วิชา SG003 เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวัน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ซอฟแวร์ SOFTWARE น า ง ส า ว ฐ ิ ติ ม า น า ม ว ง ศ์ เ ล ข ที่ 4 3 ชั้ น ม. 4 / 7.
Advertisements

BY KIADTIPONG YORD. CHANDRA 2004 :: COMPUTER NETWORK ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และการกระจาย Computer Network and Distributed LAN Software เกียรติพงษ์ ยอดเยี่ยมแกร.
จัดทำโดย น. ส. ดวงกมล งามอยู่เจริญ เลขที่ 8 น. ส. ณัชชา เชื้อตา เลขที่ 6 เตรียมบริหารธุรกิจปี 1.
การเพิ่ม ลบ จำกัดสิทธิ์ User จัดทำโดย 1. นายธัชนนท์ ต๊ะต้องใจ 1-B เลขที่ 4 2. นาย ไพบูรณ์ อินทะซาว 1-B เลขที่ 23.
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
การใช้งานระบบ MIS ความสำคัญและผลกระทบของระบบสารสนเทศที่มีต่อธุรกิจ
Information and Communication Technology Lab2
ซอฟต์แวร์ระบบที่รู้จักกันดี คือซอฟต์แวร์ควบคุมการปฏิบัติการ ของคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการเป็นชุดคำสั่งที่ใช้ควบคุมระบบฮาร์ดแวร์และ.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
Computer in Business เรื่อง การใช้งาน Access เบื้องต้น.
วิชา. การใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในชีวิตประจำวัน บทที่ 2
1. Select query ใช้สำหรับดึงข้อมูลที่ต้องการ
Database & DBMS Architecture วรวิทย์ พูลสวัสดิ์. 2 2 ฐานข้อมูล (Database) - Data and its relation - Databases are designed to offer an organized mechanism.
และสร้างเว็บไซต์ประเภทCMS
ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
การรักษาความปลอดภัยข้อมูลขั้นพื้นฐาน
โปรแกรมสต๊อกสินค้า และ โปรแกรมขายหน้าร้าน Nanosoft Smart INV.NET วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปและการ ประยุกต์ใช้งาน อ. วิสุตร์ เพชรรัตน์
จุดประสงค์การเรียนรู้ นักเรียนบอกองค์ประกอบของระบบ คอมพิวเตอร์ได้ สาระการเรียนรู้ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ บุลากร คอมพิวเตอร์ ข้อมูล.
เตชิษฐ์ เรือง ไพศาล.  คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าที่ใช้ไฟฟ้า กระแสตรงทำงาน  ข้อมูลภายในเป็นข้อมูลดิจิตอล  …..  แทนข้อมูลเหล่านี้ด้วยแรงดันไฟฟ้า.
บทที่ 2 โครงสร้างและหน้าที่ การทำงาน ของระบบคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์ Software รายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 3. ความหมายและความสำคัญของซอฟต์แวร์ ซอฟต์แวร์ (Software) หมายถึง ชุดคำสั่งหรือโปรแกรม ที่คอยสั่งการให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงาน.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
LOGO ภาษาซี 1.1 อ. กฤติเดช จินดาภัทร์. LOGO ตัวอย่างโค้ดภาษาซี
เรื่อง ภาษาซีเบื้องต้น จัดทำโดย นางสาวชาดา ศักดิ์บุญญารัตน์
งานวิชา เทคโนโลยี สารสนเทศ 4/3 เรื่อง INPUT และ OUTPUT จัดทำโดย นาย ชาญชัย ศรีน้อย เลขที่ 3 นาย ณัฐดนัย จันทมาศ เลขที่ 4 นาย อุดมศักดิ์ เกื้อนะ เลขที่
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต
บทที่ 5 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Microsoft Windows
เทคโนโลยีพื้นฐานของระบบสารสนเทศ
ฐานข้อมูล.
Material requirements planning (MRP) systems
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
หลักการโปรแกรม อ.ธนากร อุยพานิชย์.
การจัดการโปรเซส T.Kunlaya Charoenmongkonvilai
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
IP-Addressing and Subneting
การใช้ Social Media เพื่อการสื่อสาร
IP-Addressing and Subneting
บทสรุป ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
การพัฒนาการใช้งานในระบบเว็บ
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาค้นคว้า Information Technology for Study Skill 01/12/61.
Information and Communication Technology Lab2
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
+ Software บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ระบบสารสนเทศ Hardware
บทที่ 1 โครงสร้างคอมพิวเตอร์พื้นฐาน
บทที่ 5 ระบบจัดการฐานข้อมูล
Virus Computer.
Basic Input Output System
ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer Language)
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ (Information System)
Information System MIS.
บทที่ 8 การควบคุมระบบสารสนเทศทางการบัญชี : การควบคุมเฉพาะระบบงาน
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ: คำสั่ง while คำสั่ง do….while
บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ประยุกต์
พื้นฐานการออกแบบ กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้การสื่อความหมาย ด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายของข้อมูลได้ถูกต้องตรง.
หน่วยที่ 3 การประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
SMS News Distribute Service
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาวุฒิ จันทรมาลี
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
หน่วยการเรียนรู้ การเขียนโปรแกรมภาษาขั้นพื้นฐาน เรื่อง โครงสร้างพื้นฐาน HTML 5 รหัส รายวิชา ง23102 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 6 กลุ่มสาระ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
บทที่ 2 โครงสร้างข้อมูลแบบแถวลำดับหรืออาร์เรย์ (Array)
การจัดบล๊อคและบัฟเฟอร์ (Blocking and Buffering)
ฟังก์ชันของโปรแกรม Computer Game Programming
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
บรรยายโดย คุณครูกิริยา ทิพมาตย์ สพม. เขต 23
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิชา SG003 เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวัน บทที่ 3 – ซอฟท์แวร์ วิชา SG003 เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวัน 20/09/61 อ.มนรินทร์ เอื้อวิโรจนังกูร

