ASEAN – JAPAN Comprehensive Economic Partnership Agreement (AJCEP) โดย นางสาวพริ้วแพร ชุมรุม ผู้อำนวยการสำนักการค้าบริการและการ ลงทุน กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ
หัวข้อในการสัมมนา ศักยภาพของญี่ปุ่น สถิติการค้า สินค้าที่มีศักยภาพของไทยและญี่ปุ่น สาระสำคัญของความตกลง AJCEP การลดภาษีภายใต้ความตกลง AJCEP การใช้สิทธิประโยชน์ภายใต้ความตกลง AJCEP สถานะการเจรจาล่าสุด
ศักยภาพของญี่ปุ่น อันดับ 3 ของโลก 4.96 พันล้านเหรียญสหรัฐ ที่กำเนิดนวัตกรรมใหม่ๆ และสตาร์ทอัพ รายใหญ่ในด้านการนำเข้า การส่งออก คู่ค้าอันดับ 2 ของอาเซียน คู่ค้าอันดับ 2 ของไทย นักลงทุนรายใหญ่ อันดับ 2 ของอาเซียน ขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ด้วยธุรกิจ SME
สถิติการค้า มูลค่าการค้าอาเซียน-ญี่ปุ่น (หน่วย: พันล้านเหรียญสหรัฐ) ปี 2559 อาเซียนส่งออกไปญี่ปุ่น 96.03 อาเซียนนำเข้าจากญี่ปุ่น 105.85 มูลค่าการค้ารวม 201.88 ไทย เป็นคู่ค้าอันดับ 1 ของญี่ปุ่นในอาเซียน มูลค่าการลงทุนโดยตรงจากญี่ปุ่นสู่อาเซียน (หน่วย: พันล้านเหรียญสหรัฐ) ปี 2559 มูลค่าการค้ารวม 11.53
สถิติการค้าอาเซียน - ญี่ปุ่น ปี ส่งออก นำเข้า การค้ารวม ดุลการค้า 2555 127.93 136.52 264.45 -8.59 2556 122.55 117.87 240.42 4.68 2557 120.15 108.93 229.08 11.22 2558 101.94 125.10 227.04 -23.16 2559 96.03 105.85 201.88 -9.82 (พันล้านเหรียญสหรัฐ)
2. Mekong Industrial Development Vision(MIDV) ◆ Developing the Mekong region cooperatively with neighboring economies, advancing the industrial structure, and improving the regional value-chain network, by reflecting unique advantages and competitiveness of each Mekong country and mutual complementarity with the spirit of "Specialization & Collaboration“, ◆ Encouraging the Mekong region to work as the core of the Asian-wide and further the global value-chain network. Expected Outcome GDP increase of USD 20 billion in Mekong (i.e. 2% of Mekong’s GDP) by 2020 (Intra-regional trade: 10 bil, Inter-regional trade: 8 bil, FDI: 2 bil) Growth in neighboring economies Vietnam Good access to US, EU, and south China Lao PDR Abundant water resource and fertile soil Cambodia Labor intensive work including agro and CMT Thailand Existing automotive and electronic industry cluster Myanmar Labor intensive work including agro and CMT China India Unique Advantages Pillar I: Partnering with neighboring countries Three Pillars of Mekong Industrial Development Vision Pillar II: Building a footing for more advanced industrial structure Pillar III: Strengthening infrastructure and resources that support regional value chain Trade Structure Local Business Collaboration Foreign Direct Investment Competitive SME R&D Regional Connectivity Energy supply & Environment HRD
สินค้าส่งออกสำคัญของไทยไปญี่ปุ่น รถยนต์ ไก่แปรรูป เครื่องจักรกล คอมพิวเตอร์ เครื่องโทรสาร โทรศัพท์ ผลิตภัณฑ์พลาสติก
สินค้าส่งออกสำคัญของไทย 10 อันดับแรกไปญี่ปุ่น (ปี 2560) สินค้าส่งออกสำคัญของไทย 10 อันดับแรกไปญี่ปุ่น (ปี 2560)
