Leveling เพื่อการจัดสวน การทำระดับ (Leveling) เป็นกระบวนการในการหาความสูงของจุด หรือความแตกต่างความสูงของจุดที่ต้องการ งานนี้มีความสำคัญสำหรับการได้มาซึ่งข้อมูลที่จำเป็นสำหรับการทำแผนที่ภูมิประเทศ การออกแบบทางวิศวกรรมและการก่อสร้าง (Brinker, 1997) 17 กันยายน 2561 การจัดสวนอย่างไรให้เหมาะกับหลักฮวงจุ้ยhttp://www.modernfs.com/garden.htm
ประโยชน์ของการระดับ 1. การออกแบบทางหลวง ทางรถไฟ และคลองส่งน้ำ 2. การ Lay Out โครงการก่อสร้างตามแปลนของค่าระดับ 3. การคำนวณปริมาตรดิน (Earth Work) ขุด-ถม 4. สำรวจและศึกษาลักษณะของระบบระบายน้ำในพื้นที่ 5. ทำแผนที่แสดงทรวดทรง หรือความสูงต่ำของพื้นที่ 6. การออกแบบจัดสวน 17 กันยายน 2561
ศัพท์สำรวจ (Term & Definition) Hor. Line A B Hor. PLane DE. Of AB Elev. Of B Elev. Of A MSL Vert. Line To Center of the Earth 17 กันยายน 2561
Term & Definition 1. ระนาบอ้างอิง/พื้นหลักฐาน (Datum) หมายถึง ระนาบใด ๆ ที่ใช้อ้างอิงความสูง อาจจะเป็นระนาบสมมติ หรือระดับน้ำทะเลปานกลาง ทั้งที่ในความจริงอาจจะไม่ใช่ระนาบ 2. ระดับน้ำทะเลปานกลาง (Mean Sea Level: MSL) หมายถึง ค่าเฉลี่ยความสูงของพื้นผิวของน้ำทะเล ในช่วงเวลาน้ำขึ้นสูงสุด และน้ำลงต่ำสุดในแต่ละวัน โดยเก็บข้อมูลเป็นเวลานาน 3. ความสูง (Elevation) หมายถึง ระยะทางดิ่งของจุด ๆ หนึ่งบนพื้นโลกจนถึงระนาบอ้างอิง 17 กันยายน 2561
P’ P 17 กันยายน 2561
Term & Definition 4. หมุดหลักฐาน (Bench Mark: BM) หมายถึง หมุดที่ทราบค่าพิกัดทางราบและทางดิ่งหรืออย่างใดอย่างหนึ่ง เพื่อใช้อ้างอิงค่าพิกัดหรือค่าระดับ หมุดหลักฐานแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ 1. หมุดหลักฐานทางดิ่ง (Vertical Control Mark) 2. หมุดหลักฐานทางราบ (Horizontal Control Mark) 17 กันยายน 2561 http://www.geocaching.com/mark/ http://en.wikipedia.org/wiki/Benchmark_%28surveying%29
BM คณะเกษตรศาสตร์ฯ UTM47 WGS84 627469.581 mE 1851911.146 mN Elev. = 42.122 m MSL UTM47 WGS84 627521.843 mE 1851839.056 mN Elev. = 41.515 m MSL 17 กันยายน 2561
Term & Definition 5. การทำระดับ (Levelling) หมายถึง ขบวนการหาความสูงของจุดสถานี หรือการหาค่าความแตกต่างความสูงของจุดต่าง ๆ ที่ต้องการ 6. เส้นดิ่ง (Vertical Line) หมายถึง เส้นที่พุ่งเข้าสู่ศูนย์กลางของโลกจากจุดใด ๆ ซึ่งปกติจะตรงกับเส้นลูกดิ่ง (Plumb Line) ซึ่งแต่ละเส้นลูกดิ่งจะไม่ตัดกันที่จุดศูนย์กลางของโลก เพราะขึ้นอยู่กับพื้นผิวของ ยีออยด์ (Geoids) 17 กันยายน 2561
