การประชุมคณะกรรมการ SP ตา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
โครงการสาธารณสุขร่วมใจมอบโลกสดใสเทิดไท้องค์ราชัน
การอบรมทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว(SRRT) เครือข่ายอำเภอเมืองนครปฐม วันที่ 27 มิถุนายน 2557 ณ ห้องประชุมอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ดรุณี โพธิ์ศรี
โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ ๕ รอบ ๒ เมษายน ๒๕๕๘.
แผนการควบคุมวัณโรค จังหวัดนราธิวาส
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2625 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4241 อัตราว่าง จำนวน 1 อัตรา ตำแหน่งนักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
พังงา นางสาวอัญชลี ตันวานิช สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ปัตตานี นายวิจิตร จำปาสกุล โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
รายงานผลการดำเนินงาน
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
พญ. ปิยนิตย์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ผลการดำเนินงานต่อเนื่องของ service plan
2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง ตัวชี้วัดระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้าน บริการ อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ประเด็น / ตัวชี้วัดผลงาน 1. การกำกับดูแลคุณภาพน้ำบริโภคในภาชนะ.
การประชุมแนวทางการพัฒนา กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น ปี 2556 วันที่ 30 มกราคม 2556 เวลา น. ณ ห้องประชุมสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต.
การปฐมนิเทศ ข้าราชการใหม่ “ หลักสูตรการเป็น ข้าราชการที่ดี ” เขตสุขภาพที่ 2 ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ CHRO ณ 26 พค
ข้อมูลทั่วไป จังหวัดศสม.รพสต.กองทุน สุขภาพตำบล สุขศาลา/ ศสมช. (ผ่าน3หมวด) อสม. ร้อยเอ็ด ,887 ขอนแก่น ,600 มหาสารคาม ,524.
แผนงานยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุขด้านพัฒนาสุขภาพ กลุ่มผู้สูงอายุ กระทรวงสาธารณสุข สถานการณ์ปัญหา : ด้าน โครงสร้างประชากร ปัจจุบันประเทศไทย : ( ข้อมูล ณ.
งานพัฒนาระบบบริการ สุขภาพสาขา ตา. สถานการณ์และแนวโน้มของ ปัญหาสุขภาพในพื้นที่
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
ผลการดำเนินงาน ประจำปี 2558 ตุลาคม 2557 – กันยายน 2558
ผลการดำเนินงาน ประจำปี 2559 ตุลาคม 2558 – กันยายน 2559
ระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) สาขาจักษุ
วาระการประชุม คปสจ. เดือน กันยายน 2560
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบายการควบคุมโรคไม่ติดต่อ ด้านการเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันได้ดี ปีงบประมาณ 2561.
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
ตัวชี้วัดที่ 2 : ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
นพ.สุวัจน์ เฑียรทอง ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
SERVICE PLAN สาขาโรคไม่ติดต่อ.
กลุ่มยุทธศาสตร์ฯ ตัวชี้วัด ของปศุสัตว์อำเภอ รอบที่ ๑/๒๕๖๑ และ รอบที่ ๒/๒๕๖๑ จำนวน ๑๐ ตัวชี้วัด ๑.๑ร้อยละความสำเร็จในการปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
ตัวชี้วัดเด็กวัยเรียนสูงดีสมส่วน
ด้านระบบสารสนเทศสุขภาพ
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
การติดตามผลงาน OKRs ปีงบประมาณ 2562 (ไตรมาส 1)
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงาน แพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ (≥ 85 %)
กำหนดการประชุมเชิงปฏิบัติการ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
แนวทางการรณรงค์ พัฒนาการเด็ก 4-8 กรกฎาคม 2559
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพและรูปแบบบริการ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข โรงแรมเดอะรอยัลเจมส์ กอล์ฟ รีสอร์ท
พัฒนาระบบบริการคัดกรองเบาหวาน ขึ้นจอประสาทตาในผู้ป่วยเบาหวาน
SERVICE PLAN สาขาตา จังหวัดราชบุรี.
การป้องกันควบคุมโรค NCDs
โครงการบูรณาการหน่วยแพทย์เคลื่อนที่เพื่อดูแลประชาชน
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
3 Eye Service Plan : Health Area.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประชุมคณะกรรมการ SP ตา จังหวัดนราธิวาส ปี 2559 20 ตุลาคม 2559

