วิสัยทัศน์โรงพยาบาลพรเจริญ “โรงพยาบาลน่าอยู่ มุ่งสู่มาตรฐาน บริการพึงพอใจ ชุมชนร่วมสร้างสุขภาพ” ค่านิยม 5 ประการ P C R erformance ompetency elationship H L umannized health care earning
โรงพยาบาลน่าอยู่ มุ่งสู่มาตรฐาน บริการพึงพอใจ ชุมชนร่วมสร้างสุขภาพ วิสัยทัศน์ (VISION) โรงพยาบาลน่าอยู่ มุ่งสู่มาตรฐาน บริการพึงพอใจ ชุมชนร่วมสร้างสุขภาพ Pleasant Hospital Leading with Standard Satisfying Service Health Development by Community Participation
พันธกิจโรงพยาบาลพรเจริญ พัฒนาระบบบริการสุขภาพ แบบองค์รวมครอบคลุม 4 มิติ ให้ได้มาตรฐาน ปลอดภัย พึงพอใจ โดยการมีส่วนร่วมของชุมชนและภาคีเครือข่าย 1 2 พัฒนาทรัพยากรบุคคล ให้มีสมรรถนะสูง มีความสุข มีคุณธรรม จริยธรรม บนฐานวัฒนธรรมองค์กรและค่านิยมร่วมกันที่เข้มแข็ง พัฒนาระบบจัดการด้าน สิ่งแวดล้อมให้น่าอยู่ และได้มาตรฐาน มีความปลอดภัย 3 พัฒนาระบบบริหารจัดการ ด้านสุขภาพให้มีประสิทธิภาพ และธรรมาภิบาลให้เกิดการบูรณาการทุกภาคส่วน 4
เข็มมุ่งขององค์กร 1.พัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วย เบาหวาน /ความดันโลหิตสูง/ ไตวาย 2.พัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยโรคอุจจาระร่วง/ มะเร็งท่อน้ำดี 3.พัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยโรคติดเชื้อในกระแสโลหิต ( Sepsis) 4.พัฒนาระบบการส่งต่อและการดูแลต่อเนื่อง(COC) บ 5.พัฒนาองค์กรสู่โรงพยาบาลคุณธรรม
ความเชี่ยวชาญขององค์กร (Core Competency) การประสานความร่วมมือกับชุมชนและภาคีเครือข่าย
ยุทธศาสตร์โรงพยาบาลพรเจริญ ปี 2560 ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาระบบบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพ กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาระบบริหาร การเงินการคลัง และบริหารจัดการพัสดุให้มีประสิทธิภาพ กลยุทธ์ที่ 2 พัฒนาระบบบริหารทรัพยากรบุคคลและภาคีเครือข่ายด้านสาธารณสุขให้มีประสิทธิภาพ กลยุทธ์ที่ 3 พัฒนาระบบสารสนเทศให้เอื้อต่อการบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพ
ยุทธศาสตร์โรงพยาบาลพรเจริญ ปี 2560 ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาระบบบริการสุขภาพทุกระดับให้ได้มาตรฐานและคุณภาพ กลยุทธ์ที่ 4 พัฒนาระบบบริการสุขภาพในกลุ่มโรคสำคัญ ได้แก่ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคมะเร็งท่อน้ำดี อุจจาระร่วง โรคติดเชื้อในกระแสโลหิต กลยุทธ์ที่ 5 พัฒนากระบวนการดูแลผู้ป่วยให้ได้มาตรฐาน โดยการมีส่วนร่วมของชุมชนและภาคีเครือข่าย กลยุทธ์ที่ 6 พัฒนาระบบความปลอดภัยของผู้ป่วย ในโรงพยาบาลตามนโยบาย SIMPLE
ยุทธศาสตร์โรงพยาบาลพรเจริญ ปี 2559 ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาระบบงานที่สำคัญตามมาตรฐาน กลยุทธ์ที่ 7 พัฒนาระบบงานสำคัญเพื่อให้ผ่านการประเมินรับรอง HA & HPH มาตรฐานรพ.สุขศึกษา โรงครัวมาตรฐาน มาตรฐาน QSC PCU ติดดาว มาตรฐานกายภาพบำบัด มาตรฐานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย มาตรฐานคลินิกทันตกรรม มาตรฐานLA HA ยาเสพติด
I : Infection Control กลยุทธ์ที่ 6 พัฒนาระบบความปลอดภัยของผู้ป่วย ในโรงพยาบาลตามนโยบาย SIMPLE S 1: SSI Prevention S : Safe Surgery S 2: Safe anesthesia S 3.2: Surgical Safety Checklist I 1: Hand Hygiene I : Infection Control I 2: CAUTI Prevention การส่งเสริมการล้างมือที่ถูกวิธี( 6 ขั้นตอน )
M : Medication & Blood Safety M 1.1 : Control concentrated Electrolyte solution M : Medication & Blood Safety M 1.2: Improve the safety of High-Alert Drug แนวทางการป้องกันยาที่มีความเสี่ยงสูง M 2.1: Look-Alike Sound-Alike medication names การจัดการความเสี่ยงเกี่ยวกับยาที่มีรูปพ้องมองคล้าย M 3: Medication Reconciliation การทบทวนยาเดิมของผู้ป่วย M 4: Blood Safety ความปลอดภัยจากการได้รับเลือดและส่วนประกอบของเลือด
P :Patient Care Processes P 1: Patients Identification การป้องกันการระบุตัวผู้ป่วยผิดคน P :Patient Care Processes P 2.1: Effective Communication – SBAR แนวทางการรายงานแพทย์โดยใช้ SBAR P 2.2: Communicaion during patient care handovers การสื่อสาร P 2.3: communicating Critical Test Results การสื่อสารค่าแลปวิกฤติ (KPIหน่วยงาน) P 3 : Proper Diagnosis P 4.1: Preventing Pressuure ulcers แผลกดทับ (KPIหน่วยงาน) P 4.2: Preventing Patient Falls พลัดตก หกล้ม (KPIหน่วยงาน)
E :Emergency Response E 1 : Response to the Deteriorating Patient การตอบสนองต่อภาวะฉุกเฉินของผู้ป่วย E 2 : Sepsis การป้องกันผู้ป่วยติดเชื้อในกระแสเลือด E 3 : Acute Coronary Syndrome ( ACS) การป้องกันการเสียชีวิตจากโรคหลอดเลือดหัวใจ E 4 : Maternal & Neonatal Morbidity PPH : ภาวะตกเลือดหลังคลอด BA : ภาวะขาดออกซิเจนในทารกแรกเกิด PIH : ภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์