ลักษณะปัญหาสิ่งแวดล้อม (Environmental Aspect)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
ข้อสรุปจากวีดีทัศน์ “ผีปู่แสะย่าแสะ” 1. การมีส่วนร่วมของชุมชน 2
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
ระเบียบคณะกรรมการพลังงานปรมาณูเพื่อสันติว่าด้วยวิธีการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของวัสดุนิวเคลียร์และสถานประกอบการทางนิวเคลียร์พ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
หลักเกณฑ์วิธีที่ดีในการผลิตอาหาร
ชุมชนปลอดภัย.
วิชากฎหมายอาคาร รหัสวิชา ท-ป-น (2-0-2) หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปวช.2556 ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างก่อสร้าง สาขาวิชาช่างโยธา.
ระบบบัญชาการในสถานการณ์ Incident Command System: ICS
Material requirements planning (MRP) systems
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
หลักการของจริยธรรมทางกฎหมาย
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
ระดับความเสี่ยง (QQR)
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานบริหารและธุรการ คณะบริหารธุรกิจ
ประกาศกรมควบคุมมลพิษ เรื่องหลักเกณฑ์ในการพิจารณาความเหมาะสมของพื้นที่ การออกแบบก่อสร้างและการจัดการสถานที่หมักปุ๋ยจากมูลฝอย ประกาศในกรมควบคุมมลพิษ.
กรมตรวจบัญชีสหกรณ์.
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
การบริหารความเสี่ยงและ การวางระบบการควบคุมภายใน ของคณะวิทยาศาสตร์
ขีดความสามารถในการรองรับได้ของแหล่งท่องเที่ยว
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
การวิเคราะห์องค์กร รู้จักตนเอง
ความรู้เบื้องต้นระบบระบายอากาศ
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ข้อเสนอ การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
การวิเคราะห์ ข้อมูลขยะ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
กฎกระทรวง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ.2561
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 สรุปบทเรียน และแนวทางการนำไปใช้
ISO ย่อมาจาก International Organization for Standardization คือ องค์การมาตรฐานสากล หรือองค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน เป็นองค์กรที่ออกมาตรฐานต่างๆ.
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
ทรัพยากรไทย:ก้าวสู่โลกกว้างอย่างมั่นใจ
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การกำหนดประเด็นปัญหา
การวางแผนกำลังการผลิต
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
ขอบเขตของงานการจัดซื้อ
มารู้จักและมีส่วนร่วมในกิจกรรม CSR ของ สศช. กันเถอะ
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม Man and Environment ภาคปลาย ปีการศึกษา 2561
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
การวิเคราะห์สภาพอากาศที่เอื้ออำนวยต่อการเกิดฝุ่นละอองขนาดเล็กบริเวณ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ด้วยแบบจำลอง WRF.
แผ่นดินไหว เกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกบริเวณแนวรอยเลื่อนของเปลือกโลก หรือการปะทุของภูเขาไฟ ทำให้เกิดการสั่นสะเทือนของแผ่นดิน ซึ่งหากเกิดการสั่นสะเทือนอย่างรุนแรง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ลักษณะปัญหาสิ่งแวดล้อม (Environmental Aspect) ความสำคัญ ในองค์กรใดๆอาจมีแหล่งกำเนิดมลพิษหลายแหล่ง ถ้าไม่ทราบถึงแหล่งของมลพิษในองค์กร ความคิดจะควบคุมหรือ ปรับปรุงพัฒนาให้ดีขึ้น ย่อมเป็นไปไม่ได้ ถ้าไม่มีการจัดอันดับความสำคัญของลักษณะปัญหาสิ่งแวดล้อม เหล่านั้น ทำให้ยากที่จะตัดสินใจกระทำการควบคุมจุดใดก่อนกัน

องค์กรจะต้องกำหนดวิธีการเพื่อ ระบุลักษณะปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากกิจกรรม ผลิตภัณฑ์ และบริการ ซึ่งสามารถควบคุมได้โดยตรง หรือโดยอ้อม เช่น - พิจารณาลักษณะปัญหาที่เกิดในสภาวะปกติ ผิดปกติ และฉุกเฉิน - ตรวจวิเคราะห์ลักษณะปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีนัยสำคัญ - มั่นใจว่ามีการกำหนดวัตถุประสงค์ สำหรับปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มี นัยสำคัญ - มีการจัดทำข้อมูลทันสมัยอยู่เสมอ

ลักษณะปัญหาสิ่งแวดล้อม (Environmental Aspect) ISO 14001 กำหนดให้องค์กรต้องทำการค้นหาลักษณะปัญหาสิ่งแวดล้อมและจัดอันดับความสำคัญ แต่ให้สิทธิ์องค์กรเป็นผู้พิจารณาและตัดสินใจเอง ในการปฏิบัติตามข้อกำหนดของ ISO 14001 แต่ทั้งนี้การดำเนินการขององค์กรต้องประกอบด้วย - ความเหมาะสม (Appropriate) - มีเหตุผลรับฟังได้ (Logical) - และมีหลักเกณฑ์แน่นอนสามารถทำซ้ำอีกได้ (Repeatable)