1.แจ้งให้ทราบ แผนและเป้าหมาย SP ตากระทรวง และเขตสุขภาพที่12ปี 60

ทิศทาง SP สาขาตาเขตสุขภาพที่ 12 ปี 60 คัดกรองและผ่าตัดต้อกระจกโดยเน้นในกลุ่ม Blinding & Severe low vision cataract คัดกรองโรคเบาหวานขึ้นจอประสาทตาและลงบันทึกใน HDC ให้สมบูรณ์ พัฒนา Retina center ที่ รพศ.หาดใหญ่และยะลา ดำเนินโครงการเด็กไทยสายตาดีให้ครอบคลุมทุกจังหวัด ดำเนินโครงการดวงตาสดใส เทิดไท้ 84 พรรษา มหาราชินี (Corneal transplant )ที่ รพศ.หาดใหญ่ คัดกรองโรคต้อหินร่วมไปกับต้อกระจกและเบาหวานขึ้นตา

ตัวชี้วัดดำเนินงาน SP ตา เขตสุขภาพที่ 12 ปี 60 ร้อยละของผู้ป่วย Blinding Cataract ได้รับการผ่าตัดตาม เป้าหมาย อัตราการคัดกรองสายตาผู้สูงอายุ 60 ปี ขึ้นไป 75% (เริ่ม reset ใหม่) ร้อยละของผู้ป่วย Blinding Cataract ได้รับการผ่าตัด ภายใน 30 วัน 80% และ Low Vision Cataract ภายใน 90 วัน 80% อัตราการคัดกรองผู้ป่วยเบาหวานขึ้นจอประสาทตา 60%

ตัวชี้วัดดำเนินงาน SP ตา เขต 12 ปี 60 5. ร้อยละของเด็กทารกกลุ่มเสี่ยงที่ได้รับการคัดกรองจอ ประสาทตา (ROP) 100% 6. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ในโรงเรียนทุกสังกัดทั่ว ประเทศได้รับการคัดกรองสายตาไม่น้อยกว่า 80% 7. ผู้ป่วยกระจกตาพิการที่ขึ้นทะเบียนจองดวงตากับศูนย์ ดวงตาสภากาช่าดไทยได้รับการผ่าตัดปลูกถ่ายกระจกตา จำนวน ? ดวงตา/ปี

ร่าง แนวทางต้อกระจก สปสช.ปี 60

แนวทางการดำเนินงานเด็กไทยสายตาดี

ผลการดำเนินงาน โรคตาเขต 12 ปี 59 1. โรคต้อกระจก 2. โรคจอประสาทตา (DR,ROP) 3. คัดกรองและแก้ไขสายตาในเด็ก ป.1 4. โรคต้อหิน (เฉพาะเขต 12)

สรุปผลการดำเนินงานเขต12 ปี 2559 (ต.ค.58 – ก.ย.59) 1. อัตราการคัดกรองโรคต้อกระจกในผู้สูงอายุได้ 72% จากเป้าหมาย 75% 2. ผู้ป่วย Blinding Cataract ที่ได้รับการผ่าตัดจำนวน 4,564 ตา จากเป้าหมาย 4,800 ตา คิดเป็น 95% จากเป้าหมาย 80% 3. ร้อยละผู้ป่วยต้อกระจก (Blinding Cataract) ได้รับการผ่าตัด ภายใน 30 วัน เท่ากับ 86% จากเป้าหมาย 80% 4. ร้อยละผู้ป่วยต้อกระจก (Low Vision Cataract) ได้รับการ ผ่าตัดภายใน 90 วัน เท่ากับ 98% จากเป้าหมาย 80% 5. อัตราการคัดกรองเบาหวานขึ้นจอประสาทตา ทำได้ 66% จากเป้าหมาย 60%

สรุปผลการดำเนินงานจ.นราธิวาส ปี 2559 (ต.ค.58 – ก.ย.59) 1. อัตราการคัดกรองโรคต้อกระจกในผู้สูงอายุได้ 81% จากเป้าหมาย 75% 2. ผู้ป่วย Blinding Cataract ที่ได้รับการผ่าตัดจำนวน 536 ตา จากเป้าหมาย 690 ตา คิดเป็น 78% จากเป้าหมาย 80% 3. ร้อยละผู้ป่วยต้อกระจก (Blinding Cataract) ได้รับการผ่าตัด ภายใน 30 วัน เท่ากับ 91% จากเป้าหมาย 80% 4. ร้อยละผู้ป่วยต้อกระจก (Low Vision Cataract) ได้รับการ ผ่าตัดภายใน 90 วัน เท่ากับ 99% จากเป้าหมาย 80% 5. อัตราการคัดกรองเบาหวานขึ้นจอประสาทตา ทำได้ 59% จากเป้าหมาย 60%

