ระบบการควบคุมภายในกลุ่มวิสาหกิจชุมชน
ประเด็นสำคัญ --ความหมายการควบคุม ภายใน --ประเภทของการควบคุม ภายใน --ประโยชน์ของการ ควบคุมภายใน --วิสาหกิจชุมชนกับการ ควบคุมภายใน
ความหมายของการควบคุมภายใน นโยบายวิธีการปฏิบัติงาน ซึ่งผู้บริหาร กำหนดขึ้น เพื่อ บรรลุวัตถุประสงค์ของการดำเนินงานทำให้เกิดความ มั่นใจเท่าที่จะทำได้ว่าการดำเนินธุรกิจเป็นไปอย่างมี ระเบียบและประสิทธิภาพ ซึ่งรวมถึงการป้องกันรักษา ทรัพย์สิน ป้องกันข้อผิดพลาดและป้องกันการทุจริต รวมถึงความถูกต้องครบถ้วนของการบันทึกบัญชี และ การจัดทำข้อมูลการเงินที่เชื่อถือได้อย่างทันเวลา (ม. การ สอบ รหัส 400)
ความหมายการควบคุมภายใน นโยบาย วิธีปฏิบัติ การกระทำ ใดที่กำหนด วัตถุประสงค์ เป้าหมาย การดำเนินงานเป็นไปตามนโยบายที่ กำหนดและมีประสิทธิภาพ ป้องกันรักษาทรัพย์สิน ป้องกันและตรวจพบการทุจริตหรือ ข้อผิดพลาด การบันทึกบัญชี ถูกต้อง ครบถ้วน ข้อมูลเชื่อถือได้ ทันเวลา
การควบคุมภายในที่ดี มีการจัดโครงสร้างองค์กรและการ แบ่งแยกหน้าที่ มีการอนุมัติการจ่ายและรายการ บัญชี มีแนวทางปฏิบัติงานที่ดี (หน้าที่ ความรับผิดชอบ มอบหมายงาน วิธีปฏิบัติงาน และนโยบายที่ชัดเจน) กำหนดบุคลากรเหมาะสมกับงาน
ประเภทของการควบคุมภายใน การควบคุมด้าน บริหาร การควบคุมด้านการบัญชี
การควบคุมด้าน บริหาร เป็นวิธีการและมาตรการต่างๆ ที่จะทำให้การดำเนินงาน มีประสิทธิภาพ ส่งเสริมให้มีการปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบข้อบังคับ และนโยบายที่คณะกรรมการหรือที่ประชุมสมาชิกกำหนด
ด้านการบริหารงานทั่วไป มีการกำหนดระเบียบข้อบังคับเพื่อใช้เป็น แนวทางปฏิบัติงานให้ครบถ้วน มีการจัดแบ่งส่วนงานและแบ่งแยกหน้าที่ที่ ชัดเจน ไม่ให้บุคคลใดปฏิบัติงานเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ตั้งแต่ต้นจนจบ แยกหน้าที่ด้านการเงินกับการบัญชีออกจาก กัน มีการประชุมคณะกรรมการเป็นประจำ เพื่อ ติดตามผลการปฏิบัติงาน มีแผนการดำเนินงานที่ชัดเจนและมีการ เปรียบเทียบกับผลงาน มีการตรวจสอบภายใน
การแบ่งแยกหน้าที่ความรับผิดชอบ ดูแลรักษาทรัพย์สิน บันทึกรายการบัญชี เงิน บัญชี อนุมัติ การปฏิบัติงาน บันทึกรายการบัญชี
การจดบันทึกและการรายงาน รายงานการปฏิบัติงานที่ ได้รับมอบหมาย ติดตามผลการปฏิบัติงาน เป็นข้อมูลเสนอ คณะกรรมการเพื่อแก้ไข ปัญหา
ใช้เป็นแนวทางการปฏิบัติงาน เช่น ระเบียบเกี่ยวกับการเก็บรักษาเงินสด การกำหนดระเบียบ แนวทางปฏิบัติ ใช้เป็นแนวทางการปฏิบัติงาน เช่น ระเบียบเกี่ยวกับการเก็บรักษาเงินสด ระเบียบเกี่ยวกับการถือหุ้น ระเบียบเกี่ยวกับเงินรับฝาก
แผนการดำเนินงาน และประมาณการรายได้ - รายจ่าย การประชุมคณะกรรมการ ควรจัดให้มีการประชุมเป็นประจำ เพื่อติดตามผลการปฏิบัติงาน ให้ทราบถึงปัญหา อุปสรรคที่เกิดขึ้น ทำให้สามารถหาแนวทางแก้ไขได้ทันเหตุการณ์ แผนการดำเนินงาน และประมาณการรายได้ - รายจ่าย การจัดทำแผนการดำเนินงาน (ระดมทุน การดำเนินธุรกิจ จัดสินทรัพย์) การจัดทำประมาณการรายได้ - รายจ่ายประจำปี
การควบคุมด้านการบัญชี เป็นการกำหนดวิธีการ และมาตรการที่ เกี่ยวข้องโดยตรงกับ การดูแลรักษาทรัพย์สิน และการบันทึกบัญชี การควบคุมภายในที่สำคัญ รายการเกิดขึ้นตามที่คณะกรรมการวิสาหกิจชุมชนอนุมัติ มีเอกสารหลักฐานประกอบการบันทึกบัญชีถูกต้อง ครบถ้วน รายการทั้งหมดและเหตุการณ์อื่นๆ มีการบันทึกบัญชีทันที จำนวนถูกต้อง ทั้งประเภทบัญชีและงวดบัญชีที่เหมาะสม การเข้าถึงสินทรัพย์และข้อมูลเมื่อได้รับการอนุมัติ มีการเปรียบเทียบสินทรัพย์กับกับสินทรัพย์ที่มีอยู่จริง
