การนิเทศทางคลินิก ด้านการพยาบาล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แบบประเมินความเข้มแข็ง ศอช.
Advertisements

1. การประเมินผู้รับบริการก่อน ให้บริการ 2. การเฝ้าระวังผู้รับบริการกลุ่ม เสี่ยง 3. การเฝ้าระวังผู้ป่วยที่มีการ แพร่กระจายเชื้อ 4. การมีส่วนร่วมในทีมสห.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
แนวทางการสอน เพื่อพัฒนาทักษะเด็กตามรูปแบบการสอน
ให้ความรู้ผู้ป่วยโรคไซนัสอักเสบ
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
กลุ่ม 6 ผลการประชุมระดมความ คิดเห็น เพื่อกำหนดทิศทางก้าวใหม่ ในการให้บริการ : ฝึกอบรมนักวิทยาศาสตร์ ห้องปฏิบัติการ.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
การพัฒนาโปรแกรมระบบ รายงาน หน่วยงานเวชสารสนเทศ หน่วยงานเวชสารสนเทศ กลุ่มพัฒนาระบบบริการ สุขภาพโรงพยาบาลสุโขทัย.
เสียงสะท้อนจากพื้นที่การ ดำเนินงานตามนโยบายกรม สุขภาพจิต : การพัฒนางาน ด้านวิกฤตสุขภาพจิต โดย ดร. นพ. พิทักษ์พล บุณยมาลิก ผู้อำนวยการสถาบันกัลยาณ์ราช นครินทร์
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
COMPETENCY DICTIONARY
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
3P กับการพัฒนาคุณภาพ สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
ปัญหาของข้อมูลในระบบHDC
ณ ห้องประชุม พธ.ทร.(๒) วันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๘ เวลา ๐๙๓๐
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
กรมตรวจบัญชีสหกรณ์.
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ผู้ปฏิบัติ : ทีมสนับสนุน
ตอนที่ 1ภาพรวมของการบริหารองค์กร (1-5 กำลังคน)
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
วาระที่ ผลการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเตรียมความพร้อมบุคลากร สำนักแผนงานและโครงการพิเศษเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานในพื้นที่
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
ศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศ ตัวชี้วัดกรม ตัวชี้วัดตามภารกิจหน่วยงาน แบบวิเคราะห์การถ่ายทอดตัวชี้วัด ความเชื่อมโยงการถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับหน่วยงานลงสู่ระดับกลุ่มงาน.
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
การทำวิทยฐานะ แนวทางใหม่
ตำแหน่งพยาบาลวิชาชีพ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
FA Interview.
การติดตาม (Monitoring)
ปัญหาและสาเหตุโดยย่อ
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
การดำเนินงานต่อไป.
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
Service Profile :PCT ศัลยกรรม รพร.เดชอุดม
Service Profile หอผู้ป่วย กุมารเวชกรรม
งานวิสัญญี รพร.เดชอุดม
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
จุดเน้นในการพัฒนา/แผนพัฒนา ความเสี่ยง/ความท้าทาย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การนิเทศทางคลินิก ด้านการพยาบาล การสร้างคุณค่าวิชาชีพ

ความหมายของการนิเทศทางการพยาบาล กระบวนการที่จัดกระทำขึ้นเพื่อสนับสนุนบุคลากรพยาบาลให้สามารถปฏิบัติ ภารกิจ นโยบาย มาตรฐาน นำไปสู่การบรรลุเป้าหมายของหน่วยงาน องค์กร สถาบัน และตอบสนองต่อความรับผิดชอบของวิชาชีพการพยาบาล

