การกำหนดราคาและผลผลิต ในตลาดแข่งขันสมบูรณ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 7 การกำหนดราคาสินค้าในตลาด
Advertisements

บทที่ 8 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Perfect Competition) ความหมายของตลาด ลักษณะของตลาดแข่งขันสมบูรณ์
บทที่ 2 การลงทุนในหุ้นสามัญ
บทที่ 1 การรวมธุรกิจ.
บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
บทนำ บริษัทในเครือมักจะมีธุรกรรมที่เกี่ยวข้องกัน
บทที่ 10 ผลตอบแทนที่คำนึงถึงความเสี่ยง ของกลุ่มหลักทรัพย์
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
เฉลยแบบฝึกหัดเตรียมความพร้อมก่อนเรียน บทที่ 3 Consumer Behavior
บริโภคอย่างมีความสุข งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
การบริหารการค้าปลีกและการค้าส่ง
GDP GNP PPP.
Royal project and Government project พระบิดาแห่งชาวโคนมไทย.
ความเป็นมาของการศึกษาความเป็นไป ได้ของโครงการ ความหมายของการศึกษาความเป็นไป ได้ของโครงการ ขอบข่ายการศึกษาความเป็นไปได้ของ โครงการ การประเมินโครงการและการจัดลำดับ.
เรื่องที่ครอบคลุม การซื้อขายสินค้าในตลาดแข่งขันสมบูรณ์
คนเป็นทรัพย์สินที่มี ค่ายิ่งของหน่วย อ้างอิง : สมาคมการจัดการงานบุคคลแห่งประเทศไทย คน เก่ง คน ดี คน มี ความ สุข เป้าหมายการ พัฒนากำลังพล เพื่อให้ทำงานอย่าง.
เงินเฟ้อ Inflation.
การแพร่กระจายนวัตกรรม Diffusion of Innovation
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์
บทที่ 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่
The Theory of Comparative Advantage: Overview
ความเค้นและความเครียด
บทที่ 6 ต้นทุนการผลิตและรายรับจากการผลิต
การเงินธุรกิจ (Business Finance) รหัสวิชา FIN1104
ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์
ตำแหน่งสินค้าในใจผู้ บริโภค
บทที่ 1 หน่วยผลิตและทางเลือกภายใต้โครงสร้างตลาด
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
บทที่ 2 กลยุทธ์ช่องทางการจัดจำหน่าย (Place Strategy)
Factors Markets of Resource Markets ตลาดปัจจัยการผลิต
1. การสอบกลางภาค วันที่ 6 ตุลาคม เวลา น. เก็บ 40 % 2
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน (Elasticity of Demand and Supply) ผศ.ดร.จารุวรรณ ชนม์ธนวัฒน์
การวิเคราะห์ ต้นทุน ปริมาณ กำไร
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ระบบเศรษฐกิจ.
บทที่ 4 พฤติกรรมผู้บริโภค
ดีมานด์ ซัพพลาย และราคาตลาด (Demand Supply and Market Price)
ข่าวประชาสัมพันธ์สำนักงานเกษตรจังหวัดสุโขทัย
วิทยาลัยเทคโนโลยี ดอนบอสโกสุราษฎร์
แผนการขายลูกค้า SMEs พื้นที่ บน.3.1 ขบน ก.พ
บทที่ 4 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค (Theory of Consumer Behavior)
Marketing.
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต การศึกษาด้านอุปทาน ทฤษฏีการผลิต (บทที่ 5)
บทที่ 3 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ต้นทุน-ปริมาณ-กำไร
บทที่ 7 การกำหนดราคาสินค้าในตลาด
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
บทบาทขององค์การความร่วมมือทางเศรษฐกิจในภูมิภาคต่าง ๆ
ความดัน (Pressure).
การเงินทางธุรกิจ (Business Finance) รหัสวิชา FIN1103
บทที่ 6 เงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุน
ข้อดี ข้อเสีย ของ ค่าเงินบาทแข็ง
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
องค์กรต้นแบบอนามัยไร้พุง ปี 2552
หัวข้อการนำเสนอรายงาน
การวางแผนกำลังการผลิต
นายเกียรติศักดิ์ คนธสิงห์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพายัพและบริหารธุรกิจ
Supply Chain Management
Business Finance FI 212 Lectured By ญาลดา พรประเสริฐ.
การจัดทำแผนการสอบบัญชีโดยรวม
อ.ชิดชม กันจุฬา (ผู้สอน)
กลยุทธ์ราคา (Pricing Strategy)
8/26/2019 ชื่อบริษัท แผนธุรกิจ.
อ. อรนพัฒน์ เหมือนเผ่าพงษ์ สาขาวิชาการจัดการโรงแรมและธุรกิจที่พัก
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การกำหนดราคาและผลผลิต ในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ บทที่ 7 การกำหนดราคาและผลผลิต ในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ 9/22/2018

ลักษณะของตลาดแข่งขันโดยสมบูรณ์ มีผู้ซื้อและผู้ขายเป็นจำนวนมาก Price taker สินค้าลักษณะเหมือนกันทุกประการ (Homogeneous product ) ผู้ผลิตแต่ละรายไม่ถูกจำกัดในการเลือกใช้นโยบายการค้าใดๆ ไม่มีการรวมตัวกันระหว่างผู้ผลิตและผู้บริโภค การเข้าและออกจากอุตสาหกรรมทำได้อย่างเสรี ( Free entry )

การเคลื่อนย้ายปัจจัยการผลิตทำได้ง่าย ( Free mobility ) ผู้ซื้อและผู้ขายแต่ละคนมีความรอบรู้ในสภาวะตลาดเป็นอย่างดี ( Perfect knowledge )

