Zero MMR Our Ultimate Goal นพ.ยุทธนา พูนพานิช สาธารณสุขนิเทศก์ เขต 9.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

สถานการณ์การบาดเจ็บเสียชีวิต นครราชสีมา เทศกาลสงกรานต์
การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ประจำปีงบประมาณ 2554
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2555 เดือน กันยายน 2555 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
การประกวดชมรม TO BE NUMBER ONE ดีเด่นระดับจังหวัด
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2625 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4241 อัตราว่าง จำนวน 1 อัตรา ตำแหน่งนักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
Birth asphyxia Pakamas Srisuvunrat.
ประชุมMCH Board จังหวัดอุตรดิตถ์ ครั้งที่ ๒/๒๕๕๘ วันพฤหัสที่ ๑๘มิถุนายน ๒๕๕๘ ณ ห้องประชุมภูสอยดาว สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ์
วันที่ 25 มกราคม 2559 เวลา – น. ณ โรงแรมพลูแมน ขอนแก่น นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ รองอธิบดี กรมควบคุมโรค.
การจัดการข้อมูล 3 ฐาน จังหวัดร้อยเอ็ด นางสุภาภรณ์ ทัศนพงศ์ สสจ. ร้อยเอ็ด.
วันศุกร์ที่ 3 มิถุนายน 2559 เวลา น. ณ ห้องบัญชาการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยแห่งชาติ อาคาร 3 ชั้น 5 กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย การประชุมกองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสา.
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระบบบัญชี สุขภาพ (1-8) กุมภาพันธ์ 2558 สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดบุรีรัมย์
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
Service Plan 5 สาขาหลัก.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง
การจัดบริการคลินิกชะลอไตเสื่อม(CKD Clinic)
SP สาขาอุบัติเหตุและฉุกเฉิน
EFFECTIVE REDUCTION MATERNAL MORTALITY RATIO
สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบายการควบคุมโรคไม่ติดต่อ ด้านการเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันได้ดี ปีงบประมาณ 2561.
จำนวนเตียงจำนวนผู้รับบริการ
COMPETENCY DICTIONARY
เครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอน้ำพอง
คณะทำงานสาขามารดาและ ทารกแรกเกิด เขตสุขภาพที่ 12 (MCH Board)
ระบบเฝ้าระวังการตายมารดา
ห้องผ่าตัด วิสัญญีและ ห้องคลอด
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
การสัมมนาแนวทางการดำเนินงาน
ผลการดำเนินงานMCHBเขต ปี 2558
รพ.สต.สายใยรัก อำเภอสัตหีบ
การติดตามผลงาน OKRs ปีงบประมาณ 2562 (ไตรมาส 1)
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ประเด็น PA แผนงาน พัฒนาคุณภาพชีวิตแม่และเด็ก (Maternal & Child ) ลดมารดาตาย และเด็กต่ำกว่า 1 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ Target / KPI No : แม่ไม่เสียชีวิตจากการตั้งครรภ์และการคลอด.
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
สรุปแนวทางการดำเนินงานวัณโรค ปี ๒๕๖๑
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
โรคติดเชื้อไวรัสซิก้า
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก สัปดาห์ที่ 35
สรุปผลการนิเทศงานเฉพาะกิจ งานข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ
องค์กรแพทย์.
คู่มือ มหัศจรรย์ 1,000 วันแรกแห่งชีวิต สำหรับ Child & Family Team (CFT) เขตสุขภาพที่ 9.
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
กลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย เขตสุขภาพที่ 6
คลินิกโรคติดเชื้อเด็ก โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
การเตรียมการป้องกันและแก้ปัญหาภัยแล้ง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข โรงแรมเดอะรอยัลเจมส์ กอล์ฟ รีสอร์ท
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การป้องกันควบคุมโรค NCDs
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดฉะเชิงเทรา
ปัญหาและสาเหตุโดยย่อ
โครงการส่งเสริมการบริหารจัดการการเงินชุมชน
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
การอบรมฟื้นฟูความรู้ผู้จัดการการดูแลผู้สูงอายุ (Care Manager : CM)
มั่นใจเชื่อถือได้ เหรียญ+ป้าย ลูกของแม่
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
การเตรียมการตรวจประเมินตัวชี้วัด 3.4 Best Service
สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 9 จังหวัดบุรีรัมย์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Zero MMR Our Ultimate Goal นพ.ยุทธนา พูนพานิช สาธารณสุขนิเทศก์ เขต 9

