โครงการสำคัญ ปี 2556 สำนักส่งเสริมสุขภาพ โดย นายแพทย์ดนัย ธีวันดา ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย
สำนักส่งเสริมสุขภาพส่งเสริมให้คนไทยสุขภาพดีมีอายุยืน 1. MMR = 18 : 100,000 LB 2. BA ไม่เกิน 25 : 1000 LB 3. หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ ครั้งแรกก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ 60 % 4. เด็กปฐมวัยที่พัฒนาการ ไม่สมวัยได้รับการกระตุ้นพัฒนาการ 80 % 1. เด็กวัยเรียนมีส่วนสูง ระดับดีและรูปร่างสมส่วน 70 % 2. รร. ระดับเพชร 154 แห่ง 3. ส่งเสริมสุขภาพเด็ก ในถิ่นทุรกันดาร 2,500 คน 1. ร้อยละ 80 สตรีตรวจเต้านมด้วยตนเอง 80 % 2. สัดส่วนของผู้ป่วยมะเร็ง เต้านมระยะที่ 1 และ 2 ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 70 3. รพ.สส. 24 แห่ง 1. ผู้สูงอายุได้รับการพัฒนาทักษะทางกายแลกใจ 80 % 2. 80 ปียังแจ๋ว 76 อำเภอ 3. LTC 175 แห่ง 4. วัด สส. 20 % . ร.ร. ส่งเสริมสุขภาพ . ทักษะชีวิตในโรงเรียน . ส่งเสริมโภชนาการและ สุขภาพอนามัยเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร(กพด.) 1. Every Woman Every Child - โครงการส่งเสริมสุขภาพ มารดาและทารก - โครงการส่งเสริมสุขภาพ เด็กปฐมวัย 2. สายใยรักแห่งครอบครัว - รพ. สายใยรักฯ - ตำบลนมแม่ 3. การป้องกัน HIV จากแม่สู่ลูก 1. Every Woman Every Child - เฝ้าระวังมะเร็งเต้านม ในสตรี 2. ร.พ. ส่งเสริมสุขภาพ 3. ส่งเสริมสุขภาพวัยทอง 4. ส่งเสริมสุขภาพ ในสถานประกอบการ 1. ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ - อำเภอ 80 ปียังแจ๋ว - LTC - วัดส่งเสริมสุขภาพ - ชมรมผู้สูงอายุ
นายแพทย์สราวุฒิ บุญสุข รักษาการหัวหน้ากลุ่มอนามัยแม่และเด็ก นายแพทย์สราวุฒิ บุญสุข รักษาการหัวหน้ากลุ่มอนามัยแม่และเด็ก นางนงลักษณ์ รุ่งทรัพย์สิน งานมารดาและทารกปริกำเนิด นางจินตนา พัฒนพงศ์ธร งานเด็กปฐมวัย (0 - 5 ปี) นางไฉไล เลิศวนางกูร งานเอดส์ในแม่และเด็ก โครงการส่งเสริมสุขภาพสตรีและเด็ก อย่างองค์รวม (EWEC) โครงการ รพ.สายใยรักฯ/รพ.สต.สายใยรักฯ โครงการพัฒนาศักยภาพ ผดบ. (ตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพ ฯ) โครงการสายใยรักฯ ในพื้นที่ทรงงาน (ตามพระราชดำริ ฯ / พระดำริ) โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย อย่างมีส่วนร่วม (WCC คุณภาพ / บูรณาการงาน โดยนำแผน SRM พัฒนาองค์ความรู้และทักษะ/ สื่อสารกับท้องถิ่นโครงการต้นแบบ /ข้อมูลรายครอบครัว โครงการพัฒนาศูนย์เด็กเล็กเพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัย โครงการตำบลนมแม่ ฯ ตามพระราชดำริ ฯ ศึกษาวิจัยสถานการณ์ และพฤติกรรมของสุขภาพสตรี และการเลี้ยงดูเด็กปฐมวัย โครงการป้องกันการถ่ายทอดเชื้อเอชไอวี จากแม่สู่ลูก ศูนย์แลกเปลี่ยนเรียนรู้ MCH ระดับชาติ โครงการจัดหานมผสมแก่เด็กที่เกิดจากแม่ ติดเชื้อเอชไอวี KPI : MMR : 18 : 100,000 LB : BA : 25 : 1,000 LB : ANC คุณภาพ ร้อยละ 70 : ฝากครรภ์ก่อนหรือเท่ากับ 12 สัปดาห์ ร้อยละ 60 KPI : เด็ก 0-5 ปี พัฒนาการสมวัย ร้อยละ 90 : เด็กพัฒนาการล่าช้าได้รับการประเมิน และแก้ไข ร้อยละ 90 : เด็ก 3 ปี ฟันผุไม่เกิน ร้อยละ 52 : เด็ก 0 - 5 ปี สูงระดับดี และรูปร่างสมส่วน ร้อยละ 70 : WCC คุณภาพ ร้อยละ 70 : ศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ ร้อยละ 70 KPI : เด็กที่เกิดจากแม่ติดเชื้อเอชไอวี ไม่เกิน ร้อยละ 1 (100 คน) : ศูนย์แลกเปลี่ยนเรียนรู้ MCH ระดับชาติ พ่อ แม่ สุขภาพดี เด็กเจริญเติบโต พัฒนาการสมวัย
เด็กเจริญเติบโต พัฒนาการสมวัย สิ่งที่ดำเนินการ จัดทำโครงการและ KPI : โครงการหลัก รูปแบบ / มาตรฐาน ANC+WCC+LR คุณภาพ ประสาน / ประชุม เพื่อของบ ฯ ต่อ สสส./สปสช./องค์การต่างประเทศ (WHO / UNICEF / GF / TUC) ความต้องการ นโยบายที่ต่อเนื่องอย่างน้อย 5 ปี งบประมาณที่เพียงพอ (ขณะนี้มีอยู่ 7 ล้านบาท ยังขาดงบ ฯ อีก 40 ล้านบาท : การพัฒนาคน / การสื่อสารสังคม / แจ้งประเมินผล) นักวิชาการ (ที่มีประสบการณ์) อีก 2 คน (ขณะนี้มีอยู่ 5 คน) ปัจจัยความสำเร็จ นโยบายและงบประมาณต่อเนื่อง ระบบบริการ MCH ที่มีมาตรฐาน การเข้าถึงบริการของกลุ่มเป้าหมาย ที่สะดวก ครอบคลุม บุคลากร และภาคีที่มีความรู้ ศึกษา การจัดการ การสื่อสารความรู้ ปรับทัศนคติ ทักษะของกลุ่มเป้าหมายที่ดี ข้อมูล กำกับ ติดตาม มาตรฐาน / รูปแบบ / นวัตกรรม / ที่ตอบสนองในแต่ละบริบท สถานการณ์ MMR 31.8 : 100,000 LB BA 25.1 : 1,000 LB LBW 8.9% ANC≥12 Wks. 47.5% BF 42.5% พัฒนาการสมวัย 70.3% (Denver II) รพ.สายใยรักฯ ระดับทอง 92.5% พ่อ แม่ สุขภาพดี เด็กเจริญเติบโต พัฒนาการสมวัย
โครงการ ส่งเสริมสุขภาพมารดาและทารก วัตถุประสงค์ 1. ยกระดับสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์ หญิงคลอด และหลังคลอด โดยสร้างการเข้าถึงบริการอย่างเสมอภาค 2. พัฒนาคุณภาพการดูแลหญิงตั้งครรภ์แนวใหม่ ตามข้อแนะนำองค์การ อนามัยโลกในคลินิกฝากครรภ์ และห้องคลอดคุณภาพ 3. ปกป้อง ส่งเสริม และสนับสนุน ให้กลุ่มหญิงตั้งครรภ์ได้รับชุดสิทธิประโยชน์หลักประกันสุขภาพหน้า
