การจัดการศูนย์สารสนเทศ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Foundations of Management Understanding
Advertisements

ประเภทของระบบสารสนเทศในองค์กร
อาจารย์มณทิพา ทับทิมอ่อน
องค์การสมัยใหม่ (Modern organization) หมายถึง การที่มีกลุ่มคนมาทํางาน ร่วมกันอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ได้บรรลุเป้าหมายอย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งองค์สมัยใหม่การมีลักษณะร่วมกันอยู่
Graham allison ส่วนที่เหมือนกันและต่างกัน สำคัญมาก เพราะไปเกี่ยวข้องกับ กลุ่มเป้าหมาย PA=public=social BA=targeted group Pa managerialism marketisation.
Strategic management MBA Rajaphat Chiangmai University
นั่งเรียงตามลำดับที่
อาจารย์ ว่าที่ร้อยตรี อนันต์ สิทธิวัฒนานนท์
1 การวิเคราะห์ งาน Job Analysis. INDM0419 Industrial HRM2 ความหมายของการวิเคราะห์งาน การวิเคราะห์งาน คือ กระบวนการที่มีระบบใน การกำหนดทักษะ หน้าที่ และความรู้ที่
การบริหารโครงการ (Project Management) โครงการ คือ งาน (task) ซึ่งมีการ กำหนดเวลาเริ่มต้นและสิ้นสุด ที่ แน่นอนและมีความต้องการใช้ทรัพยากร ต่างๆใน แต่ละกิจกรรมโดย.
1-2 ครั้งที่ 1 ผู้จัดการ และการจัดการ Managers and Managing.
ศึกษานิเทศน์และเจ้าหน้าที่จากองค์การแพธ
ปฐมนิเทศนักศึกษาฝึกงานภายนอก 18 สิงหาคม 2558
บทที่ 4 กลยุทธ์ระบบสารสนเทศ
การจัดทำแผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคล
บทที่ 3 องค์การสมัยใหม่ (Modern organization)
บทที่ 2 กระบวนการและการวางแผนจัดการทรัพยากรมนุษย์ Human Resource Planning ดร. อัญภัคร์ ประพันธ์เนติวุฒิ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา.
การจัดการทรัพยากรมนุษย์
Human Resource Management การจัดการทรัพยากรมนุษย์
ระบบสารสนเทศในงานบริหารงานบุคคล และการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
Human resources management
การใช้เครื่องมือการจัดการในองค์การภาครัฐ
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เชิงกลยุทธ์
ความหมายของการจัดการ
บทที่ 3 การตัดสินใจ ประเทศไทย - เศรษฐกิจ - การเมือง Google
สำนักงานแม่กองธรรมสนามหลวง
1-2 ครั้งที่ 1 ผู้จัดการ และการจัดการ Managers and Managing.
การปลูกจิตสำนึกในการทำกิจกรรมปรับปรุง และ ทำงานอย่างมีความสนุกสุขใจ
ทัศนธาตุในงานทัศนศิลป์ และสิ่งแวดล้อม เหมือนและต่างกันอย่างไร
บทบาทของการบัญชีต้นทุนในการบริหารธุรกิจ
1-2 ครั้งที่ 1 ผู้จัดการ และการจัดการ Managers and Managing.
วัฒนธรรมองค์กร กรมอนามัย
Student activity To develop in to the world community
การบริหารกำลังคนภาครัฐ
แนวทาง การจัดวางระบบการควบคุมภายใน และการประเมินผลการควบคุมภายใน
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับโครงการ
โดย ดร.เตือนใจ ดลประสิทธิ์
การสัมมนาวิชาการ ปขมท.
Techniques Administration
หมู่บ้านอาสาพัฒนาและป้องกันตนเอง
Line Manager is Leader.
การจัดการศูนย์สารสนเทศ
การจัดการทางการพยาบาล Management in Nursing
การบริหารการปฏิบัติงานของทรู (Cycle of Performance Management System)
ดร.ณัฐวัฒน์ นิปกากร. DMS.
Time management.
การผลิตและการจัดการการผลิต
บทบาทใหม่ของการบริหารทรัพยากรบุคคล
แจ๊ค หม่า จากครูสอนอังกฤษ สู่ เจ้าของ “Alibaba”
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
การบริหารทีมงานและภาวะผู้นำ
MGT 228 การจัดการสมัยใหม่
วิชา การจัดการทรัพยากรมนุษย์ Human Resource Management
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 2 : มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยข้อมูล สธ412 ความมั่นคงของระบบสารสนเทศ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ
บทที่ 5 องค์กร การบริหารในองค์กรและการพัฒนางานอาชีพในองค์กร
การดำเนินงานเครือข่ายโรงเรียนเด็กไทยฟันดี
การควบคุม (Controlling)
ความรู้เกี่ยวกับการจัดการ
โดย ดร.เตือนใจ ดลประสิทธิ์
การจัดการและแนวความคิดทางการจัดการ
หลักการจัดการ Principle of Management
การวางแผนทรัพยากรมนุษย์ HR Planning
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
วิชา การจัดการทรัพยากรมนุษย์
สังคม วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
2 ปีแห่งการพัฒนาสหกรณ์
องค์การและการจัดการ Organization and management (Mpp 5504)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นัทนิชา หาสุนทรี สาขา รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต
บทที่ 3 ความรู้เกี่ยวกับการจัดการ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดการศูนย์สารสนเทศ อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข

