การประชุมการบริหารการสอนรายวิชาตาม โครงการ self access learning

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

ข้อสรุปหลักสูตรการอบรมการผลิต รายการเด็ก TV4Kids.
เทคนิคการเรียนการสอนโดยใช้เกม และ เทคนิคการสอนโดยใช้การแสดงละคร
การเปรียบเทียบความคงทนในบทเรียนระหว่าง วิธีการจัดการเรียนรู้ตามทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเองกับวิธีการแบบบรรยาย นุชดา ลาทอง.
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
โดย นางสาวนิภาพร เถาคำแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค.)
ชุมชนนักปฏิบัติ CoP “ การปฏิบัติงานพัสดุไม่ ยากอย่างที่คิด ” เริ่มก่อตั้งแต่ปี
มาตรฐานคุณภาพการสอน ของ คณะกรรมการแห่งชาติ ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพครู (The National Board for Professional Teaching Standards) วิกฤติอาชีพครู พัฒนาวิชาชีพครู
ผู้เสนอ นางสาวนิภาพร วิริยะประกอบ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
ผู้วิจัย : นางสาวสุรีรัตน์ ขันคำ
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)
นางสาวสาวิตรี โยธาจันทร์ คณะบริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
รูปแบบการนำเสนอ หน่วยงาน
แนวทางการสอน เพื่อพัฒนาทักษะเด็กตามรูปแบบการสอน
การสอนโดยเน้นกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง
ผู้วิจัย : นางธนิตา ขาวทอง วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยา สงขลา
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ ความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
กิจกรรมการเรียนการสอน ที่หลากหลาย เพื่อเพิ่ม ผลสัมฤทธิ์ในการเรียน วิชา กฎหมายแรงงานและ การประกันสังคม ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.2 วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คู่มือ ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนรู้ คู่มือ ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนรู้
ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ โรงเรียนอนุบาลนาแกผดุงราชกิจเจริญ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครพนม เขต ๑ ตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ.
สรุปผลการอบรม หลักสูตรการพัฒนาการ จัดการเรียนการสอน ด้านการวัดและ ประเมินผล จารุนันท์ สมบูรณ์สิทธิ์
1. ด้าน หลักสูตร. จุดเน้นกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ คุณภาพผู้เรียน “ คุณภาพผู้เรียน ที่ระบุในจุดเน้นมีอยู่ แล้วในหลักสูตร.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
Seminar 1-3.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การดำเนินงานเมื่อสิ้นสุดโครงการ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
ณ ห้องประชุม พธ.ทร.(๒) วันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๘ เวลา ๐๙๓๐
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
เปิดบ้าน ชื่อโรงเรียน วันที่.
Workshop Introduction
หมวดศึกษาทั่วไป ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556 ผู้สอน : อ.สำราญ ผลดี
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
ข้อสังเกตโดยรวมของผลงานที่ได้คะแนน ระดับดีมาก - ดี
กำหนดการ Work shop -ชี้แจงวัตถุประสงค์ ร่วมเรียนรู้ ร่วมลด CAP ลดซ้ำซ้อน และเสริมพลัง -รับฟังการนำเสนอผลการประเมินตนเองและทำแผนปรับปรุงตนเองและสรุปปัญหาที่ต้อง.
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
SMS News Distribute Service
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
นางนพรัตน์ สุวรรณโณ วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยาสงขลา
สอนโดย : อาจารย์กุสุมา ยกชู
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
การใช้ชุดฝึกปฏิบัติ เพื่อพัฒนาการอ่านออกเสียงเสียงท้าย - ts , st
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประชุมการบริหารการสอนรายวิชาตาม โครงการ self access learning วันจันทร์ที่ 6 มิถุนายน 2548 ห้องประชุม L304 ณ สำนักหอสมุดกลาง เวลา 13.30 น.-14.30 น.