ลักษณะปัญหาสิ่งแวดล้อม (Environmental Aspect) เป็นหัวข้อหลักของ ISO 14001 และเป็นจุดเริ่มต้นของการกำหนด วัตถุประสงค์ และเป้าหมาย การควบคุม และการวัดผลการปฏิบัติการด้าน สิ่งแวดล้อมต่อไป ตัวอย่างลักษณะปัญหาสิ่งแวดล้อม - การระบายน้ำเสียลงสู่แหล่งน้ำสาธารณะ - การระบายมลพิษออกสู่บรรยากาศ - การจัดการกากของเสียอันตราย - เสียงรบกวนชุมชน - การจราจรคับคั่ง  กระบวนการพิจารณาควรคำนึงถึงปัญหาที่จะเกิดขึ้นทั้งในภาวะปกติ ภาวะผิดปกติ และภาวะฉุกเฉินด้วย

ลักษณะปัญหาสิ่งแวดล้อม (Environmental Aspect) จุดเริ่มต้น (The Starting point) Initial environmental review (IER) สิ่งที่มักสอดส่องได้แก่ ประวัติความเป็นมาของทำเลที่ตั้งองค์กร (The site history) - เสาะหาปัญหาที่แฝงอยู่  กิจกรรมขององค์กร(The site activities) – ค้นหาแหล่งและ ชนิดของมลพิษ  ที่ตั้งองค์กร (The site location) – ค้นหาตัวพามลพิษและ เป้าหมายของมลพิษ

ความกดดันต่างๆ (The site pressures) – ค้นหาปัญหาจากปัจจัยภายนอกที่ต้องพิจารณาด้านผลกระทบสิ่งแวดล้อม เช่น การร้องเรียนของ ชาวบ้านใกล้เคียง และอื่นๆ การบริหารจัดการในปัจจุบัน (Existing management practices) - ค้นหาสิ่งที่ช่วยส่งเสริมหรือเป็นอุปสรรคต่อการจัดการสิ่งแวดล้อมในอนาคต

การหาลักษณะปัญหาสิ่งแวดล้อม (Environmental Aspects) และการประเมินผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม (Environmental Impacts) ขั้นตอนที่ 1 : เลือกกิจกรรมหรือกระบวนการที่จัดการแล้วเกิดผลดีต่อสิ่ง แวดล้อมอย่างชัดเจน แต่ต้องไม่ยุ่งยากซับซ้อนเกินไป ขั้นตอนที่ 2 : คิดและจัดทำรายการลักษณะปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดหรืออาจ เกิดจากกิจกรรมหรือกระบวนการที่เลือกไว้ให้มากที่สุดเท่าที่จะ มากได้ ขั้นตอนที่ 3 : คิดและจัดทำรายการผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม (ทั้งทางบวกและ ทางลบ) ที่เกิดหรืออาจเกิดจากแต่ละลักษณะปัญหาสิ่งแวดล้อม ให้มากที่สุดเท่าที่จะมากได้ ขั้นตอนที่ 4 : ประเมินและจัดลำดับความสำคัญของผลกระทบสิ่งแวดล้อม

ระบุลักษณะปัญหาสิ่งแวดล้อม (Pollution) พิจารณามลพิษที่เกิดจากกิจกรรมต่างๆภายในองค์กรทั้งทางตรงและทางอ้อม และในภาวะปกติ ผิดปกติ และภาวะฉุกเฉิน เช่น - การระบายสู่แหล่งน้ำ (รวมถึงแหล่งน้ำใต้ดิน) เช่น น้ำทิ้ง สารแขวนลอย น้ำมัน สารเคมี ขยะ - การปนเปื้อนสู่ดิน เช่น น้ำมัน สารเคมี ขยะ โลหะหนัก - การปล่อยสู่บรรยากาศ - มลภาวะทางเสียงและการสั่นสะเทือน เช่น จากเครื่องจักร จากการขนส่ง - การจัดการของเสีย เช่น เศษจากการผลิตน้ำมันที่ใช้แล้ว ขยะ

- การใช้วัตถุดิบและทรัพยากรธรรมชาติ เช่น หิน ทราย น้ำมัน ไฟฟ้า ถ่านหิน น้ำ (รวมน้ำใต้ดิน) - ประเด็นทางทัศนียภาพ - ผลกระทบต่อผู้มีส่วนได้เสีย (Stakeholder) เช่น ชุมชนมีความสนใจหรือกังวลเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมเรื่องใดเรื่องหนึ่งเป็นพิเศษหรือไม่ - ลักษณะปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีกฎหมายเป็นตัวกำหนด และพบว่าองค์กรยังดำเนินการละเมิดกฎหมายอยู่ และยังไม่มีการควบคุมที่เหมาะสมแต่อย่างใด