Term & Definition 7. พื้นผิวระดับ (Level Surface) หมายถึง พื้นผิวโค้ง (Curve Surface) ซึ่งทุก ๆ จุดจะตั้งฉากกับเส้นดิ่งที่ถูกแรงดึงดูดของโลกกระทำ พื้นผิวระดับเป็นรูปร่างโดยประมาณของ Spheroid (ผิวน้ำนิ่งและกว้าง) 8. เส้นระดับ (Level Line) หมายถึง เส้น ๆ หนึ่งที่วางอยู่บนพื้นผิวระดับ 9. ระยะทางราบ (Horizontal Distance) หมายถึง ระยะทางระหว่างจุด 2 จุด บนพื้นโลก A B A B 17 กันยายน 2561
Term & Definition 10. พื้นระนาบดิ่ง (Vertical Plane) เป็นระนาบในแนวดิ่งที่มีเส้นดิ่งของจุดนั้นอยู่ด้วยเสมอที่จุด ๆ หนึ่งมีระนาบดิ่งได้จำนวนอนันต์ Vertical Plane Earth Surface Vertical Line 17 กันยายน 2561
Term & Definition 11. มุมราบ (Horizontal Angle) หมายถึง มุมที่เกิดจากการกระทำมุมระหว่างระนาบดิ่ง 2 ระนาบบนพื้นระนาบราบของจุด ๆ หนึ่ง จุดนี้อาจจะอยู่บนหรือใต้พื้นดินก็ได้ 12. มุมดิ่ง (Vertical Angle) หมายถึง มุมก้ม (Depression Angle) หรือมุมเงย (Elevate Angle) จากพื้นระนาบราบที่วัดอยู่บนพื้นระนาบดิ่ง Vertical Plane Horz. Plane Spherical Surface Vertical Line 17 กันยายน 2561
ชนิดของกล้องระดับ 1. ชนิดกล้องเทเลสโคปติดกับเดือยแกนดิ่งเป็นชิ้นเดียวกัน (Dumpy level) 2. ชนิดกล้องเทเลสโคปปรับระดับได้ (Tilting level) 3. ชนิดกล้องระดับอัตโนมัติ (Automatic level) 4. ชนิดกล้องระดับพิเศษ (Precise level) 5. ชนิดกล้องดิจิตอล (Digital level) 6. ชนิดกล้องเลเซอร์ (Laser Level) 17 กันยายน 2561
3. กล้องระดับอัตโนมัติ (Automatic level) เป็นกล้องที่มีอุปกรณ์สำคัญคือตัวชดเชย (Compensating) ที่เป็นระบบออฟติคหรือระบบลูกตุ้มช่วยให้แนวเล็งของกล้อง อยู่ในแนวราบได้โดยอัตโนมัติเพียงแค่ปรับตาไก่ให้เข้าที่เท่านั้น ไม่ว่ากล้องเทเลสโคปจะอยู่ในทิศทางใดทำให้ง่ายแก่การปฏิบัติงาน มากโดยมีความถูกต้องในระดับที่ใช้งานได้สำหรับงานก่อสร้าง ทดสอบการทำงานของตัวชดเชยโดยการกดกล้องเทเลสโคป แล้วปล่อยสายใยกล้องจะสั่นสักครู่แล้วจึงหยุด 17 กันยายน 2561
3. ชนิดกล้องระดับอัตโนมัติ (Automatic level) 17 กันยายน 2561
3. ชนิดกล้องระดับอัตโนมัติ (Automatic level) 17 กันยายน 2561
Specification RUNNER 20 RUNNER 24 Runner 20 Runner 24 20 x 24 x Standard deviation per km double-run levelling 2.5 mm 2.0 mm Telescope Telescope image Upright Magnification 20 x 24 x Clear objective aperture 36 mm Shortest focusing distance 0.8 m Multiplication factor 100 Additive constant Compensator Working range 15‘ Setting accuracy 0.5’’ Sensitivity of circular level 10’/2 mm Horizontal circle (metal) 360 ° Graduation interval of Hz circle 1 minute Weight (net) 2 kg Operating temperature range –20° C to +50° C Specification RUNNER 20 RUNNER 24 17 กันยายน 2561