MMR: Maternal Mortality Ratio จำนวนการตายของมารดา X 100,000 จำนวนการเกิดมีชีพในช่วงเวลาเดียวกัน

การตายของมารดา การตายของหญิงขณะตั้งครรภ์/คลอด/ หรือภายใน 42 วัน หลังสิ้นสุดการตั้งครรภ์ ไม่ว่าอายุครรภ์จะเป็นเท่าใด การตั้งครรภ์ที่ตำแหน่งใด จากสาเหตุที่เกี่ยวข้องหรือก่อให้เกิดความรุนแรงขึ้นจากการตั้งครรภ์และหรือการดูแลรักษาขณะตั้งครรภ์และคลอด แต่ไม่ใช่เกิดจากอุบัติเหตุ หรือสาเหตุที่ไม่เกี่ยวข้อง ต่อการเกิดมีชีพ 100,000 คน 

ข้อมูล 54 55 56 57 58 59 MMR ส่งต่อจาก 3ราย (22.15) (20.38) (22.18) 4ราย (30.65) (32.02) 1ราย สาเหตุ -Fatty Liver -PPH& DIC -Embolism -Septic shock -PPH -Pre-eclampsia -H1N1 -Septic abortion -Sepsis (Diarrhea) ส่งต่อจาก -พนมดงรัก -ท่าตูม -ศีขรภูมิ ชุมพลบุรี จอมพระ พนมดงรัก สังขะ รัตนบุรี ปราสาท

The most common cause of death is Detection Treatment Referral Delayed

Zero MMR Is it possible ?

Cause to Mother Death Inquality ANC process -Risk identification & management 2. Inquality labour process -Labour risk assessment 3. Inadequate resuscitation 4. Delayed & Poor transfer system 5. Inquality personnel

We must do… 1. True quality ANC system - Quality ANC process - Risk identification & management True quality labor system - Labor risk assessment Good transfer system Good critical care system Qualified personnel

Quality “ Doing it right at the first time”

หลักการ ANC แนวใหม่ คัดกรอง High Risk Pregnancy เพื่อรับการดูแลเป็นพิเศษ / เพื่อส่งต่อ สะดวกในการรับบริการ เวลานัดเหมาะสม การส่งตรวจ ทำเฉพาะ เมื่อมีประโยชน์จริง การส่งตรวจ ควรทำได้รวดเร็ว ได้ผลในวันนั้น นัดตรวจน้อยครั้ง แต่ได้ประสิทธิภาพ คุณภาพสูง ค่าใช้จ่ายลดลงหรือคงเดิม 7. มีความพึงพอใจทั้งผู้รับและผู้ให้บริการ

ANC ( visit ) who to see What to do 1st < 12 wks. Doctor 2nd 20 wks. 3rd 26 wks. 4th 30-32 wks. Obstetrician 5th 34 wks. 6th 36 wks. 7th 38 wks. 8th 40 wks.

Risk identification & management Risk Diagnosis Normal Pregnancy Low Risk Pregnancy High Risk Pregnancy Nurse GP doctor Nurse obstetrician

ANC คุณภาพ (แนวใหม่) เหมาะกับ Normal pregnancy & Low risk pregnancy ANC มาตรฐาน (ดั้งเดิม) เหมาะกับ High risk pregnancy

ใครทำหน้าที่ ANC พยาบาลรพ.สต. ANC เฉพาะ Normal Preg. พยาบาล & แพทย์ ที่รพช. ANC เฉพาะ Normal Preg. และ Low Risk Pregnancy พยาบาลที่รพศ/รพท. ANC เฉพาะ Normal Preg. และ Low Risk Preg. สูติแพทย์ ANC เฉพาะ High Risk Preg., Normal Preg. 30-32 wks. & case พิเศษ

True quality ANC 1st ANC ต้องพบแพทย์ confirm risk 2nd ANC ต้องพบแพทย์ Ultrasound 4th ANC ต้องพบสูติแพทย์ Growth, PIH & Presentation, Preterm

HRP: High Risk Pregnancy Who is going to do ANC & give birth to them ?