แผนการพัฒนาโรคต้อกระจก ปี 2559 เป้าหมาย อัตราการคัดกรองสายตาในผู้สูงอายุ 60 ปี ได้ 75% ร้อยละของผู้ป่วย Blinding Cataract ได้รับการผ่าตัดตามเป้าหมาย ระยะเวลารอคอยผ่าตัดต้อกระจก (Blinding Cataract ภายใน30 วัน, Low Vision Cataract ภายใน 90 วัน) ทำได้ร้อยละ 80 รพท./รพศ. ชุมชน รพ.สต./ศสม./รพช. ปฐมภูมิ Eye Health Literacy and Alert อสม.คัดกรองตาอย่างง่าย DHS Partnership Supporting ทุติยภูมิ - วัดสายตา บันทึกและ ใช้ฐานข้อมูลผ่านโปรแกรม Vision 2020 ตติยภูมิ วินิจฉัย Cataract โดยทีมจักษุ Pooling Cataract Surgery One Region One Hospital - Control Management Surgery พัฒนาทีมจักษุเขตร่วม Dx,ผ่าตัด พัฒนา Eye Nurse กรรมการ SP ตา กระทรวง, เขต, จังหวัด งบครุภัณฑ์, ประชุม, อบรม โปรแกรม VISON 2020 ปัญหา:โรคต้อกระจกระยะบอด (Blinding Cataract )ยังเป็นสาเหตุสำคัญของภาวะตาบอด

ตรวจยืนยันโดย ทีมจักษุ และมอบ ใบวีซ่า

Quick win โรคต้อกระจก มาตรการ รณรงค์คัดกรองสายตาและวินิจฉัยโดยบันทึกและใช้ฐานข้อมูลผ่านโปรแกรม Vision 2020 ทีมจักษุของเขตร่วมกับภาคีเครือข่ายให้บริการผ่าตัดโรคต้อกระจกที่เข้าถึงสะดวก รวดเร็ว 12M 9M ผู้สูงอายุ 60 ปี ได้รับการคัดกรองโรคต้อกระจก 81% จากเป้าหมาย 75% ผู้ป่วยโรคต้อกระจกระยะบอดได้รับการผ่าตัด 78% จากเป้าหมาย 80% ผู้ป่วยโรคต้อกระจกระยะบอดได้รับการผ่าตัด ใน 30วัน 91% จากเป้าหมาย 80% ผู้สูงอายุ 60 ปี ได้รับการคัดกรองโรคต้อกระจก 80% จากเป้าหมาย 50% ผู้ป่วยโรคต้อกระจกระยะบอดได้รับการผ่าตัด 59% จากเป้าหมาย 60% ผู้ป่วยโรคต้อกระจกระยะบอด ได้รับการผ่าตัดใน 30 วัน 92% จากเป้าหมาย 80% 6M ผู้สูงอายุ 60 ปี ได้รับการคัดกรองโรคต้อกระจก 67%จากเป้าหมาย 60% ผู้ป่วยโรคต้อกระจกระยะบอดได้รับการผ่าตัด 40% จากเป้าหมาย 40% ผู้ป่วยโรคต้อกระจกระยะบอดได้รับการผ่าตัดใน 30 วัน 87% จากเป้าหมาย 80%

ทุกเขตสุขภาพ (ตค 58- กย 59) จากโปรแกรมVision2020 ผลการดำเนินงานคัดกรองต้อกระจกผู้สูงอายุ ทุกเขตสุขภาพ (ตค 58- กย 59) จากโปรแกรมVision2020 ร้อยละ