โครงการ ส่งเสริมสุขภาพมารดาและทารก ตัวชีวัด / ค่าเป้าหมาย : 1. หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครั้งแรก อายุครรภ์น้อยกว่า 12 สัปดาห์ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 60 2. ANC คุณภาพไม่น้อยกว่า ร้อยละ 70 3. ห้องคลอดคุณภาพไม่น้อยกว่า ร้อยละ 70 4. อัตราส่วนการตายมารดา 18 : 100,000 การเกิดมีชีพ 5. อัตราทารกแรกเกิดขาดออกซิเจน ไม่เกิน 25 : 1,000 การเกิดมีชีพ
บทบาทหน้าที่ กิจกรรม ส่วนกลาง ศูนย์อนามัย จังหวัด 1. เร่งรัดทุกสถานบริการใช้ ANC & LR คุณภาพ 1. การประชุมปรับ มาตรฐาน ANC & LR คุณภาพ 2. จัดอบรม ANC & LR คุณภาพ เชิงปฏิบัติการ ทีมประเมินระดับเขต 3. สุ่มประเมินและรับรองมาตรฐาน 1. ร่วมปรับมาตรฐาน 2. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ ANC & LR คุณภาพให้แก่ทีมประเมินระดับจังหวัด 3. ประเมินมาตรฐาน ANC & LR คุณภาพ และรายงานทาง E - mail 2. ส่งทีมประเมินเข้ารับ การอบรม 3. อบรมให้ความรู้ ANC & LR คุณภาพแก่ รพ.สต. 4. ประเมินตนเองตามมาตรฐาน ANC & LR คุณภาพและรายงานทาง E - mail
บทบาทหน้าที่ กิจกรรม ส่วนกลาง ศูนย์อนามัย จังหวัด 2. สร้างความรู้ ความตระหนัก ในการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ และทารกในครรภ์ 1. มหกรรมส่งเสริมสุขภาพสตรีและเด็ก 4 ภาค 2. เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ ทางโทรทัศน์ วิทยุ หนังสือพิมพ์ 3. เผยแพร่ทางเอกสาร สมุดบันทึกสุขภาพ ฯ /จัดพิมพ์สมุด ฯ 5 ภาษา 4. ประกาศนโยบายหญิงตั้งครรภ์รับบริการได้ทุกที่ 5. จัดจ้างจัดรายการวิทยุ รายการสุขภาพแม่ และเด็กไทย 6. ประชุมจัดทำบทความทางวิทยุ / จัดพิมพ์ 7. รณรงค์ฝากท้องเร็วพร้อมคู่ 1. ให้ความรู้โรงเรียนแม่พ่อ แก่กลุ่มเป้าหมาย ในสถานบริการ 2. เผยแพร่ด้วยสื่อท้องถิ่น ในวันสำคัญ 1. ให้ความรู้โรงเรียนแม่ พ่อ 2. เผยแพร่ด้วย สื่อท้องถิ่น ในวันสำคัญ
บทบาทหน้าที่ กิจกรรม ส่วนกลาง ศูนย์อนามัย จังหวัด 3. สนับสนุนภาคีเครือข่ายเพื่อการดำเนินงาน 1. ประชุมเพื่อแจ้งนโยบาย 2. สนับสนุนคู่มือ การดำเนินงาน 1. ตลาดแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อยกระดับสุขภาพแม่และเด็ก 1. ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 4. การกำกับ ติดตาม ประเมินผล 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ / คณะอนุกรรมการ 2. จัดประชุมคณะกรรมการ ฯนำเสนอความก้าวหน้า ปัญหา อุปสรรค ในการดำเนินงาน 1. ร่วมติดตาม ประเมินผล 1. ร่วมติดตามประเมินผล
โครงการ ส่งเสริมสุขภาพเด็กปฐมวัย วัตถุประสงค์ 1. ปกป้อง ส่งเสริม และสนับสนุนให้กลุ่มเด็กปฐมวัย ได้รับชุดสิทธิประโยชน์ หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า อย่างทั่วถึง และสร้างการเข้าถึงบริการอย่างเสมอภาค 2. พัฒนาคุณภาพบริการตามมาตรฐานคลินิกเด็กดีคุณภาพ (WCC คุณภาพ) 3. สร้างระบบในการดูแลสุขภาพเด็กปฐมวัย ให้เกิด การบูรณาการระหว่างหน่วยงานภาครัฐเอกชนและ ภาคประชาชน เพื่อเด็กเจริญเติบโต มีพัฒนาการสมวัย เป็นคนเก่ง คนดี และมีความสุข
โครงการ ส่งเสริมสุขภาพเด็กปฐมวัย ตัวชีวัด / ค่าเป้าหมาย : 1. คลินิกเด็กดีคุณภาพ (WCC คุณภาพ) ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 70 2. เด็กที่มีพัฒนาการไม่สมวัยได้รับการประเมินและแก้ไขพัฒนาการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
บทบาทหน้าที่ กิจกรรม ส่วนกลาง ศูนย์อนามัย จังหวัด 1. เร่งรัดทุกสถานบริการใช้ WCC คุณภาพ 1. การประชุมปรับมาตรฐาน WCC คุณภาพ 2. จัดอบรม WCC คุณภาพ เชิงปฏิบัติการทีมประเมิน ระดับเขต 3. สุ่มประเมิน และรับรองมาตรฐาน WCC คุณภาพ 4. อบรมเชิงปฏิบัติการวิทยาการนักส่งเสริมพัฒนาการเด็ก “องค์ความรู้พัฒนาการการส่งเสริม ประเมิน และแก้ไขพัฒนาการ” 5. ประชุมจัดทำหลักสูตรและคู่มือดำเนินงานโครงการดูแลสุขภาพเด็กแรกเกิด ถึง 5 ปีอย่างมีคุณภาพ 6. จัดซื้อ วัสดุอุปกรณ์ประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยให้ รพช. 1. ร่วมปรับมาตรฐาน 2. จัดอบรม เชิงปฏิบัติการ WCC คุณภาพให้แก่ทีมประเมินระดับจังหวัด 3. ประเมินมาตรฐาน WCC คุณภาพ และรายงานทาง E - mail 4. อบรมเชิงปฏิบัติการนักส่งเสริมพัฒนาการเด็ก “องค์ความรู้พัฒนาการ การส่งเสริม ประเมิน และแก้ไขพัฒนาการ” 2. ส่งทีมประเมินเข้ารับ การอบรม 3. อบรมให้ความรู้ WCC คุณภาพพัฒนาการเด็ก การประเมิน และแก้ไขพัฒนาการแก่ รพ.สต. 4. ประเมินตนเองตามมาตรฐาน WCC คุณภาพ และรายงานทาง E - mail 5. เร่งรัดให้คัดกรองและส่งเสริมพัฒนาในสถานบริการ ฯ 6. เด็กพัฒนาการล่าช้า ส่งต่อ ประเมิน และแก้ไขพัฒนาการ
บทบาทหน้าที่ กิจกรรม ส่วนกลาง ศูนย์อนามัย จังหวัด 2. สร้างการ มีส่วนร่วมชุมชนท้องถิ่นในการพัฒนาเด็กปฐมวัย 1. ประชุมปรับมาตรฐานตำบล นมแม่ และ รพ.สต.สายใยรักฯ คู่มือโรงเรียนปู่ ย่า ตา ยาย 2. สุ่มประเมินรับรองมาตรฐานตำบลนมแม่ 3. ติดตามงานเตรียมการเสด็จเยี่ยมพื้นที่ 1. ประชุมจัดทำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ตำบลโมเดล “ตำบล นมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว” 2. ประเมินตำบลนมแม่ ฯ 3. ติดตามงานเตรียมการเสด็จเยี่ยม 1. ประชุมปรับแผนที่ ฯตำบลนมแม่ ฯ 2. จัดเวทีชาวบ้านประชาคมแผนที่ ฯและกำหนดมาตรการสังคม 3. อบรม ปู่ ย่า ตา ยาย ดีเจน้อย 4. เตรียมรับเสด็จ