อ.มนรินทร์ เอื้อวิโรจนังกูร ซอฟท์แวร์ ชุดคำสั่ง (Instructions) ที่เขียนขึ้นอย่างมีลำดับขั้นตอนเพื่อควบคุมการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ SYSTEM SOFTWARE Operating Systems Language Translators Interpreters, Complier Utility Programs งานประจำวัน เช่นเรียง พิมพ์ข้อมูล จัดการข้อมูล เช่น สร้างแฟ้มข้อมูล Users Application Software System Software Hardware APPLICATION SOFTWARE Programming Language Assembly Language C , Basic 4th Generation Language 20/09/61 อ.มนรินทร์ เอื้อวิโรจนังกูร

3.1 ซอฟท์แวร์ระบบ (System Software) โปรแกรมที่ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่างๆ ทำหน้าที่เป็นตัวประสานการทำงานระหว่าง User, Application Software และ Hardware แบ่งออกเป็น 3 ชนิดคือ Operating Systems (ระบบปฏิบัติการ) Language Translator (ตัวแปรภาษา) Utility Programs (โปรแกรมอรรถประโยชน์) System Software 20/09/61 อ.มนรินทร์ เอื้อวิโรจนังกูร

อ.มนรินทร์ เอื้อวิโรจนังกูร 3.1.1 Operating Systems กลุ่มของโปรแกรมที่มีชุดคำสั่งในการควบคุมการทำงานของฮารด์แวร์ start the computer provide a user interface manage programs administer security manage memory control a network provide file management and other utilities monitor performance establish an Internet connection schedule jobs and configure devices 20/09/61 อ.มนรินทร์ เอื้อวิโรจนังกูร

หน้าที่หลักของระบบปฏิบัติการ 1) Starting a Computer (booting) Cold boot – เริ่มต้นการทำงานจากการเปิดปุ่มทำงาน (Switch-on) Warm boot – เริ่มต้นทำงานโดยการให้ OS Restart 20/09/61 อ.มนรินทร์ เอื้อวิโรจนังกูร

Operating System Function 2) แสดง User Interface ผู้ใช้ใช้งานโปรแกรมผ่าน User Interface User Interface ควบคุมการป้อนข้อมูลของผู้ใช้และการแสดงผลบนหน้าจอ User Interface มี 3 รูปแบบคือ Command-Line User Interface Menu-Driven Interface Graphical User Interface 20/09/61 อ.มนรินทร์ เอื้อวิโรจนังกูร