สรุปผลการดำเนินงานคัดกรองต้อกระจกเขต 12 ปี 2559 (ต. ค. 58-ก. ย สรุปผลการดำเนินงานคัดกรองต้อกระจกเขต 12 ปี 2559 (ต.ค.58-ก.ย.59)จากโปรแกรม Vision2020 จังหวัด จำนวนผู้สูงอายุ (ราย) คัดกรอง สายตาผู้สูงอายุ เป้าหมาย 75% สงขลา 182,058 99,333(55%) พัทลุง 91,694 70,202(77%) ตรัง 85,726 71,187(83%) สตูล 37,456 33,131(88%) ปัตตานี 87,310 62,948(72%) ยะลา 55,523 45,651(82%) นราธิวาส 67,123 54,338(81%) รวม 606,890 436,790(72%)

จำนวนผู้สูงอายุที่ ได้รับการคัดกรอง (ราย) สรุปผลการดำเนินงานคัดกรองต้อกระจก จ.นราธิวาส แยกรายอำเภอ ปี 2559 (ต.ค.58-ก.ย.59)จากโปรแกรม Vision2020 อำเภอ จำนวนผู้สูงอายุ (ราย) จำนวนผู้สูงอายุที่ ได้รับการคัดกรอง (ราย) % การคัดกรอง เมือง 1,1031 6,844 62.04% ตากใบ 7,067 5,572 78.85% บาเจาะ 5,038 4,509 89.50% ยี่งอ** 4,760 4,529 95.15% ระแงะ 8,185 6,176 75.46% รือเสาะ 5,882 4,936 83.92% ศรีสาคร 2,589 2,187 84.47% แว้ง 5,028 4,447 88.44% สุคิริน 2,020 1,840 91.09% สุไหงโก-ลก 4,761 4,400 92.42% สุไหงปาดี 4,797 4,071 84.87% จะแนะ 2,453 2,026 82.59% เจาะไอร้อง 3,512 2,801 79.76% รวม 67,123 54,338 80.95%

ทุกเขตสุขภาพ (ตค.58-กย.59)จากโปรแกรม Vision2020 ผลการดำเนินงานผ่าตัด Blinding Cataract ทุกเขตสุขภาพ (ตค.58-กย.59)จากโปรแกรม Vision2020

สรุปผลการดำเนินงานผ่าตัดต้อกระจก เขต 12 ปี 2559 (ต.ค.58-ก.ย.59) สรุปผลการดำเนินงานผ่าตัดต้อกระจก เขต 12 ปี 2559 (ต.ค.58-ก.ย.59) ข้อมูลจากรพศ./รพท.เป้าหมาย 80% จังหวัด เป้าหมาย Blinding Cataract ผลการ ดำเนินงาน Blinding Cataract เป้าหมาย Low vision Cataract Low vision Cataract สรุปผลการ ดำเนินงาน สงขลา 1,240 1,476(119%) 1,960 2,061(105%) 3,537(111%) สตูล 300 215(72%) 200 267(134%) 482(96%) ตรัง 800 958(120%) 900 610(68%) 1,568(92%) พัทลุง 600 594(99%) 664(111%) 1,258(105%) ปัตตานี 700 337(48%) 400 317(79%) 654(59%) ยะลา 470 441(94%) 630 321(51%) 762(69%) นราธิวาส 690 543(79%) 597(85%) 1,140(82%) รวม 4,800 4,564(95%) 5,390 4,837(90%) 9,401(92%)

สรุปผลการดำเนินงานผ่าตัดต้อกระจก จ. นราธิวาส แยกรายอำเภอ ปี 2559 (ต. ค สรุปผลการดำเนินงานผ่าตัดต้อกระจก จ.นราธิวาส แยกรายอำเภอ ปี 2559 (ต.ค.-ก.ย.59) ข้อมูลจากรพ. อำเภอ ผลการดำเนินงาน Blinding Cataractเป้าหมาย 690 ตา Low vision Cataractเป้าหมาย 700 ตา สรุปผลการดำเนินงานเป้าหมาย 1,390 ตา เมือง 87 114 211 ตากใบ 64 97 161 บาเจาะ 37 10 47 ยี่งอ 42 19 61 ระแงะ 33 80 รือเสาะ 31 22 53 ศรีสาคร 34 54 88 แว้ง 44 75 สุคิริน 14 สุไหงโก-ลก 51 99 150 สุไหงปาดี 55 89 จะแนะ 17 7 24 เจาะไอร้อง 9 28 รวม 536(78%) 564(81%) 1,100(79%)