บทบาทหน้าที่ กิจกรรม ส่วนกลาง ศูนย์อนามัย จังหวัด 3. สร้างความรู้ความตระหนักในการส่งเสริมสุขภาพเด็กแรกเกิด - 2 ปี 1. จัดสื่อมวลชนเยี่ยม ตำบลนมแม่ ฯ 4 ภาค 2. เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ ทางโทรทัศน์ วิทยุ สิ่งพิมพ์ 3. เผยแพร่ทางเอกสารบันทึกสุขภาพ / จัดพิมพ์สมุด ฯ 5 ภาษา 4. จัดทำ Smart Card health 5. รณรงค์เด็กไทยสูงดีสมส่วน 1. ให้ความรู้โรงเรียน แม่ พ่อ แก่กลุ่มเป้าหมาย ในสถานบริการ 2. เผยแพร่ด้วยสื่อท้องถิ่นในวันสำคัญ 1. ให้ความรู้โรงเรียน ปู่ ย่า ตา ยาย 4. สนับสนุนภาคีเครือข่าย เพื่อการดำเนินงาน 1. ประชุมเพื่อแจ้งนโยบาย และรายละเอียดโครงการ ร่วมประชุม 5. การกำกับ ติดตามประเมินผล 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ /คณะอนุกรรมการ 2. ประชุมคณะกรรมการ ฯนำเสนอผลงาน 3. จัดทำโปรแกรมเฝ้าระวัง การเจริญเติบโตของเด็ก 1. รวมเป็นกรรมการ 2. รวบรวม วิเคราะห์ และรายงาน ตามแบบฟอร์มและนำเสนอรายเขต 1. ส่งผลการประเมินมาตรฐาน ฯ ทีมประเมินจังหวัด ทุกเดือนมายัง กลุ่มแม่และเด็ก / ศูนย์
โครงการโรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว วัตถุประสงค์ 1. สร้างเครือข่ายการพัฒนาสุขภาพแม่และเด็กจากสถานบริการสาธารณสุขสู่ครัวเรือน ชุมชน และสถานประกอบกิจการ 2. พัฒนาคุณภาพบริการตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว ตั้งแต่ ระยะก่อนตั้งครรภ์ ตั้งครรภ์ คลอด หลังคลอด การมีส่วนร่วมของชุมชน และผลลัพธ์สถานะสุขภาพแม่และเด็ก
โครงการโรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว ตัวชีวัด / ค่าเป้าหมาย : รพ.สายใยรักแห่งครอบครัวผ่านเกณฑ์ ระดับทอง ร้อยละ 95
บทบาทหน้าที่ ส่วนกลาง ศูนย์อนามัย จังหวัด 1. พัฒนาระบบบริการตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาล สายใยรักแห่งครอบครัว 1.1 ประชุม ปรับปรุงมาตรฐาน การประเมินโรงพยาบาล สายใยรัก ฯ จำนวน 1 ครั้ง 1.2 สุ่มประเมินโรงพยาบาล ฯ และติดตามความก้าวหน้า ผลงาน ฯ 1.3 สัมมนาทีมประเมิน โรงพยาบาลสายใยรัก แห่งครอบครัว 1.4 สัมมนาวิชาการอนามัยแม่ และเด็ก และประกาศ เกียรติคุณโรงพยาบาล สายใยรัก ฯ ระดับทอง 1. อบรมทีมประเมินโรงพยาบาล สายใยรักระดับจังหวัด ศูนย์ ๆ ละ 100 คน รวม 1,200 คน 2. สุ่มประเมินโรงพยาบาล สายใยรักแห่งครอบครัว และรับรองผล 3. คัดเลือกคณะกรรมการแม่ และเด็กดีเด่นเข้ารับประทานโล่ศูนย์ ฯ ละ 1 จังหวัด 4. แลกเปลี่ยนเรียนรู้โรงพยาบาลสายใยรัก ฯ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสายใยรัก ฯ 5. ร่วมสำรวจความครอบคลุมการให้บริการอนามัยแม่และเด็กตามชุดสิทธิประโยชน์ 1. จัดบริการอนามัยแม่และเด็ก ตามชุดสิทธิประโยชน์ฟรี 1.1 การบริการคลินิกฝากครรภ์ 1.2 ตรวจเลือดโดยเบิกค่าตรวจ ทางห้องปฏิบัติการ จาก สปสช. และให้การปรึกษา ตามชุดสิทธิประโยชน์ 1.3 การบริการที่คลินิกเด็กดี 2. จัดทำโครงการ / กิจกรรม ตามสภาพปัญหา และจัดระบบ การเยี่ยมติดตามมารดาและทารก หลังคลอดตามเกณฑ์ 3. สร้างกระแสสังคม และ ประชาสัมพันธ์กลุ่มเป้าหมาย รับบริการฟรีตามชุดสิทธิประโยชน์ 4. การให้ความรู้ผู้รับบริการระดับกลุ่มและบุคคลในสถานบริการตามเกณฑ์โรงเรียนพ่อ แม่
บทบาทหน้าที่ ส่วนกลาง ศูนย์อนามัย จังหวัด 1.5 สำรวจความครอบคลุม การให้บริการอนามัยแม่และ เด็กตามชุดสิทธิประโยชน์ 1.6 กราบทูลเชิญพระวรชายา ฯ เสด็จติดตามงานโรงพยาบาล ยะลา โรงพยาบาลสายใยรัก แห่งครอบครัวระดับทอง 1.7 รวบรวมผลงาน วิเคราะห์ และเขียนรายงาน 6. สรุป ส่งรายงายผล การดำเนินงานให้ กรมอนามัย ทุก 2 เดือน 5. จัดอบรมให้ความรู้บุคลากร อย่างน้อย 3 เรื่องการดูแลสตรี ตั้งครรภ์แนวใหม่ ฯ คลินิกเด็กดีคุณภาพ การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ 6. นิเทศติดตามงานในพื้นที่ 7. รายงานผลงานตามรายงาน เฉพาะกิจ ทางอีเล็กทรอนิกส์ และตรวจสอบความถูกต้องทุก 2 เดือน
โครงการตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว วัตถุประสงค์ 1. สร้างความรักและความผูกพันให้เกิดขึ้นในครอบครัวด้วยการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ 2. สร้างการมีส่วนร่วมของท้องถิ่น ชุมชน เพื่อปกป้อง ส่งเสริม สนับสนุนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ 3. สร้างเครือข่ายการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่จากสถานบริการ ฯสู่ครัวเรือนชุมชนและสถานประกอบการ 4. ขับเคลื่อนสังคมตำบลต้นแบบ “นมแม่เพื่อสายใยรัก แห่งครอบครัว”
โครงการตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว ตัวชีวัด / ค่าเป้าหมาย : อำเภอที่มีตำบลผ่านเกณฑ์ตำบลนมแม่ อย่างน้อย 1 แห่ง ร้อยละ 35
บทบาทหน้าที่ ส่วนกลาง ศูนย์อนามัย จังหวัด สร้างการมีส่วนร่วมชุมชน ท้องถิ่นในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่และการพัฒนาเด็กปฐมวัย 1. ประชุมเชิงปฏิบัติการ จัดทำหลักสูตรและคู่มือ ในการจัดทำแผนที่ ทางเดินยุทธศาสตร์ ตำบลนมแม่ ฯ ( 1 ครั้ง) 2. จัดทำคู่มือตำบลนมแม่ ฯ เกณฑ์ประเมิน ตำบลนมแม่ ฯ / รพ.สต. สายใยรักแห่งครอบครัว 1. ประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ตำบลนมแม่ฯให้แก่พื้นที่เป้าหมาย ฯ 2. กระตุ้นและร่วมในการจัดทำแผน ฯ และประชาคมแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ ตำบลนมแม่ ฯ 3. จัดทีมสุ่มประเมินตำบลนมแม่ ฯ / รพ.สต.สายใยรัก ฯ 1. สำรวจข้อมูล จัดทำแผนที่เดินดินและทุนสังคมของตำบลเป้าหมาย 2. การให้ความรู้ ปรับทัศนคตินมแม่ไม่ใช่แค่อาหาร แต่คือรากฐานการสร้างชีวิตคน 3. จัดทำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ตำบลนมแม่ ฯ และประชาคมแผน ฯ พร้อมจัดเวทีการปรึกษา หารือแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ตำบลนมแม่ ฯ เป็นระยะ