5. กล้องระดับดิจิตอล (Digital level) LEICA DNA03 DNA10 17 กันยายน 2561
5. กล้องระดับดิจิตอล (Digital level) LEICA DNA03 DNA10 17 กันยายน 2561
ส่วนประกอบของกล้องระดับ Telescope Sighting Knob (Open Sight) Eyepice Lens Objective Lens Focusing Knob Tubular Level Circular Vial Horizontal Drive Screw Foot Screw Tilting Screw Horizontal Circle Index for reading the circle Base Plate and Screw 17 กันยายน 2561
ส่วนประกอบของกล้องระดับ 17 กันยายน 2561
ไม้ระดับ Staff or Leveling Rod SECO BIPOD - LEVELING ROD This new bipod features a special head to hold most popular rectangular rods. 17 กันยายน 2561 http://www.chiefsupply.com/survey_levels_rods.phtml
Staff E type staff Invar Staff Digital Staff Wooden Hinged staff 17 กันยายน 2561
ECONOMICAL FIBERGLASS TRIPOD HEAVY-DUTY ALUMINUM TRIPOD ECONOMICAL FIBERGLASS TRIPOD 17 กันยายน 2561 http://www.chiefsupply.com/survey_tripods_cst.phtml
อุปกรณ์งานระดับ 17 กันยายน 2561
กล้องระดับ เป็นเครื่องมือซึ่งเมื่อทำการตั้งและปรับระดับแล้วจะมีแกนแนวเล็ง (Line of Sight or Line of Collimation) ทำมุมตั้งฉากกับแรงดึงดูดของโลกที่แทนด้วยสายลูกดิ่ง ณ จุดนั้น ซึ่งแกนแนวเล็งจะอยู่ในเส้นราบ (Horizontal Line) 17 กันยายน 2561
กล้องโทรทัศน์ (Telescope) กล้องแบบเก่าเป็นแบบง่าย ๆ ประกอบด้วยกระบอกกลมสองอันสวมกันได้พอดี กระบอกส่วนในมีเลนส์ภาพที่สามารถเลื่อนไป-มาได้ ส่วนที่เลนส์ตา และสายใยที่ตรึงอยู่กับที่ เลนส์วัตถุ (Objective Lens) เป็นแก้วที่ขัดผิวแบบต่าง ๆ นำมาประกอบเป็นชุดเลนส์ ซึ่งจะมีแกนร่วมที่เรียกว่า แกนทัศนูปกรณ์ (Optical Axis) ส่วนเลนส์ตาเป็นเลนส์นูน อยู่ใกล้กับสายใย 17 กันยายน 2561
กล้องโทรทัศน์ (Telescope) เลนส์ตาหรือเลนส์ขยาย (Eyepieces Lens) ทำหน้าที่มองภาพที่ได้มาจากเลนส์วัตถุ และภาพจากสายใยซึ่งจะต้องชัดเจนที่สุดเพื่อลดการเกิดระยะเหลื่อม แบบต่าง ๆ ของสายใย (Cross Hair or Reticule) 17 กันยายน 2561
ฟองกลม หรือ ตาไก่ (Circular Vial) เป็นกล่องวงกลมมีผิวแก้วโค้ง ภายในบรรจุด้วยของเหลว เช่น Alcohal, Ether, Choroform และมีที่ว่างคือฟองอากาศ ซึ่งจะลอยอยู่บนสุดของตาไก่ ขนาดของฟองจะเปลี่ยนแปลงไปตามอุณหภูมิของอากาศ - ขีดแบ่งมีระยะมาตรฐาน 2 มม./ขีด - มีมุมรองรับ 1 ขีดนั้น ประมาณ 8-10 ลิปดา 17 กันยายน 2561
