“มาตรฐานสินค้าบนเส้นทางสู่ AEC” อุษา บำรุงพืช สำนักกำหนดมาตรฐาน สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช.) วันที่ 2 พฤษจิกายน 2556 อาคารศูนย์ประชุมวายุภักษ์ โรงแรมเซ็นทรา ศูนย์ราชการและคอนเวนชั่นเซ็นเตอร์ กรุงเทพมหานคร 19/09/61
กติกาด้านมาตรฐานขององค์การการค้าโลก โปร่งใส ปฏิบัติเสมอภาค อ้างอิงมาตรฐานระหว่างประเทศ - Codex, IPPC, OIE ปรับมาตรฐานเข้าหากัน ยอมรับมาตรฐานและผลการทดสอบ/รับรองที่เท่าเทียมกัน
ASEAN Cooperation on Food Safety ASEAN Cooperation on Food Safety is addressed by various working groups under ASEAN Ministers on Agriculture and Forestry (AMAF) ASEAN Economics Ministers (AEM) ASEAN Health Ministers (AHMM) ASEAN Minister on Science and Technology
การร่วมกำหนดมาตรฐานอาเซียน การปรับประสานมาตรฐานในอาเซียนรองรับการเข้าสู่ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ภายใต้รัฐมนตรีเกษตรและป่าไม้ (THE ASEAN MINISTERS ON AGRICULTURE AND FORESTRY: AMAF) ภายใต้รัฐมนตรีเศรษฐกิจ (THE ASEAN MINISTERS ON ECONOMIC : AEM )
แนวทางกำหนดมาตรฐานของอาเซียน/ประเทศ นำมาตรฐานระหว่างประเทศ ไปใช้ มีส่วนร่วมในการกำหนดมาตรฐานกับองค์การกำหนด มาตรฐานระหว่างประเทศ ประยุกต์ใช้หลักการทางวิทยาศาสตร์และหลักการวิเคราะห์ ความเสี่ยงสำหรับการกำหนดมาตรฐานความปลอดภัย อาหาร
Structure of ASEAN (operation in Food, Agriculture and Forestry)
การปรับประสานมาตรฐานอาเซียน ภายใต้รัฐมนตรีเกษตรและป่าไม้-AMAF 1.มาตรฐานพืชสวนและพืชอาหาร - Task Force on the ASEAN Standards for Horticultural Produce and other Food Crops (TF MASHP ) วัตถุประสงค์เพื่อการค้าระหว่าง ASEAN แต่สามารถใช้อ้างอิงสำหรับ การค้านอก ASEAN มาตรฐานที่กำหนดเน้นเกณฑ์คุณภาพของสินค้า ประกาศรับรองแล้ว 33 เรื่อง เช่น ผลไม้: ทุเรียน มะม่วง สับปะรด มะละกอ เงาะ ส้มโอ มังคุด แตงโม ฝรั่ง ลองกอง มะพร้าวอ่อน กล้วย ขนุน ชมพู่ ละมุด ผัก: หอมแดง แตงกวา เมล่อน สละ กระเจี๊ยบเขียว พริกหวาน หอมใหญ่ พริก มะเขือยาว ฟักทอง ข้าวโพดหวาน 8
การปรับประสานมาตรฐานอาเซียน ภายใต้รัฐมนตรีเกษตรและป่าไม้-AMAF 2. เกษตรอินทรีย์ (Organic agriculture) Special Task Force on ASEAN Standard for Organic Agriculture ประชุมแล้ว 1 ครั้ง กำหนดจัดประชุม workshop 3 ครั้ง ( 2556 – 2557) โดย ฟิลิปปินส์ ไทย มาเลเซีย ยกร่างมาตรฐานอาเซียน เรื่อง เกษตรอินทรีย์ นำ Asian Regional Organic Standard (AROS) เป็น working document จัดตรียมกลยุทธ์ของการดำเนินงานด้านเกษตรอินทรีย์ 9 9
การปรับประสานมาตรฐานอาเซียน 2. การกำหนดค่าปริมาณสารพิษตกค้าง (MRL)- Expert WG on the Harmonization of MRL of Pesticide among ASEAN Members : EWG-MRL กำหนดค่า ASEAN-MRL ของสารพิษตกค้างได้มากกว่า 900 ชนิด สอดคล้องกับมาตรฐาน Codex และข้อมูลการใช้สารเคมี/ข้อมูล สารพิษตกค้างของประเทศสมาชิกอาเซียน referred to Codex Standard 872 ค่า ข้อมูลเสนอโดยประเทศสมาชิก 44 ค่า 10