ร้อยละของผู้ป่วย Blinding cataract (VA>10/200) และ Low vision cataract (VA>20/70) ได้รับการผ่าตัดภายใน 30 วันและ 90 วัน (ต.ค.58-ก.ย.59) ข้อมูลจากโปรแกรม Vision2020 เป้าหมาย 80% จังหวัด Blinding Cataract (%) Low Vision Cataract(%) สงขลา 82 96 ตรัง 84 98 พัทลุง สตูล 81 100 นราธิวาส 91 99 ปัตตานี 85 ยะลา เฉลี่ย 86

แผนการพัฒนาโรคจอประสาทตา ปี 2559 เป้าหมาย 1. อัตราการคัดกรองโรคเบาหวานขึ้นจอประสาทตาทุกจังหวัด ได้ 60% 2. ร้อยละผู้ป่วย High Risk Diabetic Retinopathy ได้รับการ รักษาภายใน 30 วัน 100% 3. ระยะเวลารอคอยผู้ป่วยผ่าตัดจอประสาทตาไม่เกิน 30 วัน 4. ร้อยละเด็กทารกกลุ่มเสี่ยงได้รับการคัดกรองจอประสาทตา100% ชุมชน รพ.สต./ศสม./รพช. รพท./รพศ. ปฐมภูมิ Eye Health Literacy and Alert DHS ทุติยภูมิ - คัดกรอง DR โดยเครื่อง Fundus Camera ให้ครอบคลุม และเพิ่มขึ้นในพื้นที่ที่ต่ำกว่า เป้าหมาย ตติยภูมิ - พัฒนาการรักษาโรคเบาหวาน ขึ้นตา โดย LASER ให้ทำได้ ทุกจังหวัด - พัฒนาการคัดกรอง ROP - พัฒนา Retina Center รองรับ โรคจอประสาทตาที่ซับซ้อน กรรมการ SP ตา กระทรวง, เขต, จังหวัด อบรม Eye nurse งบครุภัณฑ์, ประชุม ปัญหา : การคัดกรองและรักษาโรคเบาหวานขึ้นจอประสาทตา ในบางพื้นที่ต่ำกว่าเป้าหมาย ต้องมีการส่งต่อสูง

Quick win โรคจอประสาทตา มาตรการ คัดกรอง DR ได้ครอบคลุมและเพิ่มขึ้นทุกเขตโดยร่วมกับ ทีม NCD ผู้ป่วย High Risk DR ได้รับการรักษาทันเวลาในทุกจังหวัด พัฒนาคัดกรองและรักษา ROP ร่วมกับทีม New Born 12M 9M ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการคัดกรองจอประสาทตา 59% จากเป้าหมาย 60% ผู้ป่วย High Risk DR ได้รับการรักษาภายใน 30 วัน 100%จากเป้าหมาย 100% ทุกจังหวัดนำมาตรฐานการคัดกรองและรักษา ROPไปใช้เป็นแนวทางเดียวกัน ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการคัดกรองจอประสาทตาได้ 57% จากเป้าหมาย 50% ทุกจังหวัดปฏิบัติตามแนวทางการดูแลผู้ป่วย High Risk DR เผยแพร่มาตรฐานการ คัดกรองและรักษา ROP ไปในทุกจังหวัด 6M ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการคัดกรองจอประสาทตาได้ 56% จากเป้าหมาย 40% จัดทำแนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วย High Risk DR แล้วเสร็จ จัดทำมาตรฐานการคัดกรองและรักษา ROP โดยทีม SP จักษุ และ New Born แล้วเสร็จ

ทุกเขตุสุขภาพ(ตค58-กค59)จากโปรแกรม HDC ผลการดำเนินงานคัดกรองผู้ป่วยเบาหวานขึ้นจอประสาทตา ทุกเขตุสุขภาพ(ตค58-กค59)จากโปรแกรม HDC ร้อยละ

ข้อมูลจาก web NCD เป้าหมาย 60% อัตราการคัดกรองเบาหวานขึ้นจอตา จ.นราธิวาส แยกรายอำเภอ ปี 2559 (ต.ค.-ก.ย.59) ข้อมูลจาก web NCD เป้าหมาย 60% ภาพรวมคัดกรองได้ 59%

