ปี 2561 หนังสือขอความร่วมมือ ปี 2561 หนังสือกระทรวงสาธารณสุขที่ 0425.4/ว15 ลงวันที่ 15 มกราคม 2561 ขอความร่วมมือในการจัดบริการ PrEP (สสจ. 75 แห่ง) - หนังสือกระทรวงสาธารณสุขที่ 0425.4/16 ลงวันที่ 15 มกราคม 2561 ขอความร่วมมือในการจัดบริการ PrEP (รพ.ศูนย์และรพ. ทั่วไป ) - แจ้งให้ สคร. ทุกที่ ทราบความก้าวหน้า
ตัวอย่างหนังสือขอความร่วมมือ
สรุปจำนวน รพ.ที่พร้อมในการจัดบริการ ปี 2561 แหล่งงบประมาณ/ กลุ่มเป้าหมาย จำนวนจังหวัด จำนวนโรงพยาบาล รอข้อมูล GF ในกลุ่ม MSM/TG 7 13 ระยอง GF ในกลุ่ม PWID 19 14 แม่ฮ่องสอน กาฬสินธุ์ ยะลา TUC ในกลุ่ม MSM/TG 28 รวม 25 จังหวัด 55 โรงพยาบาล
งบประมาณกองทุนโลก ในกลุ่ม MSM/TG 7 จังหวัด มีโรงพยาบาลที่เข้าร่วม 13 โรงพยาบาล จังหวัดพิษณุโลก มี 3 จังหวัด จังหวัดนครสวรรค์ มี 2 จังหวัด โรงพยาบาลพรหมพิราม โรงพยาบาลสวรรค์ประชารักษ์ โรงพยาบาลเนินมะปราง โรงพยาบาลท่าตะโก โรงพยาบาลค่ายสมเด็จพระนเรศวรมหาราช จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จำนวน 2 โรงพยาบาล จังหวัดนครปฐม จำนวน 2 รพ. โรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยา โรงพยาบาลจันทรุเบกษา โรงพยาบาลเสนา โรงพยาบาลหลวงพ่อเปิ่น จังหวัดนครศรีธรรมราช จำนวน 2 โรงพยาบาล จังหวัดสุราษฎร์ธานี โรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช จำนวน 2 โรงพยาบาล โรงพยาบาลท่าศาลา โรงพยาบาลสมุย โรงพยาบาลพุนพิน
งบประมาณกองทุนโลก ในกลุ่ม PWID 19 จังหวัด มีโรงพยาบาลที่เข้าร่วม 10 โรงพยาบาล จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 1 โรงพยาบาล จังหวัดนนทบุรีจำนวน 1 โรงพยาบาล โรงพยาบาลเชียงดาว โรงพยาบาลพระนั่งเกล้า จังหวัดปทุมธานี จำนวน 1 โรงพยาบาล จังหวัดสมุทรปราการ จำนวน 1 โรงพยาบาล สถาบันบำบัดรักษาและฟื้นฟูผู้ติดยาเสพย์ติด โรงพยาบาลสมุทรปราการ แห่งชาติบรมราชชนนี จังหวัดสุราษฎร์ธานี จำนวน 1 โรงพยาบาล จังหวัดตรัง จำนวน 1 โรงพยาบาล โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี โรงพยาบาลตรัง จังหวัดนครศรีธรรมราช จำนวน 1 โรงพยาบาล จังหวัดพัทลุง จำนวน 1 โรงพยาบาล โรงพยาบาลชะอวด โรงพยาบาลพัทลุง จังหวัดปัตตานี จำนวน 1 โรงพยาบาล จังหวัดสงขลา มีจำนวน 1 โรงพยาบาล โรงพยาบาลหนองจิก โรงพยาบาลสิงหนคร
งบประมาณ TUC ในกลุ่ม MSM/TG 13 จังหวัด มีโรงพยาบาลที่เข้าร่วม 15 โรงพยาบาล จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 2 โรงพยาบาล จังหวัดนนทบุรีจำนวน 2 โรงพยาบาล โรงพยาบาลฝาง โรงพยาบาลบางกรวย โรงพยาบาลสันป่าตอง โรงพยาบาลปากเกร็ด จังหวัดปทุมธานี จำนวน 2 โรงพยาบาล จังหวัดสมุทรปราการ จำนวน 2 โรงพยาบาล โรงพยาบาลปทุมธานี โรงพยาบาลบางบ่อ โรงพยาบาลประชาธิปัตย์ โรงพยาบาลเซ็นทรัลปาร์ค จังหวัดขอนแก่น จำนวน 2 โรงพยาบาล จังหวัดอุดรธานี จำนวน 2 โรงพยาบาล โรงพยาบาลชุมแพ โรงพยาบาลบ้านผือ ศูนย์แพทย์ชาตะผดุง โรงพยาบาลกุมภวาปี จังหวัดภูเก็ต จำนวน 1 โรงพยาบาล จังหวัดสงขลา มีจำนวน 2 โรงพยาบาล โรงพยาบาลองค์การบริหารส่วนจังหวัดภูเก็ต โรงพยาบาลหาดใหญ่ โรงพยาบาลสะบ้าย้อย
ยาที่ใช้ : PrEP ยาทีโนโฟเวียร์ และ ยาเอ็มไตรไซทาบีน รูปยา
หน่วยบริการจะได้อะไรจากโครงการฯ พัฒนาศักยภาพ รูปแบบบริการที่ไม่ตีตรา โรงพยาบาล เครือข่ายทำงานในหน่วยงาน เครือข่ายทำงานนอกหน่วยงาน ข้อมูลในการพัฒนางานบริการ
ผู้รับบริการจะได้อะไรจากโครงการฯ ค่ายา สุขภาพที่ดี ผู้รับบริการ ค่า LAB บริการที่ไม่ตีตรา ข้อมูลความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี
ตารางชดเชยบริการ งบ TUC ค่า LAB ค่ายา Teno-EM 750 บาท/ขวด 140 80 150 HIV ทุก 3 เดือน 140 Cr ทุก 6 เดือน 80 HBsAg ครั้งเดียว 150 การตั้งครรภ์ ทุกครั้ง ที่สงสัย 100 ซิฟิลิส ทุก 6 เดือน 100 HCV ตามสิทธิ
ตารางชดเชยบริการ ส่งยา PrEP ให้ โรงพยาบาล งบ GF ส่งยา PrEP ให้ โรงพยาบาล ค่า LAB HIV ทุก 3 เดือน 140 Cr 1 ครั้ง 80 HBsAg 1 ครั้ง 150 การตั้งครรภ์ 4 ครั้ง 100 ซิฟิลิส ทุก 6 เดือน 100 HCV ตามสิทธิ
สื่อที่สนับสนุนการดำเนินงาน การพัฒนาแนวทางการดำเนินงานการจัดบริการ PrEP สื่อ คลิป เอกสาร เกี่ยวกับ PrEP งบประมาณในการพัฒนาศักยภาพ ช่องทางการสื่อสารการจัดบริการ www.buddystation.org ช่องทางการรายงานผลการดำเนินงาน WWW.prepthai.net
ตัวอย่างสื่อในโครงการ
สื่อในการให้บริการปรึกษา
www.buddystation.org
รายงานผลการให้บริการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีด้วยยาต้านไวรัสก่อนการสัมผัสเชื้อเอชไอวี http://www.prepthai.net Bureau of AIDS, TB and STIs Department of Disease Control, Ministry of Public Health, Thailand