สินค้านำเข้าสำคัญของไทยจากญี่ปุ่น เครื่องจักรกล เหล็ก เหล็กกล้า เครื่องจักรไฟฟ้า ส่วนประกอบและอุปกรณ์ ยานยนต์ เคมีภัณฑ์ แผงวงจรไฟฟ้า
สินค้านำเข้า 10 อันดับแรกจากญี่ปุ่น (ปี 2560) สินค้านำเข้า 10 อันดับแรกจากญี่ปุ่น (ปี 2560)
สาระสำคัญของความตกลง AJCEP การเปิดเสรี ลงนาม 11 เม.ย. 2551 การค้าสินค้า เริ่มลดภาษี 1 มิ.ย. 2552 การค้าบริการ มี.ค. 2554 เริ่มเจรจาข้อบทว่าด้วยการค้าบริการ และการลงทุน การลงทุน 2561 ลงนามพิธีสารแก้ไขความตกลง AJCEP เพื่อผนวกข้อบทการค้าบริการ การเคลื่อนย้ายบุคคลธรรมดา และการลงทุน การเคลื่อนย้ายบุคคล ธรรมดา
ความร่วมมือภายใต้ความตกลง AJCEP คณะทำงานย่อยด้านความร่วมมือทางเศรษฐกิจ Sub-Committee on Economic (AJCEP-SCEC) กองทุนความร่วมมือญี่ปุ่น-อาเซียน Japan-ASEAN Integration Fund (JAIF) กระบวนการที่เกี่ยวข้องในการค้า สภาพแวดล้อมทางธุรกิจ พลังงาน เทคโนโลยีสารสนเทศ พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ธรุกิจขนาดเล็ก JAIF. As of October 2017, contributions totalled more than 650 million USD. การท่องเที่ยว การขนส่งและโลจิสติก การเกษตร การประมงและป่าไม้ สิ่งแวดล้อม การแข่งขัน อื่นๆ ตามตกลง
ตัวอย่างโครงการภายใต้ความตกลง AJCEP ASEAN – Japan Innovation Network (AJIN) “Enhancing Competitiveness of Small and Medium-Sized Enterprises along the Southern Economic Corridor (SEC) of the ASEAN Mekong Sub-region” (Mekong Institute) (Ongoing Project) Carbon Footprint of Renewable Energy for ASEAN Countries (MTEC) (Pending for approval)
การลดภาษีภายใต้ AJCEP เมื่อความตกลงฯ มีผลบังคับใช้ ภาษีของสินค้า ทั้งญี่ปุ่นและไทยได้มี การลดภาษีเป็นศูนย์ทันที ดังนี้ 1 ธ.ค. 51 = 80.03% 1 เม.ย. 2561 = 90.16% 1 มิ.ย. 51 = 30.94 % 1 เม.ย. 2561 = 86.17%
รูปแบบการลดภาษี สินค้าที่ลดภาษีเป็น 0% ทันที สินค้าลดภาษีทันที สินค้าที่ลดภาษีเป็น 0% ทันที จำนวน 7,200 รายการ (92% ของรายการสินค้าทั้งหมด) จํานวน 2,469 รายการ อาทิ ส่วนประกอบอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ยางไอโซพรีน เครื่องจักรที่มีระบบกันสะเทือน
รูปแบบการลดภาษี สินค้าที่ทยอยลดภาษีเป็น 0 % (ถึงวันที่ 1 เม.ย. 61) สินค้าลดภาษีปกติ (Normal Track) สินค้าที่ทยอยลดภาษีเป็น 0 % (ถึงวันที่ 1 เม.ย. 61) จำนวน 565 รายการ โพลิเอทิลีน อาหารสุนัขหรือแมว จำนวน 2,874 รายการ ตะปู ผลิตภัณฑ์แผ่นรีดทำด้วยเหล็กหรือเหล็กกล้าไม่เจือ
รูปแบบการลดภาษี มีกำหนดลดภาษีเหลือ 0 ภายในปี 2566 สินค้าอ่อนไหวสูง (High Sensitive Track) มีกำหนดลดภาษีเหลือ 0 ภายในปี 2566 เหลือเพียง 1 สินค้า คือ น้ำผลไม้และผัก ไม่มีสินค้าคงเหลือที่ต้องลดภาษีเป็น 0 ตามข้อผูกพันแล้ว สินค้ายกเว้น (Exclusion List) ไม่นำมาลด/ยกเลิกภาษี ปลาทูนา ปลาสคิปแจ็ก ปลาโบนิโต (ชนิดซาร์ดา) ทั้งตัวหรือเป็นชิ้น แต่ไม่บด ที่ปรุงแต่งหรือทำไว้ไม่ให้เสีย ข้าวสีบ้างหรือสีแล้วทั้งหมด มีได้ไม่เกิน 1% ของมูลค่าการนำเข้า ไม่ได้ระบุสัดส่วน ส่วนประกอบที่เหมาะสำหรับใช้เฉพาะหรือส่วนใหญ่ใช้กับ เครื่องยนต์สันดาปภายใน