HRP: High Risk Pregnancy 1. ประวัติทางสูติกรรม 2. ครรภ์ปัจจุบัน 3. โรคทางอายุรกรรม

Labour Risk Assessment วัตถุประสงค์ เพื่อไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อน ในช่วงก่อนคลอด ขณะคลอดและหลังคลอด เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนจากการคลอด ในกรณีที่มีภาวะตั้งครรภ์เสี่ยง เพื่อควบคุมไม่ให้เกิดความรุนแรง ในกรณี มีภาวะแทรกซ้อนเกิดขึ้นแล้ว จนอันตรายถึงแก่ชีวิต

Labor Risk Assessment การประเมินมารดา การประเมินทารกและรก การประเมินศักยภาพ รพ.และบุคลากร การประเมินญาติ ผู้ดูแล และบริบทของสังคม

Labor Risk Assessment การประเมินมารดาก่อนคลอด เพื่อจัดการความเสี่ยง ภาวะคลอดยาก คลอดติดไหล่ ภาวะความดันสูงหรือชัก ภาวะตกเลือดหลังคลอด การบาดเจ็บจากการคลอด

Labor Risk Assessment การประเมินทารก & รก เพื่อจัดการความเสี่ยง ทารกเครียดรุนแรง ทารกได้รับอันตรายจากการคลอด ทารกนน.น้อย ได้รับการดูแล ภาวะรกค้าง รกไม่คลอด รกติดแน่น มีห้องผ่าตัด วิสัญญี ICU & Equipment

Labor Risk Assessment การประเมินศักยภาพรพ. & บุคลากร ความสามารถของบุคลากร คลังเลือด คลังยา เหมาะสมหรือไม่ รถ Ambulance พร้อมอุปกรณ์ มีคู่มือการดูแล & การส่งต่อ

Qualified personnel Qualified ANC nurse Qualified ANC doctor Qualified labour nurse Qualified labour doctor Qualified obstetrician

Qualified ANC Nurse การซักประวัติ การตรวจร่างกาย การตรวจครรภ์ การประเมินอายุครรภ์ การประเมินความเสี่ยง การให้ความรู้ และคำปรึกษา

Back to Basic Advance Quality

My Principle…. สูติแพทย์ คือ บุคลากรที่มีความรู้ ทักษะ สูติแพทย์ คือ บุคลากรที่มีความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ ดีที่สุด จัดให้มี สูติแพทย์ ทุกรพ.

Teleline Consulting System TCS: Teleline Consulting System สูติแพทย์ ทุกรพ. One Province One Labour Room Labour risk assessment ให้คำแนะนำ เมื่อพบว่ามีความเสี่ยง

Teleline Consulting System TCS: Teleline Consulting System Detection Treatment Referral Early

Indicator for TCS No prolonged 2nd stage No repeated shock No convulsion

สิ่งที่จะต้องทำให้ได้ ระบบ ANC ที่มีคุณภาพอย่างแท้จริง ระบบการคลอดที่มีคุณภาพอย่างแท้จริง -สูติแพทย์ ทุกรพ. - One Province One Labor Room - Teleline Consulting System - Update CPG, คู่มือการฝากครรภ์ - เครื่องมือทันสมัย 3. Qualified บุคลากรทุกระดับ

ระยะปกติ ระยะก่อน วิกฤติ ระยะวิกฤติ เสียชีวิต

TCS: Teleline Consulting System True quality ANC system True quality labor system Qualified personnel TCS: Teleline Consulting System Zero Defect Zero MMR

Zero MMR (แม่ไม่เสียชีวิต) ระบบการทำงานดี บุคลากรมีคุณภาพ ความผิดพลาดไม่เกิด Zero MMR (แม่ไม่เสียชีวิต)

To improve the quality of EMS & ER Obstetric Emergency To improve the quality of EMS & ER

McKinsey ’s 7-S model Strategy Structure System Staff Shared Value Style Skill 11/6/2018

Who are MCH board? What are they doing?