ด้านเงินสดและเงินฝากธนาคาร มีการกำหนดระเบียบหรือหลักปฏิบัติในการ เก็บรักษาเงินสด มีการออกหลักฐานการรับและจ่ายเงินทุก ครั้ง และนำมาบันทึกบัญชีทันที มีระบบการควบคุมเอกสารการรับเงิน มีการกำหนดให้เงินสดที่ได้รับทั้งหมดฝาก ธนาคารโดยไม่ชักช้า มีการกำหนดวงเงินขั้นต่ำที่สามารถเก็บ รักษาไว้ได้เท่าที่จำเป็น การจ่ายเงินทุกครั้งมีการอนุมัติจากผู้มี อำนาจ มีการเปรียบเทียบยอดเงินในบัญชีเงินฝาก ธนาคารกับสมุดคู่ฝากโดยสม่ำเสมอ
การเปรียบเทียบบัญชีเงินฝากธนาคาร สมุดคู่ฝาก (ธนาคาร) บัญชี) วดป คำย่อ ถอน ฝาก คงเหลือ 2552 ก.ค.7 5,000 10 2,000 3,000 ส.ค.8 7,000 10,000 วดป รายการ หน้า บัญชี รับ จ่าย คงเหลือ 2552 กค.31 สมุดรับ 5,000 สมุดจ่าย 2,000 3,000 เปรียบเทียบ จำนวนเงินฝากธนาคารคงเหลือ ณ วันสิ้นเดือนจะต้องเท่ากัน ถ้าไม่เท่ากัน จะต้องตรวจสอบให้แน่ชัด ให้ค้นหา ข้อเท็จจริง และแก้ไขให้ถูกต้อง
ด้านค่าหุ้น มีการกำหนดระเบียบปฏิบัติ เกี่ยวกับการถือหุ้นไว้ชัดเจน มีการจัดทำทะเบียนคุมการถือหุ้น ของสมาชิกไว้เป็นปัจจุบัน มีการเปรียบเทียบยอดรวมเงินค่า หุ้นในทะเบียนคุมกับบัญชีแยก ประเภททั่วไป
ด้านสินทรัพย์ มีการควบคุมการปฏิบัติตาม ระเบียบหรือหลักปฏิบัติเกี่ยวกับ การซื้อ/ขายสินทรัพย์ และ การจัดทำทะเบียนคุมสินทรัพย์ มีการอนุมัติการซื้อ/เลิกใช้ สินทรัพย์ มีการตรวจนับสินทรัพย์ เปรียบเทียบกับทะเบียนคุม สินทรัพย์เป็นครั้งคราว
ด้านเงินรับฝาก มีการกำหนดให้สมาชิกนำสมุด เงินฝากมาบันทึกรายการทุก ครั้ง เมื่อมีการฝากและถอน เงิน มีการเปรียบเทียบยอดใน ทะเบียนคุมเงินรับฝากกับบัญชี มีการสอบทานลายมือชื่อผู้ถอน เงินฝากให้ถูกต้องก่อนการ จ่ายเงิน
ด้านต้นทุน มีการกำหนดระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับการ จัดหาวัตถุดิบและการเบิกใช้ มีการจัดทำทะเบียนคุมวัตถุดิบและการเบิก ไปใช้ในการผลิต มีการกำหนดตัวผู้รับผิดชอบในการดูแล เก็บรักษาวัตถุดิบและบันทึกต้นทุนการ ผลิต มีการตรวจนับวัตถุดิบเพื่อเปรียบเทียบกับ ยอดคงเหลือในทะเบียนคุม มีการกำหนดต้นทุนมาตรฐานในการผลิต
ด้านการจัดสรรกำไรสุทธิ มีการกำหนดระเบียบปฏิบัติ เกี่ยวกับการจัดสรรกำไรของ วิสาหกิจชุมชน มีการติดตามการจัดสรรกำไรสุทธิ และหลักฐานการจ่ายเงินเป็นไป ตามมติที่ประชุม
ประโยชน์ของการควบคุมภายใน สำหรับคณะกรรมการวิสาหกิจชุมชน เป็นเครื่องมือช่วยให้ความ มั่นใจว่าการปฏิบัติงานเป็นไปอย่างถูกต้อง ตามกฎหมาย ระเบียบข้อบังคับ นโยบาย และรายงานได้ทำขึ้นถูกต้อง เชื่อถือได้ ทันเวลา ตลอดจนมีการป้องกันความ ผิดพลาดการทุจริตหรือการสูญหายของ ทรัพย์สินไว้อย่างรัดกุม สำหรับพนักงานและลูกจ้าง เป็นเครื่องชี้นำแนวทางการปฏิบัติงานที่ถูกต้อง และเป็น เครื่องเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน
วิสาหกิจชุมชนกับการควบคุมภายใน หากวิสาหกิจมีการควบคุมภายในแล้วจะ สามารถปฏิบัติได้ตามกฎหมาย ระเบียบ สามารถบรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กร มีข้อมูลที่ถูกต้องเชื่อถือได้ ได้รับความเชื่อถือจากสมาชิก สามารถตรวจสอบได้