แผนการพัฒนาโรคต้อหิน ปี 2559 เป้าหมาย - อัตราการคัดกรองโรคต้อหินในผู้สูงอายุ 60 ปีได้ 60% รพท./รพศ. ชุมชน รพ.สต./ศสม./รพช. ปฐมภูมิ Eye Health Literacy and Alert DHS ทุติยภูมิ - รณรงค์คัดกรองโรคต้อหินใน ผู้สูงอายุ โดยใช้เครื่องวัดความ ดันตาอัตโนมัติหมุนเวียนไป ทุกรพช. ตติยภูมิ - พัฒนา Eye nurse - วินิจฉัย รักษาโรคต้อหินผู้ป่วย จากการคัดกรอง กรรมการ SP ตา กระทรวง, เขต, จังหวัด อบรม Eye nurse งบครุภัณฑ์, ประชุม ปัญหา : ผู้สูงอายุไม่ได้รับการคัดกรองตรวจวินิจฉัยโรคต้อหินซึงเป็นปัญหาสำคัญของภาวะตาบอด

สรุปผลการดำเนินงานคัดกรองโรคต้อหิน ผู้สูงอายุ เขต12 แยกรายจังหวัด ปี 2559 (ต.ค.- มี.ค.59) ข้อมูลจาก รพศ/รพท จังหวัด ผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรอง Tn (ราย) ผู้สูงอายุที่ Tn ผิดปกติ ส่งพบจักษุแพทย์ (ราย) วินิจฉัยเป็นโรคต้อหินโดยจักษุแพทย์ นราธิวาส 2,568 118 (5%) 42 30 (71%) ตรัง 1,645 32 (2%) 16 13 (81%) พัทลุง 3,496 37 (1%) 37 37 (100%) ยะลา 7,253 171 (2%) 13 6 (46%) ปัตตานี 6,150 133 (2%) 108 17 (16%) สตูล 450 4 (0.9%) 3 2 (67%) รวม 21,562 495 (2%) 219 105 (48%)

TIME LINE โครงการเด็กไทยสายตาดี เตรียมเด็กที่มีสายตาผิดปกติมาตัดแว่นและรับแว่นตา หรือหาเด็กที่ได้รับแว่นตา แล้วมาร่วมงานในทุกจังหวัด หรือจัดนิทรรศการ จัดทำโครงการอบรมบุคลากร ก,ข,ค (งบจาก กระทรวง) เตรียมความพร้อม โรงเรียน/เจ้าหน้าที่/สถานบริการในการคัดกรองและวัดสายตา ดำเนินโครงการรณรงค์คัดกรองสายตาเด็ก ป.1 ถ้า VA < ให้ส่งพบทีมจักษุ ทำการตรวจวัดสายตาและตัดแว่นตา(ประสานกับ รพ.เด็ก) 9 มค.59 พค.59 มิย.59 กย.59 วันเด็ก นักเรียน ป.1 เปิดเทอม คัดกรองและแก้ไข สายตา 50% สายตา 100% ระยะที่ 1 ระยะที่ 2

แนวทางการดำเนินงานโครงการเด็กไทยสายตาดี นราธิวาส 1. อบรมครู ข (แพทย์และพยาบาลใน รพช./รพ.สต.) และ ครู ค (ครูประจำ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1) โดยทีม SP ตา 2. ครูประจำชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ตรวจคัดกรองสายตานักเรียน จำนวน 13,996 คน พร้อมทั้งส่งต่อนักเรียน สายตาผิดปกติไปยัง รพ.สต. /รพช. เพื่อส่งต่อรับการรักษากับ จักษุแพทย์

แนวทางการดำเนินงานโครงการเด็กไทยสายตาดี นราธิวาส 3. จักษุแพทย์/พยาบาลเวชปฏิบัติ ทางตาทำการตรวจวัดสายตาใน เด็กนักเรียนโรงเรียนในโครงการ ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ (คาดว่ามี สายตาผิดปกติ จำนวน 700 คน) และขอดำเนินการขอแว่น สายตา จากสถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติ มหาราชินี

ผังกำกับการดำเนินงานโครงการเด็กไทยสายตาดี จังหวัดนราธิวาส กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินงาน ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. จักษุแพทย์/พยาบาลเวชตา เข้ารับการอบรมเป็นครู ก อบรมเจ้าหน้าที่ รพ.สต./รพช./ รพศ./รพท. เป็นครู ข โดยทีม SP ตาจังหวัด อบรมครูโรงเรียนเป็นครู ค โดยทีม SP ตาจังหวัด ดำเนินการคัดกรองสายตา นักเรียน ป.1 ส่งนักเรียน ป.1 ที่มีสายตา ผิดปกติมาเข้ารับการตรวจวัด สายตาจากจักษุแพทย์ และ ขอแว่นตาจากส่วนกลาง - สรุปและประเมินผล