การบ่งชี้ปัญหาสิ่งแวดล้อม (Identifying Environmental Aspects) ในการบ่งชี้ปัญหาสิ่งแวดล้อมนั้นสามารถพิจารณาได้จากปัจจัย 4 ประการ คือ (1) แหล่งที่ก่อให้เกิดปัญหา (Source) จะต้องระบุเป็นกิจกรรมที่ก่อให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อมนั้น หรืออาจระบุเป็นสถานที่ เครื่องจักร พื้นที่ในการทำงานที่ก่อให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อมดังตัวอย่างต่อไปนี้  เครื่องจักรที่ทำให้เกิดเสียงดัง  แหล่งผลิตน้ำเสีย  แหล่งที่มีการหกหล่นของสารกำจัดแมลง  ระบบบำบัดน้ำเสีย

(2) เส้นทางเดินของมลพิษ (Pathway) เป็นเส้นทางที่มลพิษเหล่านั้นจะเดินทางไปสู่เป้าหมายที่ก่อให้เกิดผลกระทบ อาจเป็นทางท่อน้ำ น้ำบนดิน หรือเป็นอากาศหรือพื้นดิน ฯลฯ (3) เป้าหมาย (Targets) หมายถึง เป้าหมายที่มลพิษเหล่านั้นจะไปและก่อให้เกิดผลกระทบทั้งทางด้านที่ดีขึ้น และทางด้านที่เป็นผลเสียส่วนใหญ่ จะหมายถึง คน ชุมชน สัตว์ พืช ทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศ เป็นต้น จึงมีข้อสงสัยสำหรับหลายๆท่านว่า พนักงานที่อยู่ในพื้นที่ทำงานและได้รับผลกระทบจะพิจารณาว่าเป็นความปลอดภัยหรือไม่ ซึ่งมีข้อสรุปดังนี้คือ จะต้องรวมเอาพนักงานที่อยู่ในพื้นที่ทำงานด้วย ถือว่าเป็นสิ่งแวดล้อมอย่างหนึ่งที่จะต้องให้ความสำคัญ

(4) ผลกระทบ (Impacts) เมื่อเป้าหมายได้รับมลพิษแล้ว ผลต่อมาก็คือเกิดบางอย่างขึ้นกับเป้าหมายเหล่านั้น ซึ่งส่วนใหญ่จะมีผลกระทบทางด้านลบ ซึ่งผลกระทบที่เกิดขึ้นก็จะเกิดแก่เป้าหมายที่ได้วางไว้ เช่น ผลกระทบต่อระบบนิเวศที่มีต่อพืช สัตว์ ความหลากหลายทางชีวภาพ สัตว์ป่าหรือที่อยู่อาศัย ความสวยงามตามธรรมชาติ แหล่งท่องเที่ยว ซึ่งผลกระทบสามารถแบ่งออกได้ 2 ประเด็น คือ ผลกระทบระยะสั้น ซึ่งหมายถึงเกิดผลที่เกิดอย่างปัจจุบันในระยะเวลาอันสั้น สำหรับผลกระทบระยะยาว หมายถึงผลกระทบเป็นระยะเวลายาวนาน เช่น การสะสมของสารพิษในสิ่งแวดล้อม การทับถมเป็นตะกอนของแข็ง

การหกหล่นของสารฆ่าแมลง ไอร้อนจากสารระเหยซึ่งมีกลิ่นสารเคมี Source การหกหล่นของสารฆ่าแมลง ไอร้อนจากสารระเหยซึ่งมีกลิ่นสารเคมี สารเคมีรั่วไหลจากท่อส่ง Pathway สารเคมีสำหรับฆ่าแมลงไหลลงสู่แหล่งน้ำตามธรรมชาติ ไอระเหยออกสู่ท่อปล่อยที่อยู่บริเวณเพดาน สารเคมีในท่อรั่วลงสู่พื้นดิน และซึมลงสู่แหล่งน้ำบนดินและใต้ดิน Target ปลาและสัตว์น้ำอื่นๆในแหล่งน้ำธรรมชาติ ชุมชนที่อยู่บริเวณรอบโรงงาน ชุมชนที่อยู่ใกล้เคียงและใช้น้ำบนดินและน้ำบาดาล Impact ปลาและสัตว์น้ำอื่นๆตาย หรือพิการ ชุมชนและคนบริเวณใกล้เคียงได้กลิ่นเหม็นจากสารเคมี ผู้คนได้รับสารพิษจากการใช้น้ำในการอุปโภคและบริโภค

วิธีการระบุลักษณะปัญหาและผลกระทบสิ่งแวดล้อม นำผลที่ได้จากการทบทวนสถานะปัจจุบันของการดำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อมมาช่วยในการระบุปัญหาสิ่งแวดล้อม การวิเคราะห์โดยใช้ผังกระบวนการ (Process flow analysis) หรืออาจเรียกอีกประการหนึ่งว่าการหาสมดุลของวัตถุ (Mass Balance) คือ การพิจารณาจากปัจจัยเข้า (Input) และปัจจัยออก (Output) การสำรวจพื้นที่ (Site Tour or Direct Inspection) เป็นการระบุปัญหา สิ่งแวดล้อมที่ได้จากการเดินสำรวจพื้นที่ของกิจกรรม เพื่อที่จะได้เห็น วิธีการปฏิบัติงานหรือกิจกรรมที่อยู่ในพื้นที่จริง วิธีที่นิยม คือ ใช้แบบบันทึก หรือ Checklist การสัมภาษณ์ การตรวจวัดคุณภาพสิ่งแวดล้อม