บทบาทหน้าที่ ส่วนกลาง ศูนย์อนามัย จังหวัด 3. สนับสนุนวิทยากรในการ 3. สนับสนุนวิทยากรในการ จัดทำแผนที่ทางเดิน ยุทธศาสตร์ตำบลนมแม่ ฯ 4. วางระบบข้อมูล และ การส่งต่อ เพื่อการส่งเสริม การเลี้ยงลูกด้วยนม - ประกาศเกียรติคุณตำบล นมแม่ ฯ / รพ.สต. สายใยรัก ฯ 4. รวบรวมข้อมูลตำบลนมแม่ ฯ /รพ.สต.สายใยรัก ฯ วิเคราะห์และรายงานส่วนกลาง ทุก 2 เดือน 5. สนับสนุนจังหวัดในการเตรียมความพร้อมเพื่อการรับเสด็จ ในการเยี่ยมติดตามงาน ตำบลนมแม่ ฯ 6. เสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ชมรมสายใยรัก ฯ ระดับจังหวัด 7. นิเทศติดตาม ผลการดำเนินงาน 8. สรรหาสมาชิกชมรม เพื่อเป็นปราชญ์นมแม่ 4. จัดทำทะเบียน และการเยี่ยมติดตามแม่ - ลูกหลังคลอดทางโทรศัพท์หรือเยี่ยมบ้าน 5. อบรมให้ความรู้แก่บุคคลากรทุกหน่วยบริการ 6. ประเมินตนเองตามมาตรฐานตำบลนมแม่ ฯ /รพ.สต.สายใยรัก ฯ พร้อมแจ้งทีมประเมินจังหวัดประเมินรับรอง 7. ทีมประเมินจังหวัดประเมิน /ตำบลนมแม่ ฯ / รพ.สต.สายใยรัก ฯ และแจ้งผล การประเมินให้ศูนย์อนามัย สุ่มประเมิน 8. สรุป และเผยแพร่ผลงาน
บทบาทหน้าที่ ส่วนกลาง ศูนย์อนามัย จังหวัด พัฒนาความรู้และสร้างกระแสสังคมทุนสมอง และทุนสังคมของ เด็กปฐมวัยไทย 1. ประชุมปฏิบัติการจัดทำหลักสูตร เอกสาร คู่มือในการอบรม บุคลากร อสม. ปราชญ์ กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน นักเรียน สมาชิก เทศบาลหรือ อบต. ปู่ ย่า ตา ยาย ผู้เลี้ยงดูเด็ก (1 ครั้ง) 2. ประชุม อปท. รวมพลังสร้าง เด็กไทยฉลาด และประกาศ เกียรติคุณตำบลนมแม่ ฯ (1 ครั้ง) 3. ประกวดสุดยอดแม่ - ลูกนมแม่ 4. ถอดบทเรียนปราชญ์นมแม่ เรียบเรียง จัดทำคู่มือเผยแพร่ ผลงาน 5. จัดทำสาระคดีตำบลนมแม่ ฯ เผยแพร่ทางสื่อ 1. จัดอบรม มิสนมแม่ ระดับจังหวัดอย่างน้อยโรงพยาบาลละ 1 คน 2. แลกเปลี่ยนเรียนรู้สมาชิกชมรมสายใยรัก แห่งครอบครัว 3. จัดนิทรรศการ เผยแพร่ความรู้สัปดาห์นมแม่โลก 4. ร่วมจัดประกวด แม่ - ลูกต้นแบบนมแม่ 1. คัดเลือกมิสนมแม่ อย่างน้อยโรงพยาบาลละ 1 คน เข้าอบรม 2. จัดอบรมการเป็นวิทยากรหลักสูตร อสม.นมแม่ เพื่อสายใยรัก ฯ (ครู ข) 3. จัดอบรม หลักสูตร อสม.นมแม่ เพื่อสายใยรัก ฯ ให้แก่ อสม. หมู่บ้านละ 1 คน 4. จัดรณรงค์รวมพลคนกินนมแม่ สัปดาห์นมแม่โลกเดือนสิงหาคม 5. ประกวดสุดยอดแม่ - ลูกนมแม่ 6. สรรหาปราชญ์นมแม่ 7. อบรมดีเจน้อยนมแม่ 8. ดีเจน้อยจัดรายการวิทยุชุมชนเสียงไร้สายตำบลนมแม่ 9. จัดรายการให้ความรู้นมแม่ โดยปราชญ์นมแม่ ฯ
บทบาทหน้าที่ ส่วนกลาง ศูนย์อนามัย จังหวัด สร้าง และพัฒนาระบบ ควบคุม กำกับ ติดตาม และประเมินผลโครงการ ฯ 1. ร่วมวิเคราะห์ชุมชน และ นำข้อมูลไปใช้ในการจัดทำ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ พัฒนาการดีเริ่มที่นมแม่ 2. จัดประชุมคณะกรรมการ ฯ เพื่อนำเสนอความก้าวหน้า ปัญหา อุปสรรค 3. วิจัยประเมินผลโครงการ ตำบลนมแม่ ฯ 4. กราบทูลเสด็จเยี่ยม ติดตามงานตำบลนมแม่ ฯ (7 ตำบล) 5. ประชุมภาคีเครือข่าย สานสายใยรัก ภาคเหนือ (1 ครั้ง / 400 คน) 6. ติดตามงานในพื้นที่ทรงงาน ฯ (9 จว.) 7. จัดนิทรรศการ นำเสนอ ผลงานในวันสำคัญต่าง ๆ 8. กราบทูลเสด็จเปิดศูนย์เรียนรู้ สายใยรักแห่งครอบครัว ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 1. ร่วมวิเคราะห์ชุมชน และ นำข้อมูลไปใช้ในการจัดทำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ตำบลนมแม่ 2. เข้าร่วมนำเสนอผลการดำเนินงานทุก 3 เดือน 3. ร่วมวิจัย ประเมินผลโครงการ 4. ศูนย์อนามัยที่ 5 นคราชสีมาเตรียมความเปิดศูนย์เรียนรู้บัวใหญ่ 1. สำรวจข้อมูลด้านประชากร เศรษฐกิจ สังคม สินทรัพย์ชุมชน ภูมิปัญญาท้องถิ่น สถานการณ์อนามัยแม่และเด็ก ก่อนเริ่มโครงการ 2. จัดทำแผนที่เดินดินของชุมชน 3. วิเคราะห์ชุมชนและนำข้อมูล ไปใช้ในการจัดทำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ตำบลนมแม่ ฯ 4. ร่วมวิจัย ประเมินผลโครงการ 1 เรื่อง 5. เตรียมความพร้อมในการรับเสด็จเยี่ยมติดตามงานตำบลนมแม่ ฯ 6. จังหวัดนครราชสีมา ติดตามความก้าวหน้าการก่อสร้างศูนย์เรียนรู้ พร้อมกำหนดวันเปิดศูนย์
โครงการปรับภารกิจการจัดการปัญหาเอดส์ โดยบูรณาการ การจัดการเชิงรุกและเครือข่ายการทำงาน ให้เข้าสู่กระบวนการกระจายอำนาจในจังหวัด ให้ครอบคลุมถ้วนทั่วกลุ่มเป้าหมายและส่งผลอย่างยั่งยืน (โครงการกองทุนโลก) วัตถุประสงค์ เพื่อจัดบริการด้านเอชไอวีที่ครบถ้วน และมีประสิทธิผลแก่เยาวชน พนักงานบริการชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชาย (รวมทั้งผู้ผ่าตัดทางเพศ) ผู้ต้องขัง ผู้ใช้สารเสพติด แรงงานข้ามชาติ และเด็กที่ได้รับผลกระทบจากเอดส์ และนำไปสู่การขยายผลและทำให้เกิดความยั่งยืน