สินค้าที่จะมีการลดภาษีเป็น 0 ในวันที่ 1 เม.ย. 61 น้ำส้มสายชู สปาร์กกลิ้งไวน์ เต้าหู้ เนื้อโคและกระบือ **ไทยไม่ได้เปิดตลาดดีกว่าความตกลง JTEPA สินค้าบางตัวลดเหลือ 0 ใน JTEPA แล้ว** มันฝรั่ง ข้าวโพดหวาน รองเท้า อาหารสัตว์ **สินค้าส่วนมากลดภาษีเหลือ 0 ใน JTEPA ไปก่อนแล้ว**
ตัวอย่างสินค้าที่ไทยได้ประโยชน์จากความตกลง AJCEP ปลาซาร์ดีนกระป๋อง อัตราภาษี MFN 9.6 % อัตราภาษี GSP 7.2 % ไม่มีการลดภาษีภายใต้ JTEPA อัตราภาษีภายใต้ AJCEP ปี 2561 : 5.0 % ไม้อัดพลายวูด อัตราภาษี MFN 6.0 % อัตราภาษี GSP 3.6 % **ตัดสิทธิในปี 2562 ไม่มีการลดภาษีภายใต้ JTEPA อัตราภาษีภายใต้ AJCEP ปี 2561 : 5.0 %
การใช้สิทธิประโยชน์ภายใต้ความตกลง AJCEP มูลค่าการค้าระหว่างอาเซียน-ญี่ปุ่น ก่อนมีความตกลง มูลค่าการค้าปี 2550 ภายหลังมีความตกลง มูลค่าการค้าปี 2559 อาเซียนส่งออกไปญี่ปุ่นมีมูลค่า อาเซียนส่งออกไปญี่ปุ่นมีมูลค่า 85.12 พันล้านเหรียญสหรัฐ 96.03 พันล้านเหรียญสหรัฐ อาเซียนนำเข้าจากญี่ปุ่นเป็นมูลค่า อาเซียนนำเข้าจากญี่ปุ่นเป็นมูลค่า 88.14 พันล้านเหรียญสหรัฐ 105.85 พันล้านเหรียญสหรัฐ
การใช้สิทธิประโยชน์ภายใต้ความตกลง AJCEP มูลค่าการค้าระหว่างอาเซียน-ญี่ปุ่น หน่วย: ล้านเหรียญสหรัฐ
การใช้สิทธิประโยชน์ภายใต้ความตกลง AJCEP การใช้สิทธิประโยชน์ของไทย ปี 2560 ม.ค. – ก.ย. การส่งออก การนำเข้า มูลค่าสินค้าส่งออกที่ได้รับสิทธิ 5,659.06 ล้านเหรียญสหรัฐ มูลค่าสินค้านำเข้าที่ได้รับสิทธิ 10,821.48 ล้านเหรียญสหรัฐ มูลค่าการส่งออกภายใต้ FTA 157.59 มูลค่าการส่งออกภายใต้ FTA 208.15 สัดส่วนการใช้สิทธิต่อมูลค่าส่งออกทั้งหมด 0.96% สัดส่วนการใช้สิทธิต่อมูลค่าส่งออกทั้งหมด 1.92% หน่วย: ล้านเหรียญสหรัฐ
สินค้าส่งออกสำคัญของไทย ที่ใช้สิทธิภายใต้ความตกลง AJCEP กุ้งที่ปรุงแต่งหรือทำไว้ไม่ให้เสีย แผ่นแถบทำด้วยอลูมิเนียมเจือ เอบีเอสโคโพลิเมอร์ ปลาปรุงแต่งชนิดบด
ปัญหาในการบังคับใช้ความตกลง AJCEP การไม่ปฏิบัติตามพันธกรณีด้านการค้าสินค้าของอินโดนีเซีย อินโดนีเซียลงนามความตกลงและให้สัตยาบัน 2551 มีกำหนดลดภาษีในปี 2552 แต่อินโดนีเซียไม่สามารถปฏิบัติตามได้ เนื่องจากติดปัญหาการแปลงพิกัดศุลกากรจาก HS 2002 เป็น HS 2007กับญี่ปุ่น ญี่ปุ่นไม่ยอมรับอินโดนิเซียเป็นภาคีในความตกลงฯ เป็นอุปสรรคต่อการเจรจาพิธีสารฯ อินโดนีเซียได้ข้อสรุปกับญี่ปุ่นและพร้อมดำเนินการตามพันธกรณีในปี 2561 พร้อมกับการบรรลุผลการเจรจาพิธีสารแก้ไขความตกลง AJCEP
ปัญหาในการบังคับใช้ความตกลง AJCEP การแปลงตารางข้อผูกพันการลดภาษี ประเทศสมาชิกประสบปัญหาในการแปลงตารางข้อผูกพันการลดภาษีที่มีความล่าช้า และใช้เวลาตรวจสอบนาน HS2002 HS2007 HS2012 HS2017 ในการประชุม AJCEP-JC ครั้งที่ 17 ที่ประชุมมีมติให้ประเทศภาคีเดินหน้าในการแปลงตารางข้อผูกพันภาษี โดยไม่ต้องมีการตรวจตอบ (ยกเว้นต้องการ) อย่างไรก็ตาม หากมีการตรวจพบข้อผิดพลาดในภายหลัง จึงให้ประเทศนั้นๆทำการแก้ไข
สถานะการเจรจาล่าสุด 2554 เริ่มการเจรจาข้อบทการค้าบริการ และการลงทุน 2560 บรรลุการเจรจาจัดทำพิธีสารแก้ไขความตกลง AJCEP เพื่อผนวกข้อบทการค้าบริการ การเคลื่อนย้ายบุคคลธรรมดา และการลงทุน 2561 ดำเนินกระบวนการภายในตามรัฐธรรมนูญ และกำหนดลงนามพิธีสารเดือนสินหาคม 2561
กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ 563 ถ. นนทบุรี ต.บางกระสอ อ. เมือง จ. นนทบุรี Call Center 0-2507-7444 http://www.dtn.go.th