การประเมินเพื่อหาลักษณะปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีนัยสำคัญ สภาวะปกติ หมายถึง สภาวะที่เกิดขึ้นเป็นประจำขององค์กรนั้นๆ เช่น น้ำเสียจากห้องน้ำ ขยะจากสำนักงาน เป็นต้น สภาวะผิดปกติ หมายถึง สภาวะที่เกิดขึ้นเป็นครั้งคราว เช่น การเริ่มเดินเครื่องจักร (Start up) การหยุดเดินเครื่องจักร (Shutdown) ไฟฟ้าดับ หยุดซ่อมบำรุง เครื่องเสีย สารเคมีหกรั่วไหล เป็นต้น สภาวะฉุกเฉิน หมายถึง เป็นภาวะผิดปกติที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมอย่างรุนแรง หรือเป็นสภาวะที่อาจเกิดขึ้นโดยไม่คาดฝัน และไม่สามารถระบุเวลาที่เกิดขึ้นได้ เช่น อุบัติเหตุ พายุ การระเบิด น้ำท่วม ไฟไหม้ ประเด็นสำคัญคือ ในแต่ละลักษณะปัญหาสิ่งแวดล้อม ต้องพิจารณาให้ครอบคลุมทั้ง 3 สภาวะ

แบบจำลองการวิเคราะห์กระบวนการ input Output process แหล่ง วัตถุดิบ ผสม น้ำ มลพิษ ไอน้ำ ความร้อน พลังงาน ให้ความร้อน สารเติมแต่ง ขึ้นรูป มลพิษ น้ำ สารทำความเย็น ทำให้เย็น ความร้อน สารทำความเย็น วัสดุหีบห่อ (พลาสติก ไม้ กระดาษ) บรรจุหีบห่อ ขยะ น้ำมัน ขนส่ง ไอเสีย

ขอบเขตการพิจารณา 1. การควบคุม - ตรง - อ้อม 2. ปัญหา - เคยเกิดในอดีต 1. การควบคุม - ตรง - อ้อม 2. ปัญหา - เคยเกิดในอดีต - ปัจจุบัน - อนาคต 3. สถานการณ์ที่ทำให้เกิดปัญหา - Normal Operation - Abnormal Operation - Emergency / Accident 4. ผลกระทบ - air water land flora fauna Humans and their interrelation

ตัวอย่าง วิธีหาผลกระทบสิ่งแวดล้อม หรือน้ำ อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ลดปริมาณมลพิษในอากาศ รั่วไหลโดยอุบัติเหตุ เปลี่ยนสูตรเพื่อลดขนาด ไอเสีย การเคลื่อนย้ายวัตถุมีพิษ ตัวผลิตภัณฑ์ การบำรุงรักษายานพาหนะ กิจกรรม ผลิตภัณฑ์ บริการ ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ลักษณะปัญหา รายการ ข้อพิจารณา

ลักษณะปัญหาสิ่งแวดล้อม (Environmental Aspect) ความสำคัญของลักษณะปัญหาสิ่งแวดล้อมมีหลายระดับ ดังตารางข้างล่างนี้ 1. ขัดแย้งกับนโยบายสิ่งแวดล้อมที่กำหนดเล็กน้อย 1. ขัดแย้งกับนโยบายสิ่งแวดล้อมที่กำหนดอย่างแรง 2. อาจก่อให้เกิดโอกาสทางธุรกิจ 3. ไม่สอดคล้องกับหลักการของระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม 1. มลภาวะที่ก่อให้เกิดความเสี่ยงสูง 2. ละเมิดกฎหมายมาตรฐาน และเงื่อนไขประกอบใบอนุญาต 1. ส่งผลร้ายฉับพลันต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม 2. เป็นผลร้ายต่อการอยู่รอดขององค์การ สำคัญน้อย สำคัญปานกลาง สำคัญมาก เร่งด่วนที่สุด

ลักษณะปัญหาสิ่งแวดล้อม (Environmental Aspect) การจัดอันดับความสำคัญ อิทธิพลภายนอก มีปัจจัยภายนอกบางประการที่บ่งบอกความสำคัญของลักษณะปัญหาสิ่งแวดล้อม ได้แก่  เมื่อเสี่ยงต่อการละเมิดกฎหมาย  กฎข้อบังคับของสมาคมผู้ประกอบการเกี่ยวกับระเบียบการประกอบการซึ่งคู่แข่ง และหุ้นส่วนอาจเห็นว่าการฝ่าฝืนกฎระเบียบของสมาคมเป็นเรื่องสำคัญ  มีหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ยืนยันถึงอันตราย เช่น ปัญหาโอโซนในชั้นบรรยากาศและสารซีเอฟซี  ความกดดันจากสาธารณชนต่อปัญหามลภาวะที่เกิดขึ้น เช่น ปัญหากลิ่น เสียง และเหตุรำคาญต่างๆ  กฎเกณฑ์เฉพาะเกี่ยวกับกิจกรรมขององค์กร เช่น ใบอนุญาตในการใช้น้ำบาดาล หรือใบอนุญาตในการเก็บสะสมสารเคมีอันตราย เป็นต้น  ธนาคารเจ้าหนี้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งธนาคารสีเขียวที่ต้องการรายงานและการวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมประกอบการพิจารณาเงินกู้

ลักษณะปัญหาสิ่งแวดล้อม (Environmental Aspect) การพิจารณาความสำคัญของปัญหาสิ่งแวดล้อมใด ควรตระหนักไว้เสมอว่า ต้องตามความเป็นจริงที่สุดเท่าที่จะทำได้ สิ่งที่ละเมิดกฎหมายซ้ำแล้วซ้ำเล่า ต้องจัดไว้ในลำดับความสำคัญสูงสุด การพิจารณาจัดอันดับความสำคัญควรพิจารณาโดยบุคคลเป็นทีม ไม่ควรตัดสินด้วยความเห็นของคนเพียงคนเดียว ปัญหามลพิษที่มีขอบเขตกว้างขวางหรือใหญ่โต ควรพิจารณาว่ามีความสำคัญ ลักษณะปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นจากภาวะฉุกเฉิน ควรพิจารณาว่ามีความสำคัญ

ลักษณะปัญหาสิ่งแวดล้อม (Environmental Aspect) การประเมินความสำคัญ มีวิธีการประเมินความสำคัญของลักษณะปัญหาสิ่งแวดล้อมหลายวิธี ได้แก่  การประเมินความเสี่ยง (Risk assessment)  การประเมินกระบวนการ (Process assessment)  การประเมินสินค้าหรือผลผลิต (Product assessment)  การประเมินสิ่งแวดล้อม (Environmental assessment)

ลักษณะปัญหาสิ่งแวดล้อม (Environmental Aspect) การประเมินความเสี่ยง การประเมินความเสี่ยง (Risk assessment) – นิยมใช้ในประเด็นสิ่งแวดล้อม และเป็นเครื่องมือในการตัดสินใจอื่นๆ รัฐบาลอังกฤษนิยมใช้โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องของอนามัยและความปลอดภัย โดยมีการประเมินวัตถุดิบที่ใช้ในกระบวนการ เช่น การประเมินคุณสมบัติ และอันตรายต่อสุขภาพ โดยมากใช้ข้อมูลจากเอกสารความปลอดภัย (Safety data sheet) การประเมินสิ่งแวดล้อม (Environmental assessment) – ใช้หลักการคล้ายกัน เช่น ซีเอฟซีมีผลต่อสุขภาพ และความปลอดภัยอย่างไร ที่แตกต่างจากการประเมินความเสี่ยงก็คือ องค์กรมักระบุขนาดความรุนแรงและความสำคัญ การประเมินความเสี่ยง

ลักษณะปัญหาสิ่งแวดล้อม (Environmental Aspect) ทำความเข้าใจกับ “ความเสี่ยง”  Harm – ก่อให้เกิดความเสียหายแก่บุคคล หรือสิ่งแวดล้อม  Hazard – สิ่งที่สามารถก่อให้เกิดความเสียหายแก่บุคคล หรือสิ่งแวดล้อม  Environment Hazard – กลุ่มของปรากฎการณ์ซึ่งสามารถนำไปสู่การทำลายสิ่งแวดล้อมทั้งทางตรงหรือทางอ้อม  Risk – โอกาสที่จะเกิดความเสียหายขึ้นจากสิ่งที่สามารถก่อให้เกิดความเสียหายแก่บุคคล หรือสิ่งแวดล้อม

ลักษณะปัญหาสิ่งแวดล้อม (Environmental Aspect) การประเมินความเสี่ยง (Risk evaluation) การประเมินอาจจำเป็นต้องพิจารณาปัจจัยเหล่านี้ * ความบ่อยของการเกิด (Likelihood of occurrence) - โอกาสเกิดขึ้นบ่อยครั้ง ความเสี่ยงสูง * ความยากง่ายในการตรวจสอบ (Likelihood of detection) - ถ้าตรวจสอบยาก ทำให้ยากแก่การควบคุมเนื่องจากไม่ทราบว่าเกิดขึ้นหรือมีมลพิษอยู่ ยิ่งถ้าเป็นกรณีภาวะผิดปกติด้วย ยิ่งจะมีความเสี่ยงสูง * ความรุนแรงของผลกระทบ (Severity of consequence) - ยิ่งผลกระทบมีความรุนแรงมาก ความเสี่ยงยิ่งสูง

ลักษณะปัญหาสิ่งแวดล้อม (Environmental Aspect) การให้ความสำคัญ (Determination of significance) 10 สูงมาก 5 ต่ำมาก 1 8 สูง 4 ต่ำ 2 6 ปานกลาง 3 ต่ำมาก/ไม่มีเลย Score Severity of Consequence (C) Likelihood of Detection (B) Likelihood of Occurrence (A) A + B X C = ผลรวม (ส่อความเสี่ยง) ผลรวมมาก หมายความว่าสำคัญมาก (Significant aspect) หรือความเสี่ยงสูง