ทำงานดีแต่มีปัญหาเท่ากับไม่สำเร็จ

เป้าหมายการนิเทศ เพื่อการประเมิน เพื่อการป้องกัน / ประกัน

นิเทศงานเพื่ออะไร เพื่อให้มั่นใจว่าแนวทางที่กำหนดมีการนำไปสู่การปฏิบัติ การปฏิบัติตามแนวทางที่กำหนดนั้นสามารถปฏิบัติได้จริง ข้อกำหนดควรต้องได้รับการปรับปรุงแก้ไขในประเด็นไดบ้าง ค้นหาประเด็นการพัฒนาทั้งด้านเทคนิคและองค์ความรู้ เพื่อประเมินความเพียงพอของทรัพยากร เพื่อประเมินการอำนวยความสะดวกหรือการสนับสนุน( เครื่องมือ ) เพื่อประเมินผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลลัพธ์การนิเทศ การสร้างความน่าเชื่อถือ ผู้บริหาร หัวหน้าทีม ผู้ปฏิบัติงาน ผู้รับบริการ สังคมและชุมชน

ระดับการนิเทศ ระดับฝ่ายการพยาบาล ระดับงานการพยาบาล ระดับหอผู้ป่วย Management Supervision ระดับงานการพยาบาล ระดับหอผู้ป่วย Clinical Supervision

คุณสมบัติผู้นิเทศการพยาบาล คุณสมบัติในเชิงวิชาชีพ มีความรู้ ความเข้าใจในมาตรฐานวิชาชีพเป็นอย่างดี สามารถวิเคราะห์สถานการณ์ได้ โดยเฉพาะด้านการพยาบาล สามารถคาดการณ์แนวโน้มในอนาคต มีความเข้าใจปัญหาสุขภาพของผู้ใช้บริการ และสามารถวางแผน การพยาบาลได้เป็นอย่างดี มีความคิดเชิงระบบ สามารถเชื่อมโยงปัญหาและสถานการณ์ต่างๆ สามารถวางแผนในการดำเนินงานให้บรรลุเป้าหมายได้

หน้าที่ความรับผิดชอบของผู้นิเทศการพยาบาลในโรงพยาบาล เป็นศูนย์กลางสื่อสาร ประสานงานและข้อมูล ที่เป็นปัจจุบัน ให้มีความเชื่อมโยงระหว่าง ผู้บริหารการพยาบาล และ บุคลากรระดับหน่วยงานและ สหสาขาวิชาชีพ เป็นตัวแทนหน่วยงานในความรับผิดให้ข้อเสนอแนะ เชิง นโยบายต่อผู้บริหารการพยาบาล ผู้บริหารโรงพยาบาล และ สหสาขาวิชาชีพ เป็นแหล่งประโยชน์ และประสานแหล่งประโยชน์ในการพัฒนาคุณภาพการพยาบาลทุกระดับ งานอื่นๆที่ได้รับมอบหมาย

รูปแบบการนิเทศ การนิเทศแบบ Fast Track การนิเทศในกระบวนการดูแลผู้ป่วย การนิเทศตามรอยกระบวนการดูแล การนิเทศในกระบวนการดูแลผู้ป่วย

การนิเทศแบบ Fast Track 1 การนิเทศแบบ Fast Track รับ consult ทางโทรศัพท์ - สอบถามข้อมูล - Fax EKG แพทย์แจ้งการรับผู้ป่วย ประสานงานกับโรงพยาบาลที่จะ refer ผู้ป่วยมา เตรียมการรับผู้ป่วย แจ้งเจ้าหน้าที่ ER การรับผู้ป่วย - จะรับผู้ป่วยจากโรงพยาบาลอะไร - อาการเป็นอย่างไรบ้าง - การวินิจฉัยโรค - แผนการรับผู้ป่วย จะรับเข้า fast track ของ ICU หรือ เข้า ER 1. การรับ consult 2. แจ้ง ER รับผู้ป่วย ทีมการพยาบาลรับผู้ป่วยที่ ward - จัดเตียง/อุปกรณ์/ยาให้พร้อม - ชี้แจงกับญาติ พยาบาลที่รับผิดชอบดูผู้ป่วย - Initial assessment : diagnosis, severity, treatments - ให้การดูแลผู้ป่วย - ให้ข้อมูลแก่ผู้ป่วยและญาติ - ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง - ประเมิน target outcomes และปัญหาในการรับผู้ป่วย เจ้าหน้าที่ของ ER แจ้ง ICU เมื่อผู้ป่วยส่งมาถึง ER ทำการนับเวลาเพื่อเก็บ target outcomes เช่น ระยะเวลา admit (จาก ER ไป ward ) Door to needle time - แจ้งหน่วยเปลเพื่อ ทำการ lock lift 3. ผู้ป่วยถึง ER 4. รับผู้ป่วยที่ ICU/CCU