การร่วมกำหนดมาตรฐานอาเซียน ♦ การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (Good Agricultural Practices GAP) ของ ASEAN หรือ ASEAN GAP ผักผลไม้ : กำหนดมาตรฐานแล้ว อยู่ระหว่างการนำไปใช้ โดยประเทศสมาชิก GAP ผัก ผลไม้สด - ประกอบด้วย 4 หมวด : ความปลอดภัยอาหาร คุณภาพของผลิตผล การจัดการ สิ่งแวดล้อม และสุขภาพ ความปลอดภัยและสวัสดิภาพของผู้ปฏิบัติงาน - ความสอดคล้องกับมาตรฐานไทย ปรับปรุงมาตรฐาน มกษ. 9001 สอดคล้องกับ ASEAN GAP-FV ในปี 2556 ในปี 2549 อาเซียนได้ให้การรับรองการปฏิบัติทำงการเกษตรที่ดีของอาเซียนสาหรับผักและผลไม้สด (ASEAN Good Agricultural Practices for Fresh Fruit and Vegetables: ASEAN GAP) เพื่อใช้เป็นมาตรฐานสาหรับการผลิต การเก็บเกี่ยว และการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผักและผลไม้ในอาเซียน การปฏิบัติตามที่ระบุไว้ใน ASEAN GAP มีเป้าหมายเพื่อให้มั่นใจว่าผักและผลไม้ที่ผลิตได้ในอาเซียนมีความปลอดภัยในการรับประทำนและมีคุณภาพที่เหมาะสมสาหรับผู้บริโภค นอกจากนี้ ASEAN GAP ยังทำให้มั่นใจได้ว่าอาหารถูกผลิตและจัดการในลักษณะที่ไม่เป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม รวมทั้งสุขภาพ ความปลอดภัย และสวัสดิการของคนงานในสาขาเกษตรและอาหาร
การร่วมกำหนดมาตรฐานอาเซียน การปฏิบัติทางการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำที่ดี (Good Aquacultue Practices GAP) ของ ASEAN หรือ ASEAN GAP: สัตว์น้ำ GAP กุ้ง ประกอบด้วย 4 หมวด : คุณภาพและความปลอดภัยอาหาร สุขภาพและ สวัสดิภาพสัตว์ ความเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และ ความรับผิดชอบต่อสังคม ทบทวน มกษ. 7401 ให้สอดคล้องกับ ASEAN Shrimp GAP อยู่ระหว่างดำเนินการเป็นมาตรฐานบังคับ ร่าง GAP สำหรับสัตว์น้ำทั่วไป ครอบคลุม การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำทะเล สัตว์น้ำชายฝั่ง/สัตว์น้ำกร่อย และสัตว์น้ำจืด ในปี 2549 อาเซียนได้ให้การรับรองการปฏิบัติทำงการเกษตรที่ดีของอาเซียนสาหรับผักและผลไม้สด (ASEAN Good Agricultural Practices for Fresh Fruit and Vegetables: ASEAN GAP) เพื่อใช้เป็นมาตรฐานสาหรับการผลิต การเก็บเกี่ยว และการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผักและผลไม้ในอาเซียน การปฏิบัติตามที่ระบุไว้ใน ASEAN GAP มีเป้าหมายเพื่อให้มั่นใจว่าผักและผลไม้ที่ผลิตได้ในอาเซียนมีความปลอดภัยในการรับประทำนและมีคุณภาพที่เหมาะสมสาหรับผู้บริโภค นอกจากนี้ ASEAN GAP ยังทำให้มั่นใจได้ว่าอาหารถูกผลิตและจัดการในลักษณะที่ไม่เป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม รวมทั้งสุขภาพ ความปลอดภัย และสวัสดิการของคนงานในสาขาเกษตรและอาหาร