Y.Poonpanich.All rights reserved สวัสดี 06/11/61 Y.Poonpanich.All rights reserved

ปัญหาที่พบ ANC 5 ครั้ง (<12 wk, 20 wk, 26 wk, 32 wk, 38 wk) 2.ความรู้และประสบการณ์ 3.ความพร้อมของห้องคลอด 4.ส่งต่อล่าช้า 5. Etc.

Direct cause : Amniotic fluid embolism สาเหตุมารดาตายปี 2555 : 12 ราย Direct cause : Amniotic fluid embolism จังหวัด/ อำเภอ ANC คลอด Refer death 1.ชย.: แก้งคร้อ (M2) แก้งคร้อ แม่เป็น CHF ANC 1 ครั้ง แก้งคร้อ ลูกไม่ดิ้น 3 วัน แม่ + ลูกตายที่ ER - 2. นม. : ครบุรี (M2) ครบุรี ANC หลัง 12 wks. จำนวน 4 ครั้ง ครบุรี NL 3.นม.มหาราช ป.แพทย์ ANCก่อน12 wks. มีเลือดออกตามไรฟัน มหาราช V/E 4. สร. ศรีขรภูมิ ศรีขรภูมิ ANC 5 ครั้งก่อน 12 wks. C/S รพศ.สร.

สาเหตุมารดาตายปี 2555 : 12 ราย(ต่อ) จังหวัด/อำเภอ ANC คลอด Refer death Postpartum Hemorrhage บร. ประโคนชัย (M2) มดลูกแตก - 2. สร. ชุมพลบุรี (F2) ชุมพลบุรี หลัง 12 wk. 4 ครั้ง NL รพศ.สร. PIH ชย. : หนองบัวแดง หนองบัวแดง+ คลินิก 6 ครั้ง ก่อน 12 wks. หนองบัวแดง C/S รพศ.ชย. 2. นม. มหาราช มารดาบ้านอยู่ จักราช เทพสถิต ANC 2 ครั้ง มหาราช แม่ +ลูกตาย intra cerebral hemorrhage

สาเหตุมารดาตายปี 2555 : 12 ราย(ต่อ) จน. จังหวัด/อำเภอ ANC คลอด Refer death Indirect cause Β-thalassemia 1 นม. มหาราช สูงเนิน ANCหลัง 28 wk. ฝาก 2 ครั้ง มหาราช C/S แม่+ ลูกตาย - Common bile duct & Intra hepatic duct) & thalassemia & sepsis บุรีรัมย์ ANC สถานีอนามัย 3 ครั้ง G1P0 GA ~ 28 wrk. รพ.บุรีรัมย์ Epilepsy บร.: ปะคำ ปะคำ ANC ที่23 wks. ฝาก 8 ครั้ง ชักและDeath ที่บ้าน cirrhosis & sepsis สร. : สังขะ(M2) สังขะ สังขะ NL PPH septic shock

สาเหตุมารดาตายปี 2556 : 9 ราย จน. จังหวัด/อำเภอ ANC คลอด refer death Direct cause Amniotic fluid embolism 3 นม.- ขามสะแกแสง (F2) - ด่านขุนทด (M2) ชย. ภูเขียว (M2) ขามแสง ด่านขุนทด คลินิกภูเขียว ด่าน(c/s) 8 วันตาย c/s ภูเขียว มหาราช (autopsy) รพศ.ขอนแก่น PPH 2 นม. ประทาย (F1) สร. สังขะ (M2) ประทาย สังขะ+รพ.สต. สังขะ(NL) มหาราช(ตายระหว่างทาง รพศ.สร.