รูปแสดงเส้นดีมานด์และซัพพลายของอุตสาหกรรมและหน่วยธุรกิจ ราคา ราคา S P P D=AR=MR D ปริมาณผลผลิต ปริมาณผลผลิต

การวิเคราะห์ดุลยภาพ. 1. การวิเคราะห์ดุลยภาพ ระยะสั้น. 2 การวิเคราะห์ดุลยภาพ 1. การวิเคราะห์ดุลยภาพ ระยะสั้น 2. การวิเคราะห์ดุลยภาพ ระยะยาว

การวิเคราะห์ดุลยภาพระยะสั้น เงื่อนไขที่ทำให้เลือกผลิต แล้วได้รับกำไรสูงสุดคือ ณ จุดที่ MR = MC

กำไรส่วนเกิน (Excess Profit) MC A P = D = AR = MR P1 AC AVC B C E F Q Q1 กำไรส่วนเกิน (Excess Profit)

กำไรปกติ (Normal Profit) MC AC AVC P = D = AR = MR P2 A B Q Q2 กำไรปกติ (Normal Profit)

P MC AC AVC B C P = D = AR = MR P3 A E F Q Q3 ขาดทุน (Loss)

P MC AC AVC B 300 P = D = AR = MR 200 A 100 F Q 20

P MC AC AVC B C P = D = AR = MR P4 A Shut down point Q Q4

P MC AC AVC C E B P5 P = D = AR = MR A Q Q5

P MC AC AVC P1 P2 P3 P4 P5 Q Q5 Q4 Q3 Q2 Q1

รูปแสดงการลากเส้นซัพพลายระยะสั้นของหน่วยธุรกิจจากเส้น MC ราคา ปริมาณผลผลิต S L P1 P2 Q1 Q2 P3 Q3 P4 Q4 R N M

สรุป ดุลยภาพระยะสั้นของหน่วยธุรกิจ สรุป ดุลยภาพระยะสั้นของหน่วยธุรกิจ กำไรเป็นกำไรสูงสุด ถ้าขาดทุนเป็นการขาดทุนน้อยที่สุด ณ จุดที่ MC = MR ในระยะสั้นหน่วยธุรกิจสามารถจะได้รับกำไรส่วนเกิน กำไรปกติ หรือ ขาดทุน

แบบฝึกหัด P = D = AR = MR P MC AC AVC 650 B 500 450 A 200 F Q 20 50 Q 20 50 100

คำถาม 1. ผู้ผลิตควรผลิตกี่หน่วย 2. ณ ดุลยภาพ รายรับเฉลี่ยมีค่าเท่าใด 1. ผู้ผลิตควรผลิตกี่หน่วย 2. ณ ดุลยภาพ รายรับเฉลี่ยมีค่าเท่าใด 3. ณ ดุลยภาพ ต้นทุนเฉลี่ยมีค่าเท่าใด 4. ณ ปริมาณการผลิต 20 หน่วย ต้นทุนเพิ่มมีค่าเท่าใด 5. ณ ปริมาณการผลิต 50 หน่วย รายรับเพิ่มมีค่าเท่าใด 6. ณ ดุลยภาพ รายรับรวมมีค่าเท่าใด

7. ณ ดุลยภาพ ต้นทุนรวมมีค่าเท่าใด 8. ณ ดุลยภาพ ต้นทุนคงที่เฉลี่ยมีค่าเท่าใด 9. ในขบวนการผลิต ผู้ผลิตเสียต้นทุนคงที่เท่าใด 10. ณ ปริมาณการผลิต 100 หน่วย ผู้ผลิตเสียต้นทุนผันแปรเฉลี่ยเท่าใด 11. ณ ดุลยภาพผู้ผลิตเผชิญกับสภาวะใด ผู้ผลิตยังทำการผลิตต่อไปหรือไม่ เพราะเหตุใด

การวิเคราะห์ดุลยภาพระยะยาว เงื่อนไขดุลยภาพคือ D = P = AR = MR = SMC = LMC = LAC = SAC

หน่วยผลิตสามารถเปลี่ยนแปลงขนาดและจำนวนปัจจัยการผลิตทุกชนิดได้ตามต้องการ สามารถปรับขนาดโรงงานให้เหมาะสมกับการผลิตได้ตลอดเวลา หน่วยผลิตยังสามารถเลิกทำการผลิตเมื่อเห็นว่าผลตอบแทนที่ได้รับไม่คุ้ม ผู้ผลิตรายอื่นสามารถเข้ามาแข่งขันได้โดยเสรี

รูปแสดงดุลยภาพของหน่วยธุรกิจในระยะยาว ราคา LMC SMC1 LAC SAC3 SAC1 N M SMC2 B K SAC2 P D=AR=MR A R S ปริมาณผลผลิต Q1 Q2 Q3

สรุป ณ ดุลยภาพในระยะยาวผู้ผลิตจะได้รับเพียงกำไรปกติ(Normal Profit) อันเป็นผลเนื่องมาจากคุณสมบัติ Free entry

แนวความคิดเกี่ยวกับตลาดแข่งขันสมบูรณ์ 1. ผู้บริโภคจะได้รับความพอใจสูงสุดในการเลือกซื้อสินค้าและบริการ 2. ผู้ผลิตสามารถจัดสรรทรัพยากร หรือปัจจัยการผลิตได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด 3. ผู้บริโภคมีโอกาสที่จะเลือกซื้อสินค้าและบริการได้ในราคาทีต่ำที่สุด