Operating System Function 3) Managing Programs Single user/Single tasking: สามารถเปิดโปรแกรมทำงานได้ทีละโปรแกรม หากต้องการเปิดโปรแกรมใหม่ต้องปิดโปรแกรมเดิมก่อน Single user/Multi tasking: สามารถเปิดโปรแกรมทำงานหลายๆ โปรแกรมพร้อมกันได้ Foreground: โปรแกรมที่ทำงานอยู่ และกำลังถูกใช้โดย User Background: โปรแกรมที่ทำงานอยู่ แต่ไม่ได้ถูกใช้โดย User 20/09/61 อ.มนรินทร์ เอื้อวิโรจนังกูร

Operating System Functions 4) Managing Memory – เนื่องจาก processor ทำหน้าที่ประมวลผลและเก็บผลการทำงานลงใน memory เพื่อให้ memory มีพื้นที่ว่างอีกครั้ง OS จะทำหน้าที่ตรวจสอบข้อมูลใน memory ที่ไม่ถูกใช้แล้วและนำออกทันที เมื่อขนาดของ Memory ไม่พออีกต่อไป OS จะทำหน้าที่จัดสรรพื้นที่ใน Hard Disk และใช้เป็น Virtual Memory พื้นที่บน Hard Disk ที่ใช้เป็น Virtual Memory เรียกว่า Swap file และขนาดของคำสั่งหรือข้อมูลที่ถูก swap เรียกว่า page 20/09/61 อ.มนรินทร์ เอื้อวิโรจนังกูร

Operating System Functions 5) Scheduling Jobs – จัดลำดับการประมวลผลงาน (job) Job ในที่นี่ก็คือชุดการทำงานที่ processor จัดการเช่น การรับข้อมูลจากอุปกรณ์อินพุท, การส่งข้อมูลออกไปยังเอาท์พุท, การรับ/ส่งข้อมูลระหว่าง memory และ hard disk ลำดับการประมวลผลงานในที่นี้ขึ้นอยู่กับชนิดของผู้ใช้ด้วย โดยในระบบ Multi-user ผู้ใช้บางคนจะมีความสำคัญมากกว่าคนอื่นๆ เนื่องจาก processor มีการทำงานที่เร็วกว่าอุปกรณ์อินพุท/เอาท์พุทมาก ดังนั้นในกรณีที่อุปกรณ์ทำงานไม่ทัน ชุดคำสั่งและข้อมูลจะถูกจัดเก็บอยู่ที่ buffer 20/09/61 อ.มนรินทร์ เอื้อวิโรจนังกูร

ตัวอย่างระบบปฏิบัติการสำหรับไมโครคอมพิวเตอร์ Windows XP MS-DOS Windows Vista 20/09/61 อ.มนรินทร์ เอื้อวิโรจนังกูร

ตัวอย่างระบบปฏิบัติการเครือข่าย Windows NT และ Windows 2000 Unix Linux 20/09/61 อ.มนรินทร์ เอื้อวิโรจนังกูร

ตัวอย่างระบบปฏิบัติการบนอุปกรณ์พกพา Palm OS Windows CE (Compact Edition) Windows Mobile 20/09/61 อ.มนรินทร์ เอื้อวิโรจนังกูร

3.1.2 ตัวแปลภาษา (Language Translator) เปลี่ยนชุดคำสั่งที่เข้าใจได้โดยมนุษย์ให้เป็นระบบเลขฐานสองที่เข้าใจได้โดยคอมพิวเตอร์ Compiler Interpreter 20/09/61 อ.มนรินทร์ เอื้อวิโรจนังกูร

อ.มนรินทร์ เอื้อวิโรจนังกูร 3.1.3 โปรแกรมอรรถประโยชน์ ชนิดของโปรแกรมที่ใช้สำหรับดูแลการทำงานคอมพิวเตอร์, ซอฟท์แวรก์และอุปกรณ์ต่อพ่วงอื่นๆ File Manager Personal Firewall Uninstaller Disk scanner/ Defragmenter Backup Screen Saver 20/09/61 อ.มนรินทร์ เอื้อวิโรจนังกูร