ปัญหา/อุปสรรคโครงการเด็กไทยสายตาดี งบจาก สปสช.ไม่สามารถใช้จัดอบรมได้ แต่สามารถ จ่ายเป็นค่าดำเนินการให้แก่สถานพยาบาลในการตรวจ คัดกรองวัดสายตาโดยจักษุแพทย์และพยาบาลเวช ปฏิบัติทางตาเท่านั้น จ.นราธิวาสอบรมครู ข และ ค แล้วโดยใช้งบจาก สสจ. นักเรียนที่ได้รับการคัดกรอง และต้องส่งมาพบจักษุ แพทย์น้อยกว่าเป้าหมาย

สรุปผลการดำเนินงานเด็ดไทยสายตาดี จ. นราธิวาส แยกรายอำเภอ ปี 2559 (ต. ค สรุปผลการดำเนินงานเด็ดไทยสายตาดี จ.นราธิวาส แยกรายอำเภอ ปี 2559 (ต.ค.-ก.ย.59) ข้อมูลจากสสจ. อำเภอ จำนวนนักเรียนป.1ทั้งหมด (ราย) จำนวนนักเรียนป.1 ที่ได้รับการคัดกรอง (ราย) ผลการคัดกรอง ปกติ ผิดปกติ ไม่แน่ใจ เมือง 2,433 1,045(43%) 1,036(99%) 8(0.8%) 1(0.1%) ตากใบ 1,260 1,235 (98%) 1,226(99%) 9 (0.7%) บาเจาะ 839 772 (92%) 756(98%) 10 (1.3%) 6(0.8%) ยี่งอ 748 500 (67%) 499(99.8%) 1 (0.2%) ระแงะ 1,847 387 (21%) 381 (98%) 5 (1.3%) รือเสาะ 1,442 529 (37%) 529 (100%) ศรีสาคร 811 377 (46%) 373 (99%) 1 (0.3%) 3(0.8%) แว้ง 954 252 (26%) 252 (100%) สุคิริน 510 174 (34%) 174 (100%) *1* สุไหงโก-ลก 1,329 1,325 (99.7 %) 1,296 (98%) 19 (1.4%) สุไหงปาดี 950 619 (65%) 612 (99%) 5 (0.8%) จะแนะ 684 729 (107%) 724 (99%) 5 (0.7%) เจาะไอร้อง 694 493 (71%) 492 (99.8%) รวม 14,501 8437(58%) 8,350(99%) 64(0.8%) 10(0.1%)

2.รับรองรายงานการประชุม 3.เรื่องสืบเนื่อง 2.รับรองรายงานการประชุม 3.เรื่องสืบเนื่อง

4.เรื่องเพื่อพิจารณา

แผนการดำเนินงาน โรคต้อกระจก,โรคต้อหิน และเบาหวานขึ้นตา ในแต่ละจังหวัด แผนการดำเนินงาน โรคต้อกระจก,โรคต้อหิน และเบาหวานขึ้นตา ในแต่ละจังหวัด

เป้าหมายการผ่าตัดต้อกระจกเขต 12 ปี 2560 จังหวัด Blinding Cataract Low Vision Cataract รวม UC Non UC รวมทุกสิทธิ์ สงขลา 840 210 1,050 800 188 988 2,038 สตูล 45 255 90 14 104 359 ตรัง 550 130 680 380 88 468 1,148 พัทลุง 410 100 510 260 52 312 822 ปัตตานี 450 105 555 180 28 208 763 ยะลา 320 75 395 50 310 705 นราธิวาส 420 135 230 360 915 3,200 4,000 2,200 2,750 6,750

พื้นที่เป้าหมายการผ่าตัดต้อกระจกร่วมทีมเขตและทีมภายนอก จังหวัด ทีมเขตร่วมพอสว. แพทย์ทหาร มูลนิธิพิทักษ์ดวงตา รพ.บ้านแพ้ว สงขลา เทพา ระโนด,สิงหนคร ตรัง พัทลุง สตูล ละงู ปัตตานี โคกโพธิ์ สายบุรี/ค่ายอิงคยุทธ์ ยะลา ยะหา นราธิวาส ตากใบ(กย.60) ศรีสาคร, รือเสาะ(20มค.60) ยี่งอ(1ธค.59)