ชั้นของงานระดับ Class II 4 มม. ถึง 8 มม. Class III 8 มม. ถึง 12 มม. ถึง 8 มม. Class III 8 มม. ถึง 12 มม. Class IV 12 มม. ถึง 25 มม. 17 กันยายน 2561
การตั้งกล้องระดับอัตโนมัติ 1) หมุนกล้องให้ตาไก่มาอยู่ที่กึ่งกลางของควงปรับระดับคู่หนึ่ง คือ ควง A และควง B ดังภาพ 2) หมุนควงปรับระดับ A และ B พร้อมกันในทิศทาง สวนทางกัน และปริมาณเท่ากันจะทำให้ฟองอากาศเลื่อนอย่างรวดเร็วเข้าสู่แนวเส้นตรงที่เชื่อมจากควงปรับระดับ C ถึงตาไก่ 3) หมุนควงปรับระดับ C จนฟองอากาศเข้ากึ่งกลาง 4) ทดสอบโดยการหมุนกล้องไป 180 องศา หากฟอง อากาศยังคงเข้าที่ แสดงว่ากล้องได้ระดับ พร้อมใช้งาน 17 กันยายน 2561
การตั้งกล้องระดับ Tilting Level A C B A C B ฟองกลม เข้า-ขวา ออก-ซ้าย ตาม-ขึ้น ทวน- ลง ฟองยาว เข้า-ขวา ออก-ซ้าย 17 กันยายน 2561
การทำระดับโดยตรง 1. การทำระดับด้วยหลอดระดับ ไม้เมตร และไม้ระดับ 2. การทำระดับด้วยกล้องระดับ กับไม้ระดับ 2.1 เมื่อตั้งกล้องเหนือหมุดหลักฐาน 2.2 เมื่อตั้งกล้องเหนือหมุดที่ไม่ทราบค่าระดับ 3. การทำระดับต่อเนื่อง Continuous Leveling 4. การทำระดับพื้นที่ โดยวิธีรังวัดบ่อยืม และการวัดมุม และทิศทาง 17 กันยายน 2561
การระดับ Leveling Elev. of B = Elev. of A – (1.500+1.700+1.400 ) หลอดระดับ ไม้ระดับ ค่าระดับ 451.000 ม. ค่าระดับ 446.400 1.500 A 1.700 1.400 B Elev. of B = Elev. of A – (1.500+1.700+1.400 ) = 451.000 - 4.600 เมตร = 446.400 เมตร 17 กันยายน 2561
การระดับ Leveling 1.000 N M 0.800 2.000 1.500 ค่าระดับ 500.000 ม. Elev. of N = Elev. of M ± (- 0.800 -1.500+2.000+1.000 ) = 500.000 + 0.700 เมตร = 500.700 เมตร 17 กันยายน 2561
2. การทำระดับด้วยกล้องระดับ กับไม้ระดับ 2.1 เมื่อตั้งกล้องเหนือหมุดหลักฐาน F.S. = 0.800 0.800 B i =1.500 Elev = i – F.S A = 100.000 m Elev = i – F.S. = 1.500 – 0.800 = 0.700 Elev. of B = Elev. of A + Elev. = 100.000 + 0.700 = 100.700 ม. 17 กันยายน 2561
2. การทำระดับด้วยกล้องระดับ กับไม้ระดับ 2.2 เมื่อตั้งกล้องเหนือหมุดที่ไม่ทราบค่าระดับ (B) B.S. = 2.300 1.600 i =1.600 Elev = B.S - i B? Elev = B.S. - i = 2.300 – 1.600 = 0.700 A = 100.000 m Elev. of B = Elev. of A + Elev. = 100.000 + 0.700 = 100.700 ม. 17 กันยายน 2561
การทำระดับต่อเนื่อง BS FS X T.P.2 T.P.1 BM.1 17 กันยายน 2561
การทำระดับแบบ Differential Leveling 17 กันยายน 2561 http://www.ce.memphis.edu/1101/notes/surveying/surveying_levling.pdf
17 กันยายน 2561