อ.มนรินทร์ เอื้อวิโรจนังกูร 3.2 ซอฟท์แวร์ประยุกต์ โปรแกรมที่ถูกออกแบบเพื่อช่วยให้ผู้ใช้ทำงานได้ดียิ่งขึ้น 20/09/61 อ.มนรินทร์ เอื้อวิโรจนังกูร

อ.มนรินทร์ เอื้อวิโรจนังกูร Word Processing ผู้ใช้สามารถพิมพ์ข้อความและจัดวางรูปภาพได้ 20/09/61 อ.มนรินทร์ เอื้อวิโรจนังกูร

อ.มนรินทร์ เอื้อวิโรจนังกูร Spreadsheet จัดโครงสร้างข้อมูล สามารถใช้คำนวณทางคณิตศาสตร์และสร้างสูตรได้ = A1+B2 (*C12) = D1+E2 (*F12) = SUM (C12:Y12) 20/09/61 อ.มนรินทร์ เอื้อวิโรจนังกูร

ตัวอย่างการใช้งาน Spreadsheet คอลัมน์ที่มีชื่อเป็นตัวอักษรภาษาอังกฤษ แถวที่ระบุโดยตัวเลข Cell สามารถเรียกใช้ได้โดย คอลัมน์และแถว เช่น A:1 20/09/61 อ.มนรินทร์ เอื้อวิโรจนังกูร p. 143 Fig. 3-8 Next

ให้เราจัดเก็บและบริหาร เพิ่ม/ เปลี่ยนแปลง/ ลบ Database Software ให้เราจัดเก็บและบริหาร ข้อมูลได้ เพิ่ม/ เปลี่ยนแปลง/ ลบ จัดเรียง/ query 20/09/61 อ.มนรินทร์ เอื้อวิโรจนังกูร p. 145 Next

ส่วนประกอบของฐานข้อมูล ตารางเก็บข้อมูล รายการข้อมูล 1 แถวสามารถจัดเก็บชุดข้อมูลเช่น ชื่อ, อายุ, ที่อยู่, เบอร์ เราเรียกคอลัมน์ที่เก็บข้อมูลหนึ่งๆ ว่าฟิลด์(Field) 20/09/61 อ.มนรินทร์ เอื้อวิโรจนังกูร p. 145 Fig. 3-11 Next

Presentation Graphics เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า slide show 20/09/61 อ.มนรินทร์ เอื้อวิโรจนังกูร

3.3 ภาษาโปรแกรม (Programming Language) ยุคที่ 1 ภาษาเครื่อง (Machine Language) 01001100 ยุคที่ 2 ภาษาแอสเซมบลี ADD X,Y ยุคที่ 3 ภาษาระดับสูง IF X <> 0 THEN X = X + Y ยุคที่ 4 Forth Generation Language (4GLs) SELECT DATA FROM TABLE ยุคที่ 5 Fifth Generation Language (5GLs) My Name is Adrian. I’m an artificial intelligence. 20/09/61 อ.มนรินทร์ เอื้อวิโรจนังกูร

อ.มนรินทร์ เอื้อวิโรจนังกูร 3.4 ไวรัสคอมพิวเตอร์ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ถูกสร้างขึ้นมา โดยมีการออกแบบให้มีการทำงานในทางลบ Boot Viruses – ติดอยู่ตาม Boot Sector Command Viruses – ไม่ทำลายข้อมูลแต่ก่อให้เกิดความรำคาญ Program Viruses – ติดต่อระหว่างโปรแกรม Macro Viruses – ทำลายและติดต่อระหว่างไฟล์เอกสารไมโครซอฟท์ Stealth Viruses – แฝงตัวอยู่กับโปรแกรม ทำให้โปรแกรมมีขนาดใหญขึ้น Polymorphic Viruses - มีความสามารถในการเปลี่ยนแปลงตัวเอง Trojan Horses - แฝงตัวอยู่ในคอมพิวเตอร์เพื่อล้วงข้อมูลสำคัญ 20/09/61 อ.มนรินทร์ เอื้อวิโรจนังกูร

อ.มนรินทร์ เอื้อวิโรจนังกูร Homework ทำแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 2 และ 3 ในหนังสือ ส่งวันที่ 7 กรกฎาคม 2550 ในคาบเรียน 20/09/61 อ.มนรินทร์ เอื้อวิโรจนังกูร