บทบาทหน้าที่ ส่วนกลาง ศูนย์อนามัย จังหวัด โรงพยาบาล 1. ประชุมชี้แจงกับศูนย์อนามัย และสมาคมอนามัย 2. ประชุมผู้ทรงคุณวุฒิพัฒนาหลักสูตรเพื่อใช้อบรม / ประชุมชี้แจง บุคลากรสาธารณสุข ในการดูแลเด็กที่ได้รับผลกระทบจากเอดส์ และเอชไอวี 3. พัฒนาหลักสูตรการอบรม / ประชุมชี้แจง เพื่อใช้พัฒนาศักยภาพบุคลากรสาธารณสุข 1. ประชุมชี้แจง กับ สสจ.จังหวัดเป้าหมายในเขตรับผิดชอบ 2. เป็นกรรมการ และร่วมประชุมวางแผนดำเนินงานกับหน่วยงานภาคีเครือข่าย 3. เข้ารับการอบรมหลักสูตร TOT เรื่องการดูแลเด็ก เป็นรายบุคคล 1. ประชุมชี้แจง ให้กับ โรงพยาบาลชุมชน และ รพ.สต.เป้าหมาย 2. เป็นกรรมการ และร่วมประชุมวางแผนดำเนินงานกับหน่วยงานภาคีเครือข่าย ในจังหวัดรับผิดชอบ 3. เข้ารับการอบรมหลักสูตร TOT เรื่องการดูแลเด็กเป็นรายบุคคล 1. เข้ารับการอบรมหลักสูตร เรื่อง การดูแลเด็ก เป็นรายบุคคล 2. ผลักดันให้เกิด ระบบการดูแลเด็ก เป็นรายบุคคล ในโรงพยาบาล 3. จัดบริการดูแลเด็กที่ได้รับผลกระทบ จากเอดส์และเอชไอวี และเด็กทั่วไป ที่เข้ามารับบริการ ตามมาตรฐาน
บทบาทหน้าที่ ส่วนกลาง ศูนย์อนามัย จังหวัด โรงพยาบาล 4. จัดอบรมหลักสูตร TOT เรื่องการดูแลเด็กเป็นรายบุคคล 5. ผลิตสื่อ และสนับสนุนสื่อเอกสาร เพื่อให้ศูนย์อนามัยใช้ในการอบรมหลักสูตรต่างๆ 6. สนับสนุนงบประมาณให้ ศูนย์อนามัย 7. นิเทศติดตาม สนับสนุน การดำเนินกิจกรรม ตามแนวทางของกองทุนโลก 8. รวบรวม ตรวจสอบ และจัดทำระบบข้อมูลทั้งด้านกิจกรรม และด้านการเงิน 9. ร่วมเป็นคณะกรรมการยุทธศาสตร์ร่วมของโครงการดูแลช่วยเหลือเด็กที่ได้รับผลกระทบจากเอชไอวี / เอดส์ 4. จัดประชุม / อบรม หลักสูตรต่าง ๆให้กับบุคลากรสาธารณสุข 5. นิเทศติดตามสนับสนุน การดำเนินงาน ของโรงพยาบาล ทุกระดับ 6. รวบรวม ตรวจสอบความถูกต้อง และจัดทำรายงานข้อมูลโครงการส่งให้ส่วนกลาง ทุก 3 เดือน 4. ร่วมจัดประชุม / อบรมหลักสูตรต่างๆ ให้กับบุคลากรสาธารณสุข ในจังหวัดเป้าหมายกับศูนย์อนามัย 5. ร่วมนิเทศติดตามสนับสนุน การดำเนินงาน ของโรงพยาบาล ทุกระดับ 6. รวบรวม ตรวจสอบความถูกต้อง และจัดทำรายงานข้อมูลโครงการส่งให้ศูนย์อนามัยทุก 3 เดือน 4. จัดทำรายงานจำนวนเด็กที่เข้ามารับบริการในแต่ละแผนก ส่งให้ สสจ. ทุก 3 เดือน 5. ร่วมเป็นวิทยากร ในการอบรม อสม. และผู้ดูแลเด็ก (Day Care) ในตำบลเป้าหมาย
โครงการปรับภารกิจการจัดการปัญหาเอดส์ โครงการ ระบบบริการให้การปรึกษาแบบคู่ เพื่อตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวี สำหรับหญิงตั้งครรภ์และสามี วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนารูปแบบแนวทางการดำเนินงาน และขยายเครือข่ายบริการให้การปรึกษาแบบคู่สำหรับหญิงตั้งครรภ์และสามี ในโรงพยาบาล 2. เพื่อนิเทศติดตามประเมินผลการให้บริการแบบคู่เพื่อตรวจหาการติดเชื้อ เอชไอวี สำหรับหญิงตั้งครรภ์และสามี
บทบาทหน้าที่ กิจกรรม ส่วนกลาง ศูนย์อนามัย จังหวัด 1. ประชุมเชิงปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาสื่อความรู้ ต้นแบบเพื่อการดำเนินงาน การให้การปรึกษาแบบคู่เพื่อตรวจหาการติดเชื้อ เอชไอวี สำหรับหญิงตั้งครรภ์และสามี 1.1 ประชุม ทบทวน สื่อความรู้ อุปกรณ์ เครื่องมือ (2 ครั้ง) 1.2 ผลิตสื่อความรู้ อุปกรณ์ เครื่องมือต้นแบบ 1.1 ทดลองใช้สื่อความรู้ อุปกรณ์ เครื่องมือในสถานบริการสาธารณสุขทุกระดับ 2. การอบรมการให้การปรึกษาแบบคู่ เพื่อตรวจหา การติดเชื้อ เอชไอวี สำหรับหญิงตั้งครรภ์และสามี 2.1 อบรมการให้การปรึกษาแบบคู่ เพื่อตรวจหา การติดเชื้อเอชไอวี สำหรับหญิงตั้งครรภ์และสามี
บทบาทหน้าที่ กิจกรรม ส่วนกลาง ศูนย์อนามัย จังหวัด 3. ประชุมเชิงปฏิบัติพัฒนาแนวทางและหลักสูตรการฝึกอบรม เรื่องการให้การปรึกษาแบบคู่ เพื่อตรวจหาการติดเชื้อ เอชไอวี สำหรับกลุ่มประชากรทั่วไปและคู่ผลเลือดต่าง 3.1 ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อทบทวนหลักสูตร 3.1 การอบรมวิทยากร ผู้ให้การปรึกษา และผู้รับผิดชอบ การให้บริการในสถานบริการนำร่อง 4. นิเทศติดตามโรงพยาบาล ที่ให้บริการ ระดับจังหวัด โดยทีมนิเทศติดตามจากส่วนกลางและระดับเขตของศูนย์อนามัย จำนวน 2 แห่ง ส่วนกลางทำร่วมกับ ศูนย์อนามัย ร่วมกับส่วนกลาง 5. ประชุมปฏิบัติการเพื่อพัฒนาโครงการและเมินผลการจัดระบบบริการ การให้ปรึกษาแบบคู่ ส่วนกลางทำร่วมกับ ศูนย์อนามัย 6. ประชุมเชิงปฏิบัติการสรุปผล การนิเทศ ติดตาม ให้การปรึกษาแบบคู่ ส่วนกลางทำร่วมกับ ศูนย์อนามัย
โครงการ พัฒนาระบบกำกับติดตาม และประเมินผลการดำเนินงานการป้องกัน การถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาระบบควบคุมกำกับ และติดตามการดำเนินงานป้องกัน การถ่ายทอดเชื้อ เอชไอวี จากแม่สู่ลูก 2. เพื่อการส่งเสริมการใช้ประโยชน์ จากข้อมูลของระบบควบคุมกำกับ และติดตามการดำเนินงานป้องกัน การถ่ายทอดเชื้อ เอชไอวี จากแม่สู่ลูกในการพัฒนาระบบบริการให้มีประสิทธิภาพ
บทบาทหน้าที่ กิจกรรม ส่วนกลาง ศูนย์อนามัย จังหวัด 1. การพัฒนาระบบควบคุมกำกับ และติดตาม การดำเนินงานป้องกันการถ่ายทอดเชื้อ เอชไอวีจากแม่สู่ลูก 1.1 แต่งตั้งคณะกรรมการ 1.2 ประชุมคณะกรรมการระดับส่วนกลาง และศูนย์อนามัย 1.3 ประชุมเชิงปฏิบัติการคณะกรรมการระดับส่วนกลาง และศูนย์ ฯ 1.4 ประชุมคณะทำงาน เพื่อกำกับติดตาม 1.5 สนับสนุนวิชาการแก่ ศูนย์อนามัยเขต / จังหวัด ทำร่วมกับส่วนกลาง