โอกาสที่จะเกิดขึ้นหรือ (Likelihood of Occurrence) ตัวอย่างที่ 3 วิธีการในการประเมินนัยสำคัญของปัญหาสิ่งแวดล้อม (Assessment of Significance) การจัดลำดับความสำคัญของประเด็นปัญหาสิ่งแวดล้อม (Assessment of Significance) ซึ่งมีแนวทางในการประเมินดังต่อไปนี้ สูตรในการคำนวณ ค่าในการประเมิน = (โอกาสที่เกิด + โอกาสในการควบคุม/การตรวจพบ) X ความรุนแรงของผลกระทบ โอกาสที่จะเกิดขึ้นหรือ (Likelihood of Occurrence) โอกาสในการควบคุม/การตรวจพบ (Likelihood of Detection) ความรุนแรงของผลกระทบ (Severity of Consequence)

5. โอกาสในการเกิดน้อยมากแทบไม่มีเลย 2 1 5. โอกาสในการเกิดน้อยมากแทบไม่มีเลย 2 4. โอกาสในการเกิดน้อยมาก อาจเป็นปีละ 1 ครั้ง 3 3. โอกาสในการเกิดตามกระบวนการผลิตมากหรือน้อย 4 2. โอกาสในการเกิดมลพิษบ่อย อาจเป็นอาทิตย์หรือเดือนละครั้ง 5 1. โอกาสในการเกิดมลพิษบ่อยมาก อาจเกิดขึ้นทุกวัน คะแนน เกณฑ์สำหรับโอกาสที่จะเกิด 5 5. ยังไม่สามารถควบคุมมลพิษดังกล่าวด้วยวิธีการใดๆ 20 4 4. สามารถควบคุมมลพิษดังกล่าวได้ไม่ดีนัก ยังไม่มีระบบควบคุม 40 3 3. สามารถควบคุมมลพิษดังกล่าวได้ประมาณร้อยละ 50 2 2. สามารถควบคุมได้ประมาณร้อยละ 80 1 1. องค์กรสามารถควบคุมมลพิษดังกล่าวได้อย่างสมบูรณ์ คะแนน เกณฑ์สำหรับการควบคุม

การระบุในปัญหาสิ่งแวดล้อม 8 5. มลพิษมีความรุนแรง มีผลต่อสิ่งแวดล้อมรุนแรง 10 6. มลพิษมีความรุนแรงมาก เกิดบ่อย มีผลกระทบเห็นได้เด่นชัด 6 4. มลพิษมีความรุนแรงปานกลาง มีผลต่อสิ่งแวดล้อมปานกลาง 4 3. มลพิษมีความรุนแรงน้อย มีผลกระทบต่อพืช สัตว์ เล็กน้อย 2 2. เป็นมลพิษที่มีความรุนแรงน้อยมาก ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อย 1. เป็นสภาพที่ไม่มีความรุนแรงของมลพิษ คะแนน เกณฑ์สำหรับการตรวจหาความรุนแรง ระบุ Very high มีข้อกฎหมาย 71-100 High 41-70 Medium 21-40 ไม่ Low 0-20 การระบุในปัญหาสิ่งแวดล้อม Level of Significance Score ระดับคะแนนในการพิจารณาความมีนัยสำคัญ

การประเมินความสำคัญของปัญหาสิ่งแวดล้อมในระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม 1 - ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะหรือไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม 2 - ก่อให้เกิดมลภาวะเล็กน้อยและสามารถกลับสู่สภาพเดิมได้อย่างรวดเร็ว หรือมีผลกระทบในระดับท้องถิ่น 3 - ก่อให้เกิดมลภาวะและสามารถกลับเข้าสู่สภาพเดิมได้ภายใน 1 สัปดาห์ 4 - ก่อให้เกิดมลภาวะอย่างรุนแรงแต่สามารถกลับเข้าสู่สภาพเดิมได้ในที่สุด 5 - ก่อให้เกิดมลภาวะอย่างรุนแรงและไม่สามารถกลับสู่สภาพเดิมได้ คะแนน เกณฑ์ (A) ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมหรือมลภาวะที่เกิดขึ้น 1 - ไม่มีผลต่อชื่อเสียงหรือค่าใช้จ่าย 2 - มีผลต่อชื่อเสียงหรือค่าใช้จ่ายเล็กน้อย 3 - มีผลต่อชื่อเสียงหรือค่าใช้จ่ายมาก 4 - มีผลต่อชื่อเสียงอย่างรุนแรงและเสียค่าใช้จ่ายสูง 5 - เสียชื่อเสียงอย่างรุนแรงในระยะยาวและเสียค่าใช้จ่ายสูง คะแนน เกณฑ์ (B) ผลทางธุรกิจ