หน่วยที่ 1 1.ความหมายและระดับของการจัดการ 1.1 ความหมายของการจัดการ 1.2 ระดับของการจัดการ 1.3 หน้าที่ของการจัดการ

1.1 ความหมายของการจัดการ การใช้ทรัพยากรขององค์การเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ที่ต้องการโดยผ่านการ วางแผน (Planning) การจัดการ (Organizing) การจัดการทรัพยากรมนุษย์ (Human Resources/ HR Management) การนำ (Leading) และการควบคุมกำกับ (Controlling)

นิยามโดย Mary Follett “ศิลปะของการทำให้งานสำเร็จลุล่วงโดยคน” (The Art of Getting Things Done through People)

ใครคือผู้จัดการ ผู้จัดการคือบุคคลในองค์การที่อยู่ในตำแหน่งที่รับผิดชอบตัดสินใจและสนับสนุนการทำงานของบุคคลอื่นในองค์การ ผู้จัดการมีได้ในทุกระดับขององค์การ แต่ผู้จัดการที่อยู่ในระดับสูงจะมีอำนาจและหน้าที่กว้างขวางกว่าผู้จัดการที่อยู่ในระดับล่าง

1.2 ระดับของการจัดการ 1.2.1 การจัดการระดับสูง (Top Management) 1.2.2 การจัดการระดับกลาง (Middle Management) 1.2.3 การจัดการระดับต้น (First – line Management)

1.2.1 การจัดการระดับสูง มีอำนาจเต็มในการกำหนดนโยบายและวิธีการบริหารงานขององค์การ นำและรับผิดชอบการดำเนินงานในภาพรวมขององค์การ ผู้บริหารระดับนี้ในศูนย์สารสนเทศ หมายถึง ผู้อำนวยการ รองผู้อำนวยการ และผู้ช่วยผู้อำนวยการ

1.2.2 การจัดการระดับกลาง นำและรับผิดชอบการดำเนินงานในหน่วยงานย่อยขององค์การ ความรับผิดชอบหลัก คือ ความสำเร็จของการปฏิบัติหน้าที่ภายในฝ่าย

1.2.2 การจัดการระดับกลาง (ต่อ) ทำหน้าที่เป็นผู้ประสานระหว่างผู้บริหารระดับสูงกับหัวหน้างาน (Supervisors) ผู้บริหารระดับนี้ในห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ คือ หัวหน้าฝ่าย

1.2.3. การจัดการระดับต้น นำและรับผิดชอบการปฏิบัติงานประจำวัน (Day-to-day activities) ของพนักงานให้มีประสิทธิผลและประสิทธิภาพ

1.2.3. การจัดการระดับต้น (ต่อ) โดยการควบคุมกำกับให้พนักงานแต่ละคนปฏิบัติหน้าที่ตามเป้าหมายที่องค์การตั้งไว้ และผลิตสินค้าหรือบริการที่ดี ผู้บริหารระดับนี้ในศูนย์สารสนเทศ คือ หัวหน้างาน/ หัวหน้าหน่วย

1.3 หน้าที่ของการจัดการ 1.3.1 วางแผน (Planning) 1.3.2 จัดการองค์การ (Organizing) 1.3.3 จัดการทรัพยากรมนุษย์ (Human Resources Management) 1.3.4 นำองค์การ (Leading) 1.3.5 ควบคุมกำกับ(Controlling)

1.3.1 การวางแผน (Planning) การวางแผนเป็นการกำหนดเป้าหมายที่องค์การต้องการจะเป็นในอนาคต และจัดการให้องค์การทำหน้าที่ของแต่ละวันจนบรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้

1.3.1 การวางแผน (ต่อ) เป็นหน้าที่แรกที่ผู้จัดการทุกคนต้องทำ เป็นการคิดล่วงหน้าถึงสิ่งที่จะทำและ วิธีการที่จะใช้เพื่อให้งานสำเร็จลุล่วง นำไปสู่การบรรลุเป้าหมายขององค์การ