การร่วมกำหนดมาตรฐานอาเซียน การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (Good Agricultural Practices GAP) ของ ASEAN หรือ ASEAN GAP ปศุสัตว์ : ประชุมหารือยกร่างมาตรฐาน GAP ปศุสัตว์ไปแล้ว 2 ครั้ง ASEAN Sectoral Working Group on Livestock เช่น - Criteria for Accreditation of Establishments of Manufacturing Meat Products in Hermetically Sealed Containers ASEAN Sectoral Working Group on Halal - General Guidelines on Halal Food ในปี 2549 อาเซียนได้ให้การรับรองการปฏิบัติทำงการเกษตรที่ดีของอาเซียนสาหรับผักและผลไม้สด (ASEAN Good Agricultural Practices for Fresh Fruit and Vegetables: ASEAN GAP) เพื่อใช้เป็นมาตรฐานสาหรับการผลิต การเก็บเกี่ยว และการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผักและผลไม้ในอาเซียน การปฏิบัติตามที่ระบุไว้ใน ASEAN GAP มีเป้าหมายเพื่อให้มั่นใจว่าผักและผลไม้ที่ผลิตได้ในอาเซียนมีความปลอดภัยในการรับประทำนและมีคุณภาพที่เหมาะสมสาหรับผู้บริโภค นอกจากนี้ ASEAN GAP ยังทำให้มั่นใจได้ว่าอาหารถูกผลิตและจัดการในลักษณะที่ไม่เป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม รวมทั้งสุขภาพ ความปลอดภัย และสวัสดิการของคนงานในสาขาเกษตรและอาหาร
การนำ GAP ไปใช้ แต่ละประเทศจะต้องจัดทำ national GAPที่สอดคล้องกับ (aligned) กับ ASEAN GAP จัดทำระบบการยอมรับร่วม (มาตรฐานและการตรวจสอบ รับรอง) นำระบบการยอมรับร่วมไปใช้ รวมทั้งส่งเสริมให้เกิดการ ยอมรับร่วมนอกอาเซียน
การปรับประสานมาตรฐานอาเซียน ภายใต้รัฐมนตรีเศรษฐกิจ - AEM คณะกรรมการที่ปรึกษาด้านมาตรฐานและคุณภาพของอาเซียน (ASEAN Consultative Committee for Standards and Quality; ACCSQ อำนวยความสะดวกในการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจของ อาเซียน โดยการลดหรือเลิก อุปสรรคทางเทคนิคต่อการค้า ที่เกิด จากมาตรฐาน กฎระเบียบทางวิชาการ และการตรวจสอบรับรอง
ASEAN Food Testing Laboratories Committee (AFTLC) Structure of ACCSQ AECC WG 1 on Standards and MRAs TF on Building & Construction WG 2 on Accreditation and Conformity Assessment TF on Wood-based Products AEM WG 3 on Legal Metrology SEOM ASEAN Food Testing Laboratories Committee (AFTLC) JSC EEE – Joint Sectoral Committee for AHEEERR ACCSQ ACC – ASEAN Cosmetic Committee TF on Harmonization of PF PPWG – Pharmaceutical Product Working Group TF on Development of MRA PFPWG – Prepared Foodstuff TF on MRA for Automotive APWG - Automotive TF on TMHS Model RBPWG – Rubber-based Products TF on TMHS GMP MDPWG – Medical Device TF on Regulatory Frame. TMHS TMHSPWG – Traditional Medicines & Health Supplement TF on Pesticide Residue TMHS ASEAN TMHS Scientific Comm.