การนิเทศแบบ Fast Track การติดตามประเมินผลการนิเทศ การนิเทศแบบ Fast Track การติดตามและประเมิน ตัวชี้วัดตาม Target outcomes ระยะเวลา Admitted Door departure time Door to needle time Competency ของบุคลากรทางการพยาบาล จำนวนอุบัติการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการดูแลผู้ป่วยในระบบ fast track ความรู้ ทักษะในการ refer ผู้ป่วย ของบุคลากรในโรงพยาบาลเครือข่าย จำนวนครั้งของการจัดอบรมให้กับบุคลากรในโรงพยาบาลเครือข่าย การประชุมเครือข่ายโรงพยาบาลต่างๆในโครงการ Fast Track ประเมินตัวชี้วัดที่ไม่เป็นไปตามเกณฑ์ ชี้แจงปัญหาในการปฏิบัติงาน ร่วมกันแก้ไขปัญหา เป็นวิทยากรให้ความรู้กับบุคลากรโรงพยาบาลในเครือข่าย ส่งบุคลากรโรงพยาบาลในเครือข่ายมาฝึกเพิ่มเติม ออกเยี่ยมโรงพยาบาลในเครือข่ายเป็นประจำ

2 การนิเทศตามรอยกระบวนการดูแล กระบวนการนิเทศ รูปแบบการนิเทศ 1. ศึกษา ทำความเข้าใจ เชื่อมโยงการดูแลผู้ป่วยให้ครบวงจรจาก OPD/ER จนถึงบ้าน/ชุมชน 2. ระบุหอผู้ป่วยที่เกี่ยวข้อง 3. ติดตามตัวชี้วัดสำคัญในแต่ละหน่วยงาน 4. ติดตาม incidences ต่างๆ 5. วิเคราะห์ปัญหาในกระบวนการดูแลผู้ป่วยว่าจุดใดยังไม่เชื่อมโยงการดูแลที่ครบวงจร ต่อเนื่องหรือการสร้างเครือข่าย 1. Sup วางแผนการนิเทศการดูแลผู้ป่วยในกลุ่มความเป็นเลิศทางการพยาบาลเพื่อให้การดูแลอย่างมีคุณภาพอย่างต่อเนื่องและครบวงจร 2. Sup ร่วมกับหอผู้ป่วยและ APN ในการพัฒนาระบบในการดูแลผู้ป่วย 3. ติดตามตัวชี้วัดเฉพาะโรคที่กำหนดโดยPCT และตัวชี้วัดเฉพาะโรคของหอผู้ป่วย 4. ประชุมร่วมกันระหว่างหัวหน้างาน ผู้ตรวจการและหัวหน้าหอผู้ป่วย/หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการดูแลผู้ป่วยและทีมสหสาขาวิชาชีพ 5. ส่งเสริมสนับสนุนให้มีการนำผลการวิจัยมาใช้หรือพัฒนาR2R/CPG 6. ฝึกอบรมให้ความรู้ พัฒนาสมรรถนะที่จำเป็นแก่บุคลากรพยาบาล