บทบาทหน้าที่ กิจกรรม ส่วนกลาง ศูนย์อนามัย จังหวัด 2. นิเทศติดตามการใช้โปรแกรม PHIMS Version 3.1 และการใช้ประโยชน์จากข้อมูลระดับส่วนกลาง และระดับเขต 2.1 ประชุมคณะผู้นิเทศงานระดับส่วนกลาง เพื่อกำหนดประเด็น/ขอบเขตการนิเทศงาน 2.2 นิเทศติดตามการใช้โปรแกรมร่วมกับ ศูนย์อนามัยเป็นรายภาค จำนวน 4 แห่ง ทำร่วมกับส่วนกลาง 3. นิเทศติดตามการใช้โปรแกรม PHIMS Version 3.1 และการใช้ประโยชน์จากข้อมูลระดับจังหวัด 3.1 ประชุมคณะนิเทศงานระดับเขต / จังหวัด เพื่อกำหนดประเด็น/ขอบเขตการนิเทศงาน 3.2 นิเทศติดตาม การใช้โปรแกรม โดยศูนย์อนามัยร่วมกับจังหวัด จำนวน 1 ครั้ง ทำร่วมกับส่วนกลางและจังหวัด ทำร่วมกับศูนย์เขต
นพ.กิตติ ลาภสมบัติศิริ หัวหน้ากลุ่มอนามัยเด็กวัยเรียนและเยาวชน นพ.กิตติ ลาภสมบัติศิริ หัวหน้ากลุ่มอนามัยเด็กวัยเรียนและเยาวชน นางปนัดดา จั่นผ่อง งานพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร นางศศิวิมล ปุจฉาการ งานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ นางชนกานต์ ด่านวนกิจเจริญ งานเฝ้าระวังสุขภาพนักเรียน 1. สำรวจสภาวะสุขภาพเด็ก เยาวชน และอนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน ถิ่นทุรกันดาร 2. บริหารจัดการคุณภาพน้ำดื่มในโรงเรียน ตชด. และโรงเรียนปริยัติธรรม 3. อบรมครู และพระพี่เลี้ยงโรงเรียน พระปริยัติธรรมทั่วประเทศ 4. พัฒนาโรงเรียน กพด. เป็นโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ 1. โครงการประชุมวิชาการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพแห่งชาติสู่การพัฒนาเด็ก และเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร 2. โครงการพัฒนามาตรฐานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร 3. โครงการสัมมนาวิชาการโครงงานสุขภาพในการส่งเสริม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาสุขภาพและสภาพแวดล้อมในโรงเรียน 4. โครงการเสริมสร้างความรู้ด้านการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ในโรงเรียน 5. โครงการรวมพลังท้องถิ่นชุมชนสร้างเด็กไทยสุขภาพดี 1. โครงการพัฒนาระบบเฝ้าระวังสุขภาพด้วยตนเองของนักเรียน โดยใช้แบบบันทึกการตรวจสุขภาพด้วยตนเองสำหรับนักเรียน KPI : จำนวนเด็ก เยาวชนและ ประชาชนในพื้นที่เป้าหมาย เฉพาะได้รับบริการส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม 2,500 ราย KPI : โรงเรียนผ่านเกณฑ์โรงเรียนส่งเสริม สุขภาพระดับเพชร 154 แห่ง KPI : รูปแบบการเฝ้าระวังสุขภาพ ด้วยตนเองของนักเรียน เด็กไทย สูงใหญ่ สมองดี มีทักษะชีวิต
เด็กไทยสูงใหญ่ สมองดี มีทักษะชีวิต สิ่งที่ดำเนินการ พัฒนาโรงเรียนให้ได้มาตรฐาน สร้างการมีส่วนร่วมกับภาคีเครือข่ายอย่างเข้มแข็ง สร้างกระแสขับเคลื่อนสังคมและเสริมแรงจูงใจ พัฒนาองค์ความรู้เทคโนโลยีและนวตกรรม ความต้องการ มีนโยบายร่วมที่ชัดเจนและต่อเนื่อง มีการสนับสนุน งปม.ที่ชัดเจนและเพียงพอ มีการบูรณาการงานร่วมกันอย่างชัดเจน มีการพัฒนาบุคลากร ปัจจัยความสำเร็จ 1. เป็นการสนองงานตามพระราชดำริ 2. นโยบายสอดคล้องและเชื่อมโยงกับมาตรฐานการศึกษา 3. ผู้บริหาร ร.ร.ให้ความสำคัญและทีมงานเข้มแข็ง 4. ภาคีเครือข่ายสนับสนุนอย่างเข้มแข็ง 5. การประกาศเกียรติคุณและสร้างขวัญกำลังใจ เป้าหมาย 1. เด็กวัยเรียนอ้วนไม่เกิน 15% 2. เด็กวัยเรียนอายุ 6 - 12 ปี ส่วนสูงอยู่ในเกณฑ์ดีและสมส่วน ไม่น้อยกว่า 70 % 3. ร.ร.HPS เพชร ผ่านเกณฑ์ ฯ ใน ปี 58 เขตพื้นที่การศึกษาละ 2 แห่ง 4. เด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร เตี้ย ผอม ไม่เกิน 5 % 5. ร.ร.ในถิ่นทุรกันดารเป็นโรงเรียน ส่งเสริมสุขภาพ เด็กไทยสูงใหญ่ สมองดี มีทักษะชีวิต
โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ระดับเพชร
โครงการ/กิจกรรมดำเนินการ ปี 2556 สำนัก /กอง : ส่วนกลาง ศูนย์อนามัยร่วมกับจังหวัด 1. พัฒนามาตรฐานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร : จัดประชุมทบทวน , จัดทำคู่มือมาตรฐาน 1. ร่วมพัฒนามาตรฐานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร : เข้าร่วมประชุม นำคู่มือไปใช้ 2. สัมมนาวิชาการโครงงานสุขภาพ ในการส่งเสริม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาสุขภาพและสภาพแวดล้อมในโรงเรียน/ชุมชน สู่กระบวนการคิดเป็นทำเป็น เสริมสร้างสติปัญญา สมองดี (IQ , EQ) : จัดทำเกณฑ์ตัดสินโครงงานสุขภาพ 2. ประสานงาน คัดเลือก และ เสนอโครงงานสุขภาพ เข้าประกวด , เข้าร่วมสัมมนา 3. สุ่มประเมินรับรอง ประเมิน ประกวด ประกาศเกียรติคุณ 3. ประเมินและรับรองโรงเรียน และประกาศเกียรติคุณ
โครงการ/กิจกรรมดำเนินการ ปี 2556 สำนัก / กอง : ส่วนกลาง ศูนย์อนามัยร่วมกับจังหวัด 4. อบรมเสริมสร้างความรู้ในการให้บริการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนสำหรับบุคลากรสาธารณสุข และฝ่ายการศึกษา 4. ประสานโรงเรียน เขตพื้นที่ กศษ.และหน่วย สธ. ที่ดูแล ร.ร. เข้าอบรม 5. สัมมนารวมพลังท้องถิ่นชุมชน สร้างเด็กไทยสุขภาพดี (อปท.) 5. ประสาน อปท. เข้าร่วมสัมมนา
ตัวชี้วัดและการกระจายค่าเป้าหมายตามคำรับรองการปฏิบัติราชการกรมอนามัย ปี 2556 KPI : จำนวนโรงเรียนผ่านเกณฑ์มาตรฐานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร 154 แห่ง (จังหวัดละ 2 แห่ง)