ความสำคัญการเรียนรู้ด้วยตนเอง self- directed learning โครงการ Self access learning เพื่อสนับสนุน self- directed learning

self- directed learning คืออะไร เป็นวิธีการเรียนรู้ที่ทำให้ผู้เรียนมีความตระหนัก และรับผิดชอบต่อแผนการเรียนของตนเอง กำหนดกิจกรรมการเรียนรู้ เลือกแหล่งวิธีการเรียนรู้ ประเมินผลด้วยตนเอง โดยจะมีผู้ช่วยเหลือหรือไม่มีก็ได้ ( Hiemstra ,1998 )

การเรียนรู้ด้วยตนเองมีกระบวนการที่สำคัญดังนี้ 1. การประเมินความต้องการของตนเอง 2. การกำหนดจุดมุ่งหมาย 3. กำหนดสิ่งที่ต้องการเรียนรู้ โดยกำหนดและพิจารณาจาก ระดับความยากง่าย ค่าใช้จ่าย ความต้องการความช่วยเหลือ แหล่งข้อมูลและ ประสบการณ์

การเรียนรู้ด้วยตนเองมีกระบวนการที่สำคัญดังนี้ (ต่อ) 4. การจัดการในการเรียน โดยกำหนด - ปริมาณเวลาที่ต้องการสอน - ปริมาณเวลาที่ต้องการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้เรียน ปริมาณเวลาที่ต้องการทำกิจกรรมของแต่ละคน กิจกรรมนั้นต้องเสร็จสิ้นเมื่อใด

การเรียนรู้ด้วยตนเองมีกระบวนการที่สำคัญดังนี้ 5. การเลือกวิธีการเรียนและสื่อ อุปกรณ์ เทคนิคการสอน ทรัพยากรการเรียนรู้ 6. การกำหนดวิธีการควบคุมสิ่งแวดล้อมในการเรียน ทั้งทางกายภาพ ทางด้านอารมณ์ 7.การกำหนดวิธีการตรวจสอบตนเอง โดยกำหนดวิธีรายงาน, บันทึกการสะท้อนตนเอง, การเปิดโอกาสให้ผู้เรียน ฝึกตัดสินใจ,การแก้ปัญหา เป็นต้น 8.การกำหนดขอบเขตบทบาทผู้ช่วยเหลือ

รูปแบบการเรียนรู้ด้วยตนเอง 1. การทำสมุดบันทึกส่วนตัว, หรือเวปไซด์ส่วนตัว บันทึกข้อมูล ความคิด เรื่องราวต่าง ๆ ที่ได้เรียนรู้ด้วยตัวเอง สมุดนี้จะช่วยเก็บสะสมเรื่องราว ความคิด ไว้ได้อย่างต่อเนื่อง 2. การกำหนดโครงการเรียนรู้รายบุคคลที่วางแผนไว้ล่วงหน้า 3.รู้วิธีการที่จะเรียน ( Know how to learn) ต้องรู้ว่าต้องการอะไร และไปสู่จุดที่ต้องการเรียนรู้หรือไม่อย่างไร 4.มีบุคลิกภาพเชิงบวก มีแรงจูงใจ และเรียนแบบร่วมมือ

รูปแบบการเรียนรู้ด้วยตนเอง 5. มีความพยายามในการหาวิธีการใหม่ ๆ ในการหาคำตอบ การประยุกต์ความรู้ การหาโอกาสการพัฒนา การหาข้อมูลเพื่อแก้ปัญหา 6.มีวิธีการรวบรวมข้อมูลจากการติดต่อกับบุคคล และการรู้จักนำข้อมูลที่มีอยู่มาใช้ประโยชน์

ความสำเร็จในการเรียนรู้ด้วยตนเอง ความสามารถและความตั้งใจของผู้เรียน ทางเลือกเกี่ยวกับทิศทางที่ต้องการไป โดยต้องมีวินัย ความรับผิดชอบไปพร้อมกัน ลักษณะที่เป็น self concept ทางบวก

แนวปฎิบัติการบริหารรายวิชาตาม โครงการ Self Access learning วิธีและขั้นตอน 1. ทุกคณะกำหนดเป้าหมายกลุ่มรายวิชา หรือลักษณะรายวิชาที่เข้าร่วมโครงการ Self Access อย่างน้อย สาขาละ 3 วิชา โดยกำหนดไว้ใน Course Syllabus รวมทั้งการประเมินผลการเรียนอย่างน้อย ร้อยละ 10-15 2. อาจารย์ผู้สอนส่งรายชื่อวิชาไปยังสำนักหอสมุด (ทั้งนี้ต้องผ่านมติที่ประชุมคณะกรรมการวิชาการระดับคณะ หรือคณบดีรับทราบการเข้าร่วมโครงการ)

