การกำหนดราคาและผลผลิต ในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ บทที่ 7 การกำหนดราคาและผลผลิต ในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ 9/22/2018
ลักษณะของตลาดแข่งขันโดยสมบูรณ์ มีผู้ซื้อและผู้ขายเป็นจำนวนมาก Price taker สินค้าลักษณะเหมือนกันทุกประการ (Homogeneous product ) ผู้ผลิตแต่ละรายไม่ถูกจำกัดในการเลือกใช้นโยบายการค้าใดๆ ไม่มีการรวมตัวกันระหว่างผู้ผลิตและผู้บริโภค การเข้าและออกจากอุตสาหกรรมทำได้อย่างเสรี ( Free entry )
การเคลื่อนย้ายปัจจัยการผลิตทำได้ง่าย ( Free mobility ) ผู้ซื้อและผู้ขายแต่ละคนมีความรอบรู้ในสภาวะตลาดเป็นอย่างดี ( Perfect knowledge )
รูปแสดงเส้นดีมานด์และซัพพลายของอุตสาหกรรมและหน่วยธุรกิจ ราคา ราคา S P P D=AR=MR D ปริมาณผลผลิต ปริมาณผลผลิต
การวิเคราะห์ดุลยภาพ. 1. การวิเคราะห์ดุลยภาพ ระยะสั้น. 2 การวิเคราะห์ดุลยภาพ 1. การวิเคราะห์ดุลยภาพ ระยะสั้น 2. การวิเคราะห์ดุลยภาพ ระยะยาว
การวิเคราะห์ดุลยภาพระยะสั้น เงื่อนไขที่ทำให้เลือกผลิต แล้วได้รับกำไรสูงสุดคือ ณ จุดที่ MR = MC
กำไรส่วนเกิน (Excess Profit) MC A P = D = AR = MR P1 AC AVC B C E F Q Q1 กำไรส่วนเกิน (Excess Profit)
กำไรปกติ (Normal Profit) MC AC AVC P = D = AR = MR P2 A B Q Q2 กำไรปกติ (Normal Profit)
P MC AC AVC B C P = D = AR = MR P3 A E F Q Q3 ขาดทุน (Loss)
P MC AC AVC B 300 P = D = AR = MR 200 A 100 F Q 20
P MC AC AVC B C P = D = AR = MR P4 A Shut down point Q Q4
P MC AC AVC C E B P5 P = D = AR = MR A Q Q5
P MC AC AVC P1 P2 P3 P4 P5 Q Q5 Q4 Q3 Q2 Q1
รูปแสดงการลากเส้นซัพพลายระยะสั้นของหน่วยธุรกิจจากเส้น MC ราคา ปริมาณผลผลิต S L P1 P2 Q1 Q2 P3 Q3 P4 Q4 R N M
สรุป ดุลยภาพระยะสั้นของหน่วยธุรกิจ สรุป ดุลยภาพระยะสั้นของหน่วยธุรกิจ กำไรเป็นกำไรสูงสุด ถ้าขาดทุนเป็นการขาดทุนน้อยที่สุด ณ จุดที่ MC = MR ในระยะสั้นหน่วยธุรกิจสามารถจะได้รับกำไรส่วนเกิน กำไรปกติ หรือ ขาดทุน
แบบฝึกหัด P = D = AR = MR P MC AC AVC 650 B 500 450 A 200 F Q 20 50 Q 20 50 100
คำถาม 1. ผู้ผลิตควรผลิตกี่หน่วย 2. ณ ดุลยภาพ รายรับเฉลี่ยมีค่าเท่าใด 1. ผู้ผลิตควรผลิตกี่หน่วย 2. ณ ดุลยภาพ รายรับเฉลี่ยมีค่าเท่าใด 3. ณ ดุลยภาพ ต้นทุนเฉลี่ยมีค่าเท่าใด 4. ณ ปริมาณการผลิต 20 หน่วย ต้นทุนเพิ่มมีค่าเท่าใด 5. ณ ปริมาณการผลิต 50 หน่วย รายรับเพิ่มมีค่าเท่าใด 6. ณ ดุลยภาพ รายรับรวมมีค่าเท่าใด
7. ณ ดุลยภาพ ต้นทุนรวมมีค่าเท่าใด 8. ณ ดุลยภาพ ต้นทุนคงที่เฉลี่ยมีค่าเท่าใด 9. ในขบวนการผลิต ผู้ผลิตเสียต้นทุนคงที่เท่าใด 10. ณ ปริมาณการผลิต 100 หน่วย ผู้ผลิตเสียต้นทุนผันแปรเฉลี่ยเท่าใด 11. ณ ดุลยภาพผู้ผลิตเผชิญกับสภาวะใด ผู้ผลิตยังทำการผลิตต่อไปหรือไม่ เพราะเหตุใด
การวิเคราะห์ดุลยภาพระยะยาว เงื่อนไขดุลยภาพคือ D = P = AR = MR = SMC = LMC = LAC = SAC
หน่วยผลิตสามารถเปลี่ยนแปลงขนาดและจำนวนปัจจัยการผลิตทุกชนิดได้ตามต้องการ สามารถปรับขนาดโรงงานให้เหมาะสมกับการผลิตได้ตลอดเวลา หน่วยผลิตยังสามารถเลิกทำการผลิตเมื่อเห็นว่าผลตอบแทนที่ได้รับไม่คุ้ม ผู้ผลิตรายอื่นสามารถเข้ามาแข่งขันได้โดยเสรี
รูปแสดงดุลยภาพของหน่วยธุรกิจในระยะยาว ราคา LMC SMC1 LAC SAC3 SAC1 N M SMC2 B K SAC2 P D=AR=MR A R S ปริมาณผลผลิต Q1 Q2 Q3
สรุป ณ ดุลยภาพในระยะยาวผู้ผลิตจะได้รับเพียงกำไรปกติ(Normal Profit) อันเป็นผลเนื่องมาจากคุณสมบัติ Free entry
แนวความคิดเกี่ยวกับตลาดแข่งขันสมบูรณ์ 1. ผู้บริโภคจะได้รับความพอใจสูงสุดในการเลือกซื้อสินค้าและบริการ 2. ผู้ผลิตสามารถจัดสรรทรัพยากร หรือปัจจัยการผลิตได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด 3. ผู้บริโภคมีโอกาสที่จะเลือกซื้อสินค้าและบริการได้ในราคาทีต่ำที่สุด