กิจกรรม 1 เขียนแนะนำตัวเองในอีก 5 ปีข้างหน้า วางแผนเพื่อการไปสู่ความเป็นเราในอีก 5 ปีข้างหน้า

ระดับของแผน 1. แผนกลยุทธ์ (ผู้บริหารระดับสูง) 2. แผนโครงการ (ผู้บริหารระดับกลาง) 3. แผนปฏิบัติการ (ผู้บริหารระดับต้น)

1.3.2 จัดการองค์การ (Organizing) เป็นหน้าที่ลำดับที่สองที่ผู้จัดการต้องทำ เป็นการกำหนดโครงสร้างองค์การ ขอบเขตหน้าที่ของฝ่ายงาน หน้าที่ความรับผิดชอบและอำนาจการตัดสินใจ

ตัวอย่างการจัดโครงสร้างหน่วยงาน ของ ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา. มทส 1. ฝ่ายธุรการ 2. ฝ่ายพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ 3. ฝ่ายบริการสารสนเทศ 4. ฝ่ายส่งเสริมการรู้สารสนเทศ 5. ฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ

ตัวอย่างการจัดโครงสร้างหน่วยงาน ของ สำนักบรรณสารสนเทศ มสธ. ตัวอย่างการจัดโครงสร้างหน่วยงาน ของ สำนักบรรณสารสนเทศ มสธ. 1. สำนักงานเลขานุการ 2. ฝ่ายเทคนิค 3. ฝ่ายบริการสื่อการศึกษา 4. ฝ่ายบริการสนเทศ 5. ศูนย์เทคโนโลยีบรรรณสารสนเทศ

1. งานอำนวยการ 2. งานบริหารทั่วไป 3. หน่วยจัดหาทรัพยากร 4 1. งานอำนวยการ 2. งานบริหารทั่วไป 3. หน่วยจัดหาทรัพยากร 4. หน่วยวิเคราะห์ทรัพยากร 5. หน่วยบริการสื่อสิ่งพิมพ์ 6. หน่วยบริการสื่อโสตทัศน์

7. หน่วยบริการสื่อสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง 8. หน่วยสนเทศการศึกษาทางไกล 9 7. หน่วยบริการสื่อสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง 8. หน่วยสนเทศการศึกษาทางไกล 9. หน่วยจดหมายเหตุมหาวิทยาลัย 10. หน่วยห้องสมุดสาขา

ตัวอย่างการจัดโครงสร้างหน่วยงาน ของ สำนักวิทยบริการ มข. ตัวอย่างการจัดโครงสร้างหน่วยงาน ของ สำนักวิทยบริการ มข. 1. กลุ่มภารกิจจัดการสารสนเทศสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ 2. กลุ่มภารกิจจัดการสารสนเทศสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 3. กลุ่มภารกิจจัดการสารสนเทศสาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

4. กลุ่มภารกิจส่งเสริมการเรียนรู้ (ส่งเสริมการรู้สารสนเทศ กิจกรรมห้องสมุดมีชีวิต บริการชุมชน คอลเล็คชันพิเศษ มุมอีสานสนเทศ) 5. กลุ่มภารกิจสนันสนุนทั่วไป (สารบรรณ การเงิน พัสดุ อาคารสถานที่ ประชาสัมพันธ์) 6. กลุ่มภารกิจพิพิธภัณฑ์และหอจดหมายเหตุ

1.3.3 จัดการทรัพยากรมนุษย์ (Human Resources Management) เป็นการจัดหากำลังคนให้สอดคล้องกับลักษณะงานที่กำหนด (Put the right man to the right job.) เกี่ยวข้องกับการจ้างงาน การฝึกอบรม การดูแลผลประโยชน์และสวัสดิการ การจัดการทรัพยากรมนุษย์ที่ดีมีผลให้บุคลากรอุทิศตนให้กับการทำงาน

1.3.4 นำองค์การ (Leading) เป็นการสร้างการยอมรับและแรงจูงใจในการทำงานให้เกิดขึ้นในหมู่ผู้ปฏิบัติงานทุกระดับ สร้างคุณค่า และวัฒนธรรมองค์กร (Corporate Culture) ร่วมกันเพื่อให้พนักงานมีทัศนคติเชิงบวก ผู้นำต้องมีวิสัยทัศน์และเป็นตัวอย่างที่ดีในด้านคุณธรรมจริยธรรม

1.3.5 ควบคุมกำกับ (Controlling) เป็นการตรวจสอบว่าได้มีการดำเนินการตามแผนที่กำหนดหรือไม่เพียงใด อาจต้องมีการปรับเปลี่ยนแผน วิธีการ หรือผู้ปฏิบัติงาน