2 ตัวอย่าง การนิเทศตามรอยกระบวนการดูแล OPD/ER ICU CT หอผู้ป่วย/หน่วยงาน ประเด็นสำคัญ เครื่องมือในการนิเทศ การปฏิบัติที่สะท้อนคุณภาพ การปรับปรุง ผลลัพธ์ โอกาสพัฒนาและแผนการพัฒนา OPD/ER -การเข้าถึง (access) -การคัดกรอง (screening) -การสื่อสาร (communication) -การประเมินผู้ป่วย (assessment) Document review C3THER Adverse event review Incident review Proxy disease การปฏิบัติที่ทำให้ผู้ป่วยเข้าถึงระบบบริการผู้ป่วยได้ง่าย เหมาะสม ทันเวลา มีการประสานงานที่ดี สิ่งแวดล้อมเหมาะสม ICU -การดูแลระยะวิกฤติ -อุปกรณ์/เครื่องมือ -การประสานงาน (coordination) กับ wards Bed side review Peer review Clinical tracer ICT (Identification, Control context & Training) การปฏิบัติที่ทำให้ผู้ป่วยได้รับการบริการอย่างทันท่วงที ปลอดภัย เหมาะสม เป็นไปตามมาตรฐานวิชาชีพ CT -การตรวจ investigation -การ diagnosis -การวางแผนการรักษา (plan of care) ICT การปฏิบัติที่ทำให้ผู้ป่วยได้รับการตรวจ investigation ถูกต้อง ครบถ้วนและเหมาะสม

การติดตามประเมินผลการนิเทศ การนิเทศตามรอยกระบวนการดูแล 1. ตัวชี้วัด 1.1 ตัวชี้วัดเฉพาะโรค (specific clinical indicators) และ nursing outcomes อัตราการเสียชีวิต อัตราการ re-admitted ภายใน 28 วัน ระยะเวลาการนอนโรงพยาบาล (LOS) ร้อยละการได้รับการฟื้นฟูสภาพที่ ICU, ร้อยละการได้รับคำแนะนำ ร้อยละการได้รับยาครบตามมาตรฐานก่อนจำหน่าย 1.2 ตัวชี้วัดเฉพาะหน่วยงานตามบริบทของแต่ละหอผู้ป่วยหรือหน่วยงาน 2. Competency ของบุคลากรทางการพยาบาล 3. จำนวนอุบัติการณ์และจำนวนข้อร้องเรียนที่เกี่ยวข้องกับการดูแลผู้ป่วย 4. ร้อยละของความผูกพันของบุคลากรพยาบาลต่อองค์กร 5. ร้อยละความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรพยาบาล 6. ร้อยละความพึงพอใจของผู้ป่วยและครอบครัวที่มารับบริการ 7. จำนวนครั้งของการประชุมร่วมกับทีมสหสาขาวิชาชีพ เพื่อวิเคราะห์ ข้อมูลและวางแผนปรับปรุงแก้ไขกรณีตัวชี้วัดไม่บรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้

การนิเทศในกระบวนการดูแลผู้ป่วย 3 การนิเทศในกระบวนการดูแลผู้ป่วย แต่ละหอผู้ป่วย หัวหน้าหอผู้ป่วยหรือพยาบาลหัวหน้าเวรนิเทศบุคลากรในหน่วยงานตามแผนการนิเทศ ครอบคลุมทั้งด้านการบริหารจัดการ การสนับสนุนให้ความช่วยเหลือ และการให้คำแนะนำปรึกษา ตามบริบทของแต่ละหอผู้ป่วย/หน่วยงาน Management Supervision Supportive Education

การนิเทศในกระบวนการดูแลผู้ป่วย การติดตามประเมินผลการนิเทศ การนิเทศในกระบวนการดูแลผู้ป่วย 1. ตัวชี้วัดเฉพาะหน่วยงานตามบริบทของแต่ละหอผู้ป่วยหรือหน่วยงาน 2. Competency ของบุคลากรทางการพยาบาลในการพยาบาลผู้ป่วย 3. จำนวนอุบัติการณ์และจำนวนข้อร้องเรียนที่เกี่ยวข้องกับการดูแลผู้ป่วย 4. ร้อยละของความผูกพันของบุคลากรพยาบาลต่อองค์กร 5. ร้อยละความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรพยาบาล 6. ร้อยละความพึงพอใจของผู้ป่วยและครอบครัวที่มารับบริการ ฯลฯ