ขั้นตอน 4. การวัดผลประเมินผล รายวิชา เป็นตามที่มหาวิทยาลัยกำหนด 3. อาจารย์ผู้สอนต้องมีแบบประเมินผลรูปแบบต่าง ๆ เช่น แบบทดสอบ, Take Home, โครงงาน, การบันทึกสะท้อนกลับ, หรืออื่น ๆ เป็นต้น เพื่อเป็นหลักเกณฑ์การพิจารณาประเมินผลการเรียนด้วยวิธีการเรียนรู้ด้วยตนเองของผู้เรียน 4. การวัดผลประเมินผล รายวิชา เป็นตามที่มหาวิทยาลัยกำหนด 5. เมื่อสิ้นภาคการศึกษาให้ผู้สอนรายงานสรุปเสนอ คณบดี และคณบดีส่งสรุปรายงานไปยังสำนักวิชาการ ตามแบบฟอร์มที่กำหนดให้

ขั้นตอน การใช้บริการของผู้เรียน,การสนับสนุนบริการ, 6 . สำนักหอสมุดกลางสรุป วิเคราะห์ข้อมูล ดังนี้ การใช้บริการของผู้เรียน,การสนับสนุนบริการ, ปัญหา อุปสรรค แนวทางแก้ไข การประเมินผล ตามโครงการดังกล่าวเสนอรองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ เมื่อวันสุดท้ายของภาคการศึกษา และ ผอ.สำนัหอสมุดนำรายงานต่อที่ประชุม คณะกรรมการฝ่ายวิชาการ

การสนับสนุนจากสำนักหอสมุดกลาง ตามโดรงการ self access สื่อที่เป็นเอกสารต่างๆ อาทิ case study,เอกสารประกอบการประชุมสัมมนา, รายงานการวิจัย, หนังสือ, ฐานข้อมูล, เอกสารจดหมายเหตุ เป็นต้น 2. สื่อโสตทัศน์ เช่น เทป วีดีทัศน์ ซีดีรอม บทสัมภาษณ์ electronic resource ต่าง ๆ การบันทึกรายการถ่ายทอดต่าง ๆ การบันทึกรายการสารคดีทั้งไทยและต่างประเทศ เป็นต้น

ข้อแนะนำสำหรับการเขียนแผนการสอน 1.ผุ้สอนระบุหัวข้อในแผนการสอน 2.ผู้สอนกำหนดกรอบปริมาณเวลา จำนวนครั้ง 3.ผู้สอนต้องเตรียมเนื้อหาสำหรับแนวทาง self directed learning 4.ผู้สอนระบุกิจกรรมให้ชัดเจน ตั้งแต่การเตรียม การดำเนินงาน และหลังจากมอบหมายงานให้นักศึกษาแล้ว

ข้อแนะนำสำหรับการเขียนแผนการสอน 5..กิจกรรมที่ผู้สอนกำหนดให้ ควรสะท้อนแนวคิดเรื่อง self directed learning และเปิดโอกาสให้ผู้เรียนเสนอกิจกรรม เรียนรู้ด้วยตนเองเพิ่มเติม นอกเหนือจากผู้สอนกำหนด และอยู่ภายใต้ course descriptive ของหลักสูตร 6. ผู้สอนชี้แจงให้ผู้เรียนเข้าใจตรงกัน และอธิบายวิธีการวัดและประเมินผลรายวิชาอย่างชัดเจน เพื่อให้การวัดผลมีมาตรฐาน และมีความเป็นธรรม

ข้อเสนอแนะ สื่อ/รูปแบบ ปริมาณเวลา สภาพการใช้ การสัมภาษณ์ พูดคุยและบันทึก พิพิธภัณฑ์ สังเกตและบันทึก ภาพยนตร์/เว็บไซต์/ CD-ROM ค้นหาความหมายและความสำคัญ โครงงาน เสนอข้อมูลที่น่าสนใจ ชุมชน/สถานประกอบการ การถ่ายภาพ การสัมภาษณ์ บันทึก และสรุป

การวัดและประเมินผล รายการวัดและประเมิน วิธีการ คะแนน เกณฑ์ผ่าน ผลการปฏิบัติกิจกรรม ตรวจสมุด 20 70% ผลสัมฤทธิ์ ทดสอบการเรียน 10 พฤติกรรม แบบสังเกต 60% ความก้าวหน้า โครงงานหนึ่งชิ้น