สาเหตุมารดาตายปี 2556 : 9 ราย(ต่อ) จน. จังหวัด/อำเภอ ANC คลอด refer death Direct cause Uterine rupture 1 นม. โชคชัย (M2) โชคชัย c/s โชคชัย มหาราช ตายระหว่างทาง Severe pre-eclampsia 2 บร. นางรอง(M1) -คลินิกชลบุรีถึง 34 wks. ย้ายกลับบ้านกรวดแล้วไม่ ANC - 37 wks.เจ็บครรภ์ ปวดศรีษะไป รพ.ละหานทรายพบ BP สูง Dx. HELLP ส่งต่อนารอง นางรอง : C/S ลูกรอด - สร. ปราสาท(M1) ปราสาท รพศ.สร. Indirect H1N1 สร. รพ.สุรินทร์ จอมพระ (ฝากที่ 21 wks.) รพ.สร. รพ.สร.c/s

สาเหตุมารดาตายปี 2557 : 7 ราย จน. จังหวัด/อำเภอ ANC คลอด Refer death Direct cause PPH 3 สร.: สังขะ (M2) มุงกุฎวัฒนะ ฝากก่อน 12 wk. 6 ครั้ง + สังขะ v/E ตกเลือด รพศ.สร. สังขะ + รพ.สต. ANC หลัง 12 wk. ครบ 5 ครั้ง v/E fail สังขะ F/E รพศ.สร. แม่+ลูกตาย ชย. : คอนสาร (M2) คอนสาร คอนสาร : รกติดแน่น รพ.ชุมแพ Hysterectomy Amniotic fluid embolism 1 สร.: พนมดงรัก(F2) พนมดงรัก NL

สาเหตุมารดาตายปี 2557 : 7 ราย(ต่อ) จน. จังหวัด/อำเภอ ANC คลอด Refer death Indirect cause Influenza H1N1 1 บร.: รพ.บุรีรัมย์ คลินิก ที่ประโคนชัย รพ.บร.: C/S G4P3 GA 31+4 wks. รับ admit จากคลินิกด้วยมีไข้ - Fatty liver in pregnancy สร.: รพ.สุรินทร์ รัตนบุรี(M2) รพ.สุรินทร์

สาเหตุมารดาตายปี 2556 : 9 ราย จำนวน จังหวัด/อำเภอ Direct cause - Amniotic fluid embolism 3 -ขามสะแกแสง (F2) ด่านขุนทด (M2) หนองบัวแดง (M2) - PPH 2 ประทาย (F1) สังขะ (M2) - Pre-eclampsia นางรอง(M1) ปราสาท(M1) -Uterine rupture 1 โชคชัย (M2) Indirect cause -Influenza ,H1N1 รพ.สุรินทร์ (A)

สาเหตุมารดาตาย ปี 2555 : 12 ราย จำนวน Direct cause Amniotic fluid embolism 4 Postpartum Hemorrhage 2 PIH Indirect cause Β-thalassemia, CA.Cx., Epilepsy, DM & cirrhosis & sepsis 1,1,1,1

มารดาตาย ANC รพ. A รพ. S รพ.M1 รพ.M2 รพ. F1-F3 2555 3 5 2556 2 4 2557 1 Total 13 7

Early ANC (≤ 12 wks.)

ANC ≥ 5 ครั้ง

ผลงาน 3 เดือน ปี 2557 เดือน มารดา คลอด จำนวน ทารก ส่งต่อ (ร้อยละ) ตุลาคม 567 573 58 (10.3) พฤศจิกายน 441 442 37 (8.4) ธันวาคม 469 476 39 (8.3)

การส่งต่อที่ไม่เหมาะสม การส่งต่อในแต่ละเวร เดือน เวรเช้า เวรบ่าย เวรดึก ตุลาคม 19 28 11 พฤศจิกายน 17 13 7 ธันวาคม 18 6 การส่งต่อที่ไม่เหมาะสม ตค. 8 ราย พย. 1 ราย ธค. 3 ราย

อัตราส่วนมารดาตาย เขต 9 ปี 2555-2557 2556 2557

อัตราส่วนมารดาตาย เขตบริการสุขภาพที่ 9 ปี 2555 (3 case) (11 case) (3 case) (3 case)

อัตราส่วนมารดาตาย เขตบริการสุขภาพที่ 9 ปี 2556 (3 case) (4 case) (1 case) (9 case) (1 case)

อัตราส่วนมารดาตาย เขตสุขภาพที่ 9 ปี 2557 (4 case) (7 case) (1 case) (1 case)