รูปแบบการนิเทศ การนิเทศงานบุคคล (Individual Supervison) คือ การนิเทศตัวต่อตัวระหว่างผู้นิเทศกับผู้รับนิเทศ ใช้ในกรณีเจ้าหน้าที่ใหม่ กับนักศึกษา หรือเจ้าหน้าที่ที่ต้องดูแลใกล้ชิด การนิเทศเป็นทีม หรือกลุ่ม (Group Supervision) ผู้นิเทศที่มีความชำนาญหลายด้านมารวมกัน หรือผู้รับนิเทศที่มีปัญหาคล้ายคลึงกัน การนิเทศไข้ว (Cross Supervision ) เป็นการจัดทีมพิเศษแต่ละหน่วยงานไปนิเทศอีก หน่วยงานหนึ่งในระดับเดียวกัน

เรื่องที่ใช้นิเทศ นิเทศการปฏิบัติงานการพยาบาล ความรู้ในโรค เทคนิคการพยาบาล นิเทศเจ้าหน้าที่ทางการพยาบาล เน้นการนิเทศเกี่ยวกับตัวเจ้าหน้าที่ในเรื่องบุคลิกภาพ การนิเทศสภาวะสิ่งแวดล้อมทางการบริหารจัดการ ได้แก่การจัดอัตรากำลัง การมอบหมายงาน การจัดสภาพหอผู้ป่วยและหน่วยบริการอื่น ๆ ความพร้อมของการจัดเตรียมอุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ และการบำรุงรักษา

แผนการเยี่ยม ประเภทการเยี่ยมตรวจ ผู้ปฏิบัติ ผู้ร่วมเยี่ยม ระยะเวลา หมายเหตุ Quick Round - หัวหน้าหน่วยงาน - พยาบาลเวร   - 5 – 10 นาที ทุกเวรก่อนการรับ-ส่งเวร Chane Slift Round 10 – 20 นาที ทำทุกเวร Morning Round - หัวหน้าพยาบาล 30 นาที ทำทุกวัน Medical Round - แพทย์ - พยาบาลเวร 1 ชั่วโมง ทำเวรเช้า - บ่าย Field Round - หัวหน้าพยาบาล - หัวหน้าหน่วยงานที่ได้รับ มอบหมาย 30 – 60 นาที เมื่อมี Risk

ระดับการนิเทศ / การนิเทศ ลำดับ ระดับการนิเทศ กิจกรรมการนิเทศ นิเทศ/ผู้ปฏิบัติแทน ผู้รับนิเทศ วิธีการนิเทศ ความถี่ของการนิเทศ 1 ระดับกลุ่มการพยาบาล - การจัดอัตรากำลัง - การให้บริการ/เทคนิคการพยาบาล - การจัดสถานที่ อุปกรณ์ เครื่องใช้ และเวชภัณฑ์ - การบันทึกรายงาน ปัญหา/อุปสรรคในการ บริหารงาน บริการ และวิชาการ - หัวหน้าพยาบาล - หัวหน้าหน่วยงาน - หัวหน้าเวร - ทีมการพยาบาล -สังเกตุ -ซักถาม -การรายงาน -การตรวจสอบ -การบันทึก สัปดาห์ละ 1-2 ครั้ง 2 ระดับหน่วยงาน -การบริหารทีม -การสนับสนุนและประเมินผลทีม -การจัดเตรียมอุปกรณ์ เครื่องใช้ -การให้สุขศึกษา -หัวหน้างาน   -สมาชิกทีมพยาบาล -สังเกต -ร่วมปฏิบัติงาน วันละ 1-2 ครั้ง 3 ระดับทีมการพยาบาล -การวางแผนการนิเทศ -การให้บริการ เทคนิคการพยาบาล -การบันทึกรายงานการพยาบาล -ปัญหา / อุปสรรคในการให้บริการ -หัวหน้าเวร -สมาชิกทีมการพยาบาล -ตรวจสอบการบันทึก เวรละ 2 – 3 ครั้ง

บันทึกการเยี่ยมตรวจทางการพยาบาล ชื่อ หน่วยงาน…………………………กลุ่มการพยาบาล วัน/เดือน/ปี ปัญหา/โอกาสพัฒนา แนวทางแก้ไข/ปรับปรุง   ลงชื่อ……………………………ผู้บันทึก (……………………………) ตำแหน่ง……………………………    ลงชื่อ……………………   ตำแหน่ง หัวหน้าพยาบาล ………/…………./……….