นิยามศัพท์การทำระดับ Backsight (BS: ค่าไม้หลัง) คือ ค่าที่อ่านจากจุดที่ทราบ ค่าระดับแล้ว Intermediate Foresight (IFS,IS: ค่าไม้กลาง) คือ ค่าระดับ ที่อ่านหลังจากอ่าน BS แล้วเพื่อหาระดับของจุดนั้น, Foresight (FS: ค่าไม้หน้า) คือ ค่าที่อ่านจากจุดที่ต้องการ ทราบค่าระดับ 17 กันยายน 2561
นิยามศัพท์การทำระดับ Turning Point: TP หรือบางทีใช้เป็น Temporary Benchmark: TBM เป็นจุดที่กำหนดขึ้นเพื่อย้ายกล้อง ระดับ โดยต้องอ่านค่าทั้ง BS และ FS เพื่อถ่ายระดับ ในการตั้งกล้องสถานีต่อไป Height Instrument: HI (ความสูงของแนวเล็ง) เป็นความสูงที่วัดจากฐานระดับมายังแกน กล้องระดับ (Optical Axis) 17 กันยายน 2561
นิยามศัพท์เทคนิค 17 กันยายน 2561
นิยามศัพท์เทคนิค 17 กันยายน 2561
นิยามศัพท์เทคนิค 17 กันยายน 2561
การคำนวณค่าระดับ Differential Leveling วิธีวัดความสูงของแนวเล็ง (The Height of Collimation Method or Height of Instrument: HI) Sta. BS. HI. FS. Elev. Reks BM A B C D 1.620 1.750 1.836 0.200 11.620 12.040 12.776 12.926 1.330 1.100 0.050 2.100 10.000 10.290 10.940 12.726 10.826 ค่าระดับสมมติAssume Elev. BS = 5.406 FS = 4.580 = 0.826 check ผลต่างระดับ = 10.826 – 10.000 17 กันยายน 2561
The Height of Collimation Method or Height of Instrument: HI 17 กันยายน 2561 http://www.ce.memphis.edu/1101/notes/surveying/surveying_levling.pdf
The Height of Collimation Method or Height of Instrument: HI 17 กันยายน 2561
The Height of Collimation Method or Height of Instrument: HI 17 กันยายน 2561
The Height of Collimation Method or Height of Instrument: HI 17 กันยายน 2561
The Height of Collimation Method or Height of Instrument: HI 17 กันยายน 2561
The Height of Collimation Method or Height of Instrument: HI 17 กันยายน 2561
The Height of Collimation Method or Height of Instrument: HI 17 กันยายน 2561
The Height of Collimation Method or Height of Instrument: HI Change in Elevation 17 กันยายน 2561
Area Leveling อาจจะใช้ในการออกแบบสวน 17 กันยายน 2561
Contouring เส้นชั้นความสูงหรือเส้นระดับ คือ เส้นสมมติที่ลากผ่านตำบลที่มีความสูงเท่ากัน โดยการประมาณค่าในช่วง (Interpolation) จากจุดระดับสูง เที่ยง (Spot Elevation) 17 กันยายน 2561
เส้นชั้นความสูง 17 กันยายน 2561
Contouring Contour Interval: C.I. จะขึ้นอยู่กับสิ่งต่อไปนี้คือ 17 กันยายน 2561
Contouring 2. มาตราส่วนของแผนที่ ถ้าแผนที่มาตราส่วนเล็กต้อง กำหนด C.I.กว้าง เพื่อความสะดวกในการเขียนเส้นชั้น ความสูงด้วยมือหรือเครื่องมือต่าง ๆ ตลอดจนลดปัญหา ในการถ่ายย่อจากแผนที่ต้นฉบับ / หารด้วย 1000 3. งบประมาณ และ เวลาในการปฏิบัติงาน 17 กันยายน 2561