โครงการส่งเสริมโภชนาการ และสุขภาพอนามัยเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร ตามแผนพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร ตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี
ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย ปี 2556 Output : จำนวนบุคลากร และประชาชน ในถิ่นทุรกันดารได้รับการพัฒนา ด้านการส่งเสริมสุขภาพ และ อนามัยสิ่งแวดล้อม 2,500 ราย Outcome : ร้อยละ 30 ของโรงเรียน ในถิ่นทุรกันดาร ผ่านเกณฑ์ โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับทอง Impact : ร้อยละ 70 ของเด็กและเยาวชน ในถิ่นทุรกันดารมีการเจริญเติบโต ตามเกณฑ์
โครงการ/กิจกรรมดำเนินการ ปี 2556 สำนัก / กอง : ส่วนกลาง ศูนย์อนามัยร่วมกับจังหวัด 1. กำหนดเป้าหมายการพัฒนา ด้านการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมโรงเรียนถิ่นทุรกันดาร 1. จัดอบรมพัฒนาศักยภาพแกนนำนักเรียน ครู ชุมชน และบุคลากรที่เกี่ยวข้องในการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมโรงเรียนในถิ่นทุรกันดาร 2. สำรวจสภาวะสุขภาพเด็กเยาวชนและอนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนถิ่นทุรกันดาร : ร.ร.ตชด., ร.ร.พระปริยัติธรรม, ร.ร.ปอเนาะ, ศศช. 2. ร่วมทำการสำรวจและเก็บข้อมูลภาคสนามโรงเรียนกลุ่มเป้าหมาย ในถิ่นทุรกันดาร (พค. - สค. 56) - ประเมินรับรองโรงเรียน ในถิ่นทุรกันดารตามมาตรฐาน โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ - ติดตามภาวะสุขภาพเด็กและ เยาวชนตามแบบรายงาน สสท.
โครงการ/กิจกรรมดำเนินการ ปี 2556 สำนัก / กอง : ส่วนกลาง ศูนย์อนามัยร่วมกับจังหวัด 3. พัฒนาคุณภาพน้ำดื่มใน รร.ตชด.นำร่อง กก.ตชด. 33 และโรงเรียนพระปริยัติธรรม 3. พัฒนาคุณภาพน้ำดื่มใน รร.ตชด.นำร่อง กก.ตชด.33 เชียงใหม่และโรงเรียนพระปริยัติธรรม 4 จว. 4. พัฒนาศักยภาพบุคลากร ในการดูแลสุขภาพสามเณรโรงเรียนพระปริยัติธรรมทั่วประเทศ (6 รุ่น : กพ. - เมย. 56) 4. ร่วมเป็นวิทยากรในการอบรมพัฒนาศักยภาพบุคลากร ในการดูแลสุขภาพสามเณรโรงเรียนพระปริยัติธรรมในเขตพื้นที่ ตลอดจนเป็นที่ปรึกษา ให้คำแนะนำ ดูแลช่วยเหลือ กำกับติดตาม และประเมินโรงเรียน พระปริยัติธรรมตามมาตรฐานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
โครงการ/กิจกรรมดำเนินการ ปี 2556 สำนัก / กอง : ส่วนกลาง ศูนย์อนามัยร่วมกับจังหวัด 5. จัดประชุมสร้างเครือข่ายการมี ส่วนร่วมกับท้องถิ่นชุมชนในการพัฒนาสุขภาพเด็กและเยาวชน ในถิ่นทุรกันดารโดยใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ 5. สร้างเครือข่ายขยายผลโรงเรียนด้านการมีส่วนร่วมกับท้องถิ่นชุมชนในการพัฒนาสุขภาพเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร โดยใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ 6. สัมมนาวิชาการการมีส่วนร่วม ในการพัฒนาสุขภาพเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร สำหรับองค์กรปกครองท้องถิ่น(อบต., เทศบาล) 6. ประสานความร่วมมือ และเข้าร่วมสัมมนาวิชาการการมีส่วนร่วม ในการพัฒนาสุขภาพเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร สำหรับองค์กรปกครองท้องถิ่น(อบต., เทศบาล)
เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับร้อยละของผลสำเร็จตามเป้าหมาย กรมอนามัย/ศอ. ตัวชี้วัดและการกระจายค่าเป้าหมายตามคำรับรองการปฏิบัติราชการกรมอนามัย ปี 2556 KPI : จำนวนบุคลากรและประชาชนในถิ่นทุรกันดารได้รับการพัฒนาด้านการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม 2,500 ราย เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับร้อยละของผลสำเร็จตามเป้าหมาย กรมอนามัย/ศอ. ข้อมูล ปี 2555 20 40 60 80 100 กรมอนามัย(ภาพรวม) 2,734 2,200 2,350 2,500 2,650 2,800 ศูนย์พัฒนาอนามัยพื้นที่สูง 729 470 485 500 515 530 ศูนย์อนามัยที่ 3 340 270 285 300 315 330 ศูนย์อนามัยที่ 4 343 170 185 200 215 230 ศูนย์อนามัยที่ 5 - 70 85 100 115 130 ศูนย์อนามัยที่ 6 82 + 170 185 200 215 230 ศูนย์อนามัยที่ 7 260 + 270 285 300 315 330 ศูนย์อนามัยที่ 9 68 170 185 200 215 230 ศูนย์อนามัยที่ 10 284 + 270 285 300 315 330 ศูนย์อนามัยที่ 11 140 70 85 100 115 130 ศูนย์อนามัยที่ 12 256 + 270 285 300 315 330 สำนักส่งเสริมสุขภาพ 232
นายแพทย์ชื่น เตชามหาชัย หัวหน้ากลุ่มอนามัยวัยทำงาน นายแพทย์ชื่น เตชามหาชัย หัวหน้ากลุ่มอนามัยวัยทำงาน โครงการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ (HPH) KPI : จำนวนโรงพยาบาลที่สมัครใจพัฒนาตนเองตามมาตรฐาน HPH (ฉบับปรับปรุงปี 2555) โครงการดูแลเฝ้าระวังสตรีไทยจากมะเร็งเต้านม KPI : ร้อยละของสตรีไทยอายุ 30 - 70 ปี ตรวจเต้านมด้วยตนเองไม่น้อยกว่า 80 % โครงการส่งเสริมสุขภาพวัยทอง KPI : สถานบริการสาธารณสุขทุกระดับมีบูรณาการส่งเสริมสุขภาพประชากรวัยทองกับบริการอื่น ๆ โครงการส่งเสริมสุขภาพในสถานประกอบการ กำลังศึกษารูปแบบที่เหมาะสม ในการดำเนินการ KSF : - องค์ความรู้ และทักษะการเยี่ยมประเมิน HPH ของผู้เยี่ยมประเมิน - การพัฒนามาตรฐาน HPH KSF : - องค์ความรู้ทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเองของสตรี - การเผยแพร่ BSE