1 - สาธารณชนและสื่อมวลชนไม่สนใจ 2 - มีการวิพากษ์วิจารณ์ในระดับท้องถิ่น 3 - มีการร้องเรียนในระดับท้องถิ่น 4 - เป็นเรื่องที่ได้รับความสนใจมากในระดับท้องถิ่นและมีการรายงานข่าวทางสื่อมวลชนในระดับท้องถิ่น 5 - เป็นเรื่องที่ได้รับความสนใจมากในระดับชาติรวมทั้งมีการรายงานข่าวทางสื่อมวลชนระดับชาติ คะแนน เกณฑ์ (C) ผลกระทบจากสาธารณชนและสื่อมวลชน

ระดับคะแนน คือ ผลลัพธ์ของเกณฑ์ A X B X C ระดับที่มีนัยสำคัญ (1) ผลกระทบเกินเกณฑ์กฎหมายหรือข้อกำหนด หรือ (2) ผลกระทบไม่เกินเกณฑ์กฎหมายหรือข้อกำหนด และระดับคะแนนตั้งแต่ 36 ขึ้นไป เกณฑ์ในการให้ความเป็นนัยสำคัญ สูง 81-125 ปานกลาง 41-80 ต่ำ 0-40 ความรุนแรงของปัญหา ระดับคะแนน

1 - ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะหรือไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม 2 - ก่อให้เกิดมลภาวะเล็กน้อยและสามารถกลับสู่สภาพเดิมได้อย่างรวดเร็ว หรือมีผลกระทบในระดับท้องถิ่น 3 - ก่อให้เกิดมลภาวะและสามารถกลับเข้าสู่สภาพเดิมได้ภายใน 1 สัปดาห์ 4 - ก่อให้เกิดมลภาวะอย่างรุนแรงแต่สามารถกลับเข้าสู่สภาพเดิมได้ในที่สุด 5 - ก่อให้เกิดมลภาวะอย่างรุนแรงและไม่สามารถกลับสู่สภาพเดิมได้ คะแนน เกณฑ์ (A) ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมหรือมลภาวะที่เกิดขึ้น 1 - ไม่มีผลต่อชื่อเสียงหรือค่าใช้จ่าย 2 - มีผลต่อชื่อเสียงหรือค่าใช้จ่ายเล็กน้อย 3 - มีผลต่อชื่อเสียงหรือค่าใช้จ่ายมาก 4 - มีผลต่อชื่อเสียงอย่างรุนแรงและเสียค่าใช้จ่ายสูง 5 - เสียชื่อเสียงอย่างรุนแรงในระยะยาวและเสียค่าใช้จ่ายสูง คะแนน เกณฑ์ (B) ผลทางธุรกิจ

ตรวจพบได้ 75% ของเวลาที่เกิดปัญหา ตรวจพบได้แค่ 50% ของเวลาที่เกิดปัญหา 1 - สาธารณชนและสื่อมวลชนไม่สนใจ 2 - มีการวิพากษ์วิจารณ์ในระดับท้องถิ่น 3 - มีการร้องเรียนในระดับท้องถิ่น 4 - เป็นเรื่องที่ได้รับความสนใจมากในระดับท้องถิ่นและมีการรายงานข่าวทางสื่อมวลชนในระดับท้องถิ่น 5 - เป็นเรื่องที่ได้รับความสนใจมากในระดับชาติรวมทั้งมีการรายงานข่าวทางสื่อมวลชนระดับชาติ คะแนน เกณฑ์ (C) ผลกระทบจากสาธารณชนและสื่อมวลชน สามารถตรวจพบได้ 100% ตรวจพบได้ 75% ของเวลาที่เกิดปัญหา ตรวจพบได้แค่ 50% ของเวลาที่เกิดปัญหา ตรวจพบได้แค่ 25% ของเวลาที่เกิดปัญหา ปัญหายากต่อการตรวจพบ 1 2 3 4 5 คะแนน D การตรวจพบ /การค้นหา (Detection)

ไม่มีข้อกฎหมายระบุไว้ทั้งในปัจจุบันและอนาคต อยู่ในระดับค่าต่ำสุดของกฎหมายกำหนด ยังอยู่ในช่วงกฎหมายกำหนด เกือบจะไม่ผ่านข้อกฎหมายกำหนด - จะมีประกาศข้อกฎหมายใหม่ที่เกี่ยวข้อง - ข้อกฎหมายที่มีในปัจจุบันกำลังจะมีการแก้ไข เกินข้อกฎหมายกำหนด 1 2 3 4 5 คะแนน อื่นๆ กฎหมาย

ตัวอย่างที่ 1 วิธีการประเมินและกำหนดระดับนัยสำคัญของปัญหาสิ่งแวดล้อม ลักษณะของปัญหา คะแนน เกณฑ์กำหนด เล็กน้อย 1 - ไม่มีกฎหมายควบคุม - สามารถควบคุมการทำงาน (Operate) ได้ดี 2 - มีกฎหมายควบคุม - นำมาใช้ใหม่ได้ (Recycle) - สามารถควบคุมการทำงานได้ดี ปานกลาง 3 - มีผลกระทบต่อชุมชนและโรงงานไม่รุนแรง ต่ำกว่าเกณฑ์กำหนดมาตรฐานภายใน - สามารถจัดทำระบบควบคุมได้ 4 - เกิดปัญหาเมื่อมีเหตุการณ์ผิดปกติหรือเหตุการณ์ฉุกเฉิน - มีผลกระทบต่อชุมชนและโรงงานไม่รุนแรง ต่ำกว่าเกณฑ์กำหนดของกฎหมายควบคุม - สามารถทำระบบควบคุมได้