Point A = 0 ft Point D ~ 25 ft. Point B = 10 ft. Point E ~ 8 ft. Point C ~ 15 ft. 17 กันยายน 2561 http://raider.muc.edu/~mcnaugma/Topographic%20Maps/contour.htm
Point C ~ 770 m. 17 กันยายน 2561 http://raider.muc.edu/~mcnaugma/Topographic%20Maps/contour.htm
Points between contour lines. 17 กันยายน 2561
แผนที่ L 7017 ระวางจังหวัดตาก 17 กันยายน 2561
วิธีการรังวัดเพื่อการเขียนเส้นชั้นความสูงบนแผนที่ วิธีตารางกริด (Grid Method) จะเป็นการสร้างตาราง จัตุรัสบนพื้นดิน อาจจะเป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้าก็ได้ ระยะห่าง ของจัตุรัสจะสัมพันธ์กับระยะห่างของเส้นชั้นความสูงที่ ต้องการด้วยเสมอ เช่น ขนาดจัตุรัส 10 x 10 เมตร ควร เขียนเส้นชั้นความสูง ประมาณ 0.25 เมตร และ จตุรัส 20 x 20 เมตร เหมาะกับประมาณ 0.50 เมตร 17 กันยายน 2561
Volumes From Spot Heights - Grid Levelling Rectangular Base Method 17 กันยายน 2561
การรังวัดบ่อยืม Borrow Pit Leveling 17 กันยายน 2561
การหาความต่างระดับในพื้นที่จัดสวนโดยใช้สายยาง 1. ไม้ขนาดยาว 1 เมตร จำนวน 2 ท่อน ให้ขีดเครื่องหมายแบ่งระยะทางลงบนไม้นั้นเป็นหน่วยเซนติเมตรให้เห็นชัดเจน 2. นำสายยางขนาดเล็กยาวประมาณ 15 เมตร ผูกติดกับไม้ทั้งสองท่อนที่จัดเตรียมไว้แล้ว สายยางดังกล่าวใช้สำหรับใส่น้ำให้เต็มและไม่มีฟองอากาศเพื่อบอกระดับน้ำ 3. นำเชือกยาว 10 เมตร ผูกติดไม้ทั้งสอง สำหรับวัดระยะทางราบระหว่างจุด 2 จุด 17 กันยายน 2561
การหาความต่างระดับในพื้นที่จัดสวนโดยใช้สายยาง เมื่อวางไม้วัดระดับและสายยางห่างกันเป็นระยะทางราบ 10 เมตร แล้ว ก็อ่านระดับน้ำที่หลักที่ 1 และหลักที่ 2 สมมติระดับน้ำที่จุดที่ 1 อ่านได้ 0.8 เมตร และจุดที่ 2 อ่านได้ 0.2 เมตร เอาค่าทั้งสองมาลบกันจะได้เป็นค่าความสูงต่างระดับระหว่างจุดที่ 1 และ 2 ในที่นี้คือ 0.8 เมตร – 0.2 เมตร = 0.6 เมตร จากนั้นก็หาค่าความลาดเอียงระหว่างจุดที่ 1 – จุดที่ 2 ได้ 17 กันยายน 2561
การวางแนวเส้นชั้นความสูง (Contour Line) ในพื้นที่ โดยสายยาง 0.5 ม. 1.5 ม. 1.7 ม. 0.7 ม. แนวลากสายยางเพื่อหาจุดต่างระดับทีละ 1 เมตร 17 กันยายน 2561
การวางแนวเส้นชั้นความสูง (Contour Line) ในพื้นที่ โดย A-Frame 17 กันยายน 2561
การวางแนวเส้นชั้นความสูง (Contour Line) ในพื้นที่ โดย A-Frame 17 กันยายน 2561
17 กันยายน 2561 http://benson.byu.edu/Publication/Lessons/Images/L1/Water/fp/1712e.jpg
17 กันยายน 2561 http://farm1.static.flickr.com/228/459917425_9cd46463f1_o.gif