การร่วมกำหนดมาตรฐานอาเซียน ภายใต้รัฐมนตรีเศรษฐกิจ AEM ♦ คณะทำงานด้านผลิตภัณฑ์อาหารสำเร็จรูป การปรับประสานมาตรฐาน/ข้อกำหนดด้านเทคนิค การจัดทำกรอบความตกลงการยอมรับร่วม เสริมสร้างความเข้มแข็งระบบการตรวจสอบรับรองในอาเซียน
การร่วมกำหนดมาตรฐานอาเซียน คณะทำงานด้านผลิตภัณฑ์อาหารสำเร็จรูป:ACCSQ-PFWG การปรับมาตรฐานและกฎระเบียบทางเทคนิค ASEAN Common Food Control Requirements ♦ สุขลักษณะอาหาร♦ ฉลาก ♦ ระบบการควบคุมอาหาร แนวทางการตรวจประเมิน GMP HACCP หลักการและแนวทางสำหรับการปรับประสานระบบการ ตรวจสอบและรับรองอาหาร
การปรับประสานมาตรฐานภายใต้ ACCSQ PFPWG การปรับประสานมาตรฐานด้านความปลอดภัยอาหาร วัตถุเจือปนอาหาร เห็นชอบกับการปรับประสานวัตถุเจือปนอาหาร 9 ชนิดที่ สอดคล้องกับมาตรฐาน Codex ในอาหารประเภท ขนมหวาน เช่น caramel III, caramel IV, beewax, fast green FCF สารปนเปื้อน สำรวจข้อมูลการปรับประสาน Heavy metal contaminant เช่น ดีบุก ตะกั่ว
For Harmonization divergence on Food Safety Standards Decision Tree For Harmonization divergence on Food Safety Standards AMSs กรอกข้อมูล FSS Harmonization Similarities Evaluation of FSS Similarities & Differences FSS harmonized among AMS and with Codex Time given to AMS To review their FSS FSS harmonized among AMS Choice : FSS Risk Assessment (exposure assessment) at National Level by AMS at ASEAN level Evaluation of FSS Similarities & Differences FSS unharmonized Stop / Continue bilateral
กรอบความตกลงการยอมรับร่วม การจัดทำกรอบความตกลงการยอมรับร่วม(ASEAN Sectoral Mutual Recognition Arrangement for Prepared Foodstuff Product) รับผิดชอบโดย Taskforce on Development of MRA มีแนวทางสอดคล้องกับกรอบความตกลงยอมรับร่วมของอาเซียน (ASEAN Framework Agreement on Mutual Recognition Arrangement) 21
กรอบความตกลงการยอมรับร่วมอาเซียนของอาหารแปรรูป Mutual Recognition Obligations มีระบบการตรวจสอบรับรองที่สอดคล้องกับ Codex และ ยอมรับความเท่าเทียมของระบบตรวจสอบ ใช้มาตรฐาน ASEAN harmonized standard ถ้าไม่มีให้ใช้ มาตรฐาน Codex กรณีมีมาตรฐานที่แตกต่างกัน ใช้มาตรฐาน ของประเทศผู้นำเข้าที่เป็นไปตาม WTO ความโปร่งใส (Transparency) การแลกเปลี่ยนข้อมูลด้าน กฎระเบียบ การแจ้งเตือนเมื่อมีความไม่ปลอดภัยอาหารเกิดขึ้น
กรอบความตกลงการยอมรับร่วมอาเซียนของอาหารแปรรูป หน่วยตรวจสอบรับรอง - จัดทำบัญชีรายชื่อ หน่วยตรวจสอบรับรองที่ได้รับการ accredited จาก Accreditation Body รวมถึง competent authority และ regulatory authority
กรอบความตกลงการยอมรับร่วมอาเซียนของอาหารแปรรูป ACCSQ PFPWG ครั้งที่ 17 เห็นชอบให้จัดประชุม Workshop on the Mutual Recognition Arrangement for Prepared Foodstuff (18 – 20 พย. 2556) สร้างความชัดเจนและความเข้าใจร่วมกันระหว่าง AMS ในการ จัดทำ ASEAN MRA ขอบข่ายการนำไปใช้ 19/09/61