ลักษณะของปัญหา คะแนน เกณฑ์กำหนด 5 - มีกฎหมายควบคุม - เกิดปัญหาเมื่อการควบคุมไม่ดี โดยสามารถจัดทำระบบควบคุมได้ - มีผลกระทบต่อชุมชนและโรงงานไม่รุนแรง ต่ำกว่าเกณฑ์กำหนดของกฎหมายควบคุม สำคัญ 6 - เกิดปัญหาเมื่อมีเหตุการณ์ผิดปกติหรือเหตุการณ์ฉุกเฉิน - มีผลกระทบต่อชุมชนและโรงงานอย่างรุนแรง เกินกว่าเกณฑ์กำหนดของกฎหมายควบคุม - สามารถจัดทำระบบควบคุมได้ 7 - เกิดปัญหาภายใต้สภาวะการณ์ปกติ - มีผลกระทบต่อชุมชนและโรงงานอย่างรุนแรงเกินกว่าเกณฑ์กำหนดของกฎหมายควบคุม - มีหนังสือร้องเรียนจากภายนอก และผ่านการพิจารณาจากคณะทำงานจัดการสิ่งแวดล้อมตาม ISO 14001 - มีการบันทึกเหตุการณ์ด้านสิ่งแวดล้อมเป็นสำคัญที่เกิดขึ้นในโรงงาน

เกณฑ์การประเมิน / พิจารณา N = Normal A = Abnormal E = Emergency วิธีที่ 2 : แบบให้คะแนนเกณฑ์กำหนดเท่ากัน ผู้ประเมิน : _____________________________________________ แผนก : _________________________________ วันที่ _______________________ เกณฑ์การประเมิน / พิจารณา ประเด็นที่ 1 ประเด็นที่ 2 ประเด็นที่ 3 N A E 1 เกี่ยวข้องกับข้อกฎหมาย 2 กระทบต่อสิ่งแวดล้อม 3 กระทบต่อความปลอดภัย/อนามัย 4 กระทบต่อธุรกิจ 5 ส่งผลกระทบต่อเพื่อนบ้าน 6 ความต้องการของลูกค้า 7 ลดต้นทุนได้ 8 มีระบบควบคุมอยู่หรือไม่ 9 ตรวจสอบได้ง่ายหรือไม่ 10 เกิดปัญหาบ่อยหรือไม่ 11 มีระบบป้องกันอยู่หรือไม่ 12 มีกรรมวิธีดำเนินงานที่ชัดเจนหรือไม่ รวม N = Normal A = Abnormal E = Emergency

เกณฑ์การประเมิน / พิจารณา วิธีที่ 3 : แบบการให้น้ำหนักแต่ละเกณฑ์กำหนดแตกต่างกัน ผู้ประเมิน : ___________________________ แผนก : __________________________ วันที่ ______________________ ประเด็น : น้ำมันรั่ว Normal Abnormal Emergency เกณฑ์การประเมิน / พิจารณา น้ำหนัก คะแนน รวม (A) (B) (AXB) 1. ละเมิดข้อกฎหมาย (3 = บ่อย , 0 = ไม่เคย) 3 2 6 ? 2. เกินเกณฑ์กำหนดของหน่วยงาน (3 = บ่อย , 0 = ไม่เคย) 1 3. เป็นพิษต่อคน/สิ่งแวดล้อม (3 = สูง , 0 = ไม่อันตราย) 4 4. ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม (3 = สูง , 0 = ไม่มีผล) 5. ความยาวนานของผลกระทบ (3 = >5 ปี , 2 = < 5 ปี-1 ปี , 1 = < 1 ปี – 1 เดือน , 0 = < 1 เดือน) 6. วงกว้างของผลกระทบ (3 = ท้องถิ่น , 2 = ภูมิภาค , 1 = ทั่วโลก) 7. ความยากง่ายของการตรวจสอบ (3 = ตรวจสอบยาก , 1 = ตรวจพบง่าย) 8. ค่าใช้จ่ายในการกำจัด /ทำความสะอาด (3 = ต่ำ , 2 = ปานกลาง , 1 = สูง) 9. ผลกระทบต่อภาพพจน์ (3 = ระยะยาว , 0 = ไม่มีผล) คะแนนรวม 14 31

1. กำหนดขอบข่าย ประเด็นปัญหาสิ่งแวดล้อม 2. วิเคราะห์ประเด็นปัญหาสิ่งแวดล้อม 3. วิเคราะห์หาประเด็นสิ่งแวดล้อมที่สำคัญ 4. สรุปประเด็นปัญหาสิ่งแวดล้อมที่สำคัญ Normal Abnormal Emergency Objectives&Targets Operation Control Emergency Prepareness & Response 5. ทบทวนประเด็นปัญหาสิ่งแวดล้อม