ตารางการออกตรวจตาที่ รพช.โดยทีมจักษุจาก รพ.นราและสุไหงโก-ลก วัน/เดือน/ปี สถานที่คัดกรอง ทีมคัดกรอง 11 พย. 59 อ.สุไหงโก-ลก/อ.บาเจาะ รพ.สุไหงโก-ลก/รพ.นราธิวาส 25 พย. 59 อ.ยี่งอ รพ.นราธิวาส 9 ธค. 59 อ.แว้ง/อ.ศรีสาคร 23 ธค. 59 อ.สุคิริน/รพ.ระแงะ 13 มค.60 อ.สุไหงปาดี/อ.รือเสาะ 27 มค.60 อ.เจาะไอร้อง/อ.จะแนะ 3 กพ. 60 รพ.ยี่งอ 10 กพ. 60 อ.สุไหงโก-ลก รพ.สุไหงโก-ลก 17 กพ. 60 อ.บาเจาะ 24 กพ. 60 อ.ตากใบ 3 มีค. 60 อ.ตากใบ/อ.ศรีสาคร 10 มีค. 60 อ.แว้ง 17 มีค. 60 อ.รือเสาะ 24 มีค. 60 อ.สุคิริน 21 เมย. 60 อ.สุไหงปาดี/อ.ระแงะ 28 เมย. 60 กย.60

แผนการดำเนินงานคัดกรองเบาหวานขึ้นจอตา จ.นราธิวาส ตารางหมุนเวียนเครื่อง Fundus camera ปี 2560 เดือน โซนที่ 1 โซนที่ 2 โซนที่ 3 โซนที่ 4 ตุลาคม ตากใบ รือเสาะ สุไหงปาดี ระแงะ พฤศจิกายน แว้ง ศรีสาคร จะแนะ เจาะไอร้อง ธันวาคม สุคิริน มกราคม กุมภาพันธ์ มีนาคม เมษายน พฤษภาคม มิถุนายน กรกฎาคม สิงหาคม กันยายน **ตัด อ.บาเจาะ/อ.ยี่งอ/อ.สุไหงโก-ลกและอ.เมืองออก เนื่องจากมีเครื่อง Fundus แล้ว**

แผนการคัดกรองโรคต้อหิน จ.นราธิวาส ปี 60 วัน/เดือน/ปี เครื่องที่ 1 (รพ.สุไหงโก-ลก) เครื่องที่ 2 (รพ.นราธิวาส) หมายเหตุ พย. 59 อ.ตากใบ อ.ศรีสาคร   ธค. 59 อ.แว้ง อ.จะแนะ มค. 60 อ.สุคิริน อ.รือเสาะ กพ. 60 อ.สุไหงปาดี ร.พ. ยี่งอ มีค. 60 อ.เจาะไอร้อง ร.พ.บาเจาะ เมย. 60 อ.สุไหงโก-ลก ร.พ.รือเสาะ พค. 60 ร.พ. ระแงะ มิย. 60 ร.พ.ศรีสาคร กค. 60 รพ.จะแนะ สค. 60 รพ.บาเจาะ กย. 60 ร.พ.ยี่งอ ตค. 60 รพ.ระแงะ

โครงการเด็กไทยสายตาดี

ผังกำกับการดำเนินงานโครงการเด็กไทยสายตาดี จังหวัดนราธิวาสปี 60 กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินงาน ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เมษา พ.ค. มิ.ย. ประชุมวางแผนการดำเนินงาน อบรมเจ้าหน้าที่ รพ.สต./รพช./ ศสม./รพท. ในการบันทึกข้อมูลในโปรแกรมโดยทีม SP ตาจังหวัด ครูโรงเรียนคัดกรองสายตานักเรียน ป.1ที่เหลือในทุกโรงเรียน รพ.สต./รพช./ศสม./รพท. บันทึกข้อมูลในโปรแกรม ส่งนักเรียน ป.1 ที่มีสายตา ผิดปกติมาเข้ารับการตรวจวัด สายตาจากจักษุแพทย์ และ ขอแว่นตาจากส่วนกลาง - สรุปและประเมินผล

ทบทวนรายชื่อ คณะกรรมการ SP ตาปี 60

เรื่องอื่นๆ