กรอบความตกลงการยอมรับร่วมอาเซียนของอาหารแปรรูป หัวข้ออภิปราย 1. อุปสรรคทางการค้าที่มิใช่ภาษีของผลิตภัณฑ์อาหารสำเร็จรูปที่ เกิดขึ้นภายในอาเซียน เช่น การแสดงฉลากด้วยภาษาของประเทศผู้นำเข้า รูปแบบที่แตกต่างกันของการระบุวันที่ผลิต หมดอายุ Sample, Health certificate, Free Sale Certificate 19/09/61
กรอบความตกลงการยอมรับร่วมอาเซียนของอาหารแปรรูป หัวข้ออภิปราย(ต่อ) 2. การระบุแนวทางและวิธีการที่เหมาะสมในการขจัดอุปสรรค ทางการค้าที่มิใช่ภาษี - การยอมรับผลการทดสอบ - การยอมรับการตรวจสอบและรับรอง เช่น สุขลักษณะ อาหาร, HACCP - การปรับมาตรฐานเข้าหากัน - การทำความตกลงความเท่าเทียมของมาตรการสุขอนามัย 19/09/61
กรอบความตกลงการยอมรับร่วมอาเซียนของอาหารแปรรูป หัวข้ออภิปราย(ต่อ) 3. ความริเริ่มของประเทศอาเซียนที่เกี่ยวข้องกับ - การปรับประสานมาตรฐาน/ข้อกำหนดด้านเทคนิค - ห้องปฏิบัติการอ้างอิงของอาเซียน (AFRL) - การแจ้งเตือนภัย ( ARASFF) - ความเชื่อมโยงกับความตกลงยอมรับร่วม 19/09/61
กรอบความตกลงการยอมรับร่วมอาเซียนของอาหารแปรรูป หัวข้ออภิปราย(ต่อ) 4. พันธกรณีในการยอมรับของประเทศสมาชิก - บทบาทและข้อกำหนดของ competent authorities - กลไกการจัดการความขัดแย้ง - บทบัญญัติด้านความร่วมมือและการให้ความช่วยเหลือ - บทบัญญัติด้านความโปร่งใส 5. การดำเนินการความตกลงยอมรับร่วมที่เกี่ยวข้องกับการระบุวิธีการ ต่างๆ ความต้องการเกี่ยวกับโครงสร้างภายใน และกลไกที่จำเป็นสำหรับแต่ ละประเทศสมาชิกและสำหรับภูมิภาคอาเซียน 19/09/61
เสริมสร้างความเข้มแข็งระบบการตรวจสอบรับรองในอาเซียนรับผิดชอบโดย ASEAN Food Testing Laboratory Committee (AFTLC) จัดตั้ง ASEAN Food Reference Laboratories (AFRL) 6 ด้าน - สารพิษตกค้าง (สิงค์โปร์) - สารพิษจากเชื้อรา (สิงค์โปร์) - GMO (มาเลเซีย) - จุลินทรีย์ (เวียดนาม) - โลหะหนัก ( ประเทศไทย-กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์) - ยาสัตว์ (ประเทศไทย – กรมปศุสัตว์) 29
เสริมสร้างความเข้มแข็งระบบการตรวจสอบ รับรองในอาเซียนรับผิดชอบโดย ASEAN Food Testing Laboratory Committee (AFTLC) : อยู่ระหว่างการพิจารณารับรอง new AFRL ใหม่อีก 2 ด้าน - วัสดุสัมผัสอาหาร (Food Contact material) – ประเทศไทย (กรมวิทยาศาสตร์บริการ) วัตถุเจือปนอาหาร – อินโดนีเซีย : ASEAN Guidelines for Food Reference Laboratory เป็น แนวทาง สำหรับการดำเนินงานของ AFRL ให้สอดคล้องกับ มาตรฐานสากล : กระบวนการ/ขั้นตอนการจัดตั้ง AFRLสาขาใหม่ๆ 30
เสริมสร้างความเข้มแข็งระบบการตรวจสอบ รับรองในอาเซียนรับผิดชอบโดย ASEAN Food Testing Laboratory Committee (AFTLC) : ข้อเสนอ AFRLสาขาใหม่ๆ Environmental Contaminants เสนอโดย สิงค์โปร์ Functional Food เสนอโดย เวียดนาม Extraneous Matter (Filth) เสนอโดยประเทศไทย 31
การดำเนินการต่อไป ปรับปรุงมาตรฐานให้สอดคล้องกับ ASEAN Harmonized Standard สร้างกลไกการยอมรับมาตรฐานและระบบการรับรองสำหรับ สินค้าที่มีศักยภาพสูง พัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตรเข้าสู่มาตรฐาน จัดตั้ง ASEAN Food Reference Laboratories ด้านอื่นๆ เพิ่มเติม
ขอบคุณค่ะ