แผนการเยี่ยมตรวจระดับกลุ่มงานการพยาบาล การเยี่ยมตรวจ (Grand Round) และ Field Round/Dnality Round ประจำสัปดาห์ / ประจำเดือน หน่วยงาน วัน/สัปดาห์/เดือน หมายเหตุ จันทร์ อังคาร พุธ พฤหัส ศุกร์   OPD * เยี่ยมหน่วยงานละ 1 ครั้ง / เดือน เวลา 14.00 – 15.00 น. ER OR / บัตร IPD/ LR Supply/ซักฟอก

การนิเทศจากโต๊ะทำงาน ติดตามตัวชี้วัดและ วิเคราะห์สถานการณ์

การนิเทศจากการสัมผัสของจริง รายวัน ตามระยะ ตามสถานการณ์

สร้างเครือข่ายการนิเทศ นำสิ่งที่เกิดขึ้น มาเรียนรู้ บรรยากาศเพื่อน ช่วยอำนวยความสะดวกในการเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ เปิดโอกาสให้เข้าร่วมคิด ร่วมแก้ไข ร่วมพัฒนา

การนิเทศกระบวนการพยาบาล การประเมินความต้องการ การพยาบาล ประเมินการให้บริการทางการพยาบาล บันทึกทางการพยาบาล การประเมินผลลัพธ์การพยาบาล

การนิเทศเพื่อการบริหารคน ค้นหาความสามารถของเจ้าหน้าที่ ค้นหาความต้องการกำลังคน ค้นหาโอกาสพัฒนาจากหน้างาน

การนิเทศเพื่อการบริหารเครื่องมือ ความพร้อมและคุณภาพ ความเพียงพอเครื่องมือ ความรวดเร็วในการเข้าถึงเครื่องมือ

การนิเทศคุณภาพ

วางระบบและมาตรฐาน การพัฒนาคุณภาพต้องมีตลอดเวลา

นิเทศจากการทดลองทำ ทำให้มั่นใจ ลดคำว่าทำไม่ได้

ทุกคนทำหน้าที่ผู้นิเทศได้ถ้าให้โอกาส

นิเทศสร้างสุขจากงาน ความสุขที่มีงานทำ ความสุขที่ทำให้ผู้ป่วยและญาติได้รับบริการที่ตรงปัญหา ความสุขที่ได้รับการยอมรับจากทีมสุขภาพ

แม้นนิเทศได้ไม่ได้แปลว่าจะต้องรู้ทุกเรื่อง

หาที่ปรึกษา…คือคนที่เขี่ยผงในตาคนอื่น คำแนะนำจากคนอื่น เป็นทางออกหนึ่ง มองคำแนะนำให้เป็นแค่แนวทาง หรือทางเลือกที่เรามีส่วนตัดสินใจเอง คัดเลือกคนที่แนะนำปัญหาดูสักนิด แล้วชีวิตเราจะไม่ผิดพลาดเพราะเชื่อคนอื่น

สร้างแนวทางการทำงานที่ง่ายต่อการนำไปใช้

การนิเทศช่วยให้งานใดที่ไม่สมบูรณ์แบบ มีกระบวนการ การตรวจสอบ การนิเทศช่วยให้งานใดที่ไม่สมบูรณ์แบบ มีกระบวนการ การตรวจสอบ

การนิเทศสร้างแนวทางใหม่

การนิเทศเอกสารที่สะท้อนกลับทางline

จากสถานการณ์ไม่หยุดแค่รายงาน ความท้าทายคือแก้อย่างไรไม่เกิดอีก

สวัสดีค่ะ