และกระตุ้นเตือนสตรีในชุมชนของ อสม. KSF : - เป้านโยบาย และได้รับการสนับสนุนอย่างต่อเนื่อง - บุคลากรได้รับการพัฒนาองค์รวมเรื่องการส่งเสริมสุขภาพวัยทอง - เครือข่ายการดำเนินงานที่เข้มแข็ง KSF : - เป็นนโยบาย - มีเครือข่ายการดำเนินงานที่เข้มแข็ง ความคาดหวัง - เป็นเจ้าภาพการจัด HPH นานาชาติ - ผลักดันการนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ เปิดให้โรงพยาบาลพัฒนาตนเองตามมาตรฐาน HPH อย่างต่อเนื่อง ความคาดหวัง - ผลักดันการนำนโนบายไปสู่การปฏิบัติเพื่อให้เกิดการอบรม อสม. เชี่ยวชาญด้านการตรวจเต้านมด้วยตนเองในระดับพื้นที่ - สนับสนุนให้มีระบบรายงานการดำเนินงานของกรมอนามัย เช่น BSE - สุ่มสำรวจสถานการณ์การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพของกรมอนามัยทุก 5 ปี ความคาดหวัง - ผลักดันเป็นโนบายระดับกรม - สนับสนุนงบประมาณในการดำเนินงาน
ประชากรวัยทำงานมีสุขภาพ สิ่งที่ดำเนินการ 1. จัดทำโครงการ และ KPI : โครงการหลัก 2. จัดทำมาตรฐานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ระดับสุขภาพ 3. บูรณาการงานต่าง ๆ 4. พัฒนาศักยภาพบุคลากร ปัจจัยความสำเร็จ - นโยบายที่ชัดเจน และต่อเนื่อง - การบูรณางานกับหน่วยงานอื่น - ระบบการติดตามประเมินผลต่อเนื่อง - การพัฒนาศักยภาพบุคลากรอย่างต่อเนื่อง - ความเข้มแข็งของภาคีเครือข่าย ความต้องการ 1. นโยบายที่ต่อเนื่อง 2. งบประมาณ (2.9) ขอสนับสนุนงบประมาณ 2.1 เป็นเจ้าภาพในการจัดการประชุม 2.1.1 เวทีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพระดับชาติ 2.1.2 เวทีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพนานาชาติ ในปี 2558 2.1.3 การอบรม อสม. เชี่ยวชาญ เพื่อให้เกิดการดำเนินงานให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ทั่วประเทศ สถานการณ์ - อัตราการตายด้วยมะเร็งเต้านม 7.7 : ประชากร 2 คน - สตรีมีการตรวจเต้านมตนเอง ร้อยละ 74.4 - ประชากรมีความรู้เรื่องวัยทอง - ชายวัยทอง ร้อยละ 7.4 - หญิงวัยทอง ร้อยละ 13.5 - ประชากรมีอาการวัยทอง - ชายวัยทอง ร้อยละ 13.5 - หญิงวัยทอง ร้อยละ 29.0 - ร้อยละโรงพยาบาลใน / นอกสังกัดกระทรวงสาธารณสุข มีกระบวนการเป็นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ 73.25 ประชากรวัยทำงานมีสุขภาพ
โครงการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนากระบวนการส่งเสริมสุขภาพของโรงพยาบาลให้ได้มาตรฐาน เป็นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพที่มีการบูรณาการ การดำเนินงานไปพร้อมกับการป้องกันโรค รักษาพยาบาล และฟื้นฟูสภาพควบคู่ไปกับกระบวนการพัฒนา และ รับรองมาตรฐานคุณภาพโรงพยาบาล และ การสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
โครงการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตัวชีวัด : จำนวนโรงพยาบาลที่สมัครใจพัฒนาตนเอง เป็นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพคุณภาพ ตามมาตรฐานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ปี 2555 เป้าหมาย : อย่างน้อยศูนย์อนามัยละ 2 แห่ง
กิจกรรม บทบาทหน้าที่ ส่วนกลาง ศูนย์อนามัย จังหวัด 1. พัฒนามาตรฐาน/คู่มือการดำเนินงานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ (ฉบับปรับปรุง) 1. จัดทำร่างเกณฑ์มาตรฐาน ฯ 2. จัดประชุมเพื่อพิจารณาปรับมาตรฐาน /คู่มือ ฯ จำนวน 2 ครั้ง และสรุปผลการประชุม ฯ 3. จัดทำรูปเล่มมาตรฐาน/คู่มือ ฯ 1. ร่วมพิจารณาปรับเกณฑ์มาตรฐาน ฯ 2. นำเกณฑ์ไปทดลองใช้ 3. ปรับแก้มาตรฐานฯ 4. ร่วมสรุปผลการประชุมพัฒนามาตรฐาน / คู่มือ ฯ ประสานงานกับโรงพยาบาลในพื้นที่ในการทดลองใช้มาตรฐานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพฉบับปรับปรุง 2. ผลิต / พัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการดำเนินงานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ 1. จัดทำหลักสูตร - ผู้เยี่ยมประเมิน ฯ - พัฒนา รพ.ส่งเสริม สุขภาพ 2. จัดอบรมตามหลักสูตร และสรุปผลเพื่อนำมาพัฒนาการปฏิบัติงาน 1. เข้าร่วมอบรมฯ 2. ประสานงานกับ สสจ.และ รพ.ในพื้นที่ เพื่อเข้ารับการอบรมและร่วมติดตามประเมินผล 3. นำความรู้ ทักษะ สู่การปฏิบัติ ประสานงานกับโรงพยาบาลในพื้นที่ในการเข้ารับ การอบรมตามหลักสูตร และการติดตามประเมินผล
กิจกรรม บทบาทหน้าที่ ส่วนกลาง ศูนย์อนามัย จังหวัด 3. สร้างภาคีเครือข่ายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ 1. เป็นหน่วยประสานภาคีเครือข่ายระดับ ชาติและนานาชาติ 2. ลงทะเบียนภาคีเครือข่ายนานาชาติ กับ WHO SERO 3. สร้างเครือข่าย สร้างเครือข่าย การดำเนินงานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ทั้งทางการประชุมและทาง WEB SITE ประสานงานกับโรงพยาบาลในพื้นที่เพื่อร่วมเป็นเครือข่ายการดำเนินงานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ 4. ประชุมเวทีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพระดับชาติครั้งที่ 10 วางแผน/แนวทางในการจัดประชุมฯ รวบรวมข้อมูลและจัดการประชุม 1. ร่วมจัดประชุมฯ 2. คัดเลือก Best Practice/นวัตกรรมเพื่อนำเสนอ ในการประชุม 1. จัดประชุม HPH ระดับเขต 2. คัดเลือก Best Practice/นวัตกรรมเพื่อนำเสนอ ในการประชุม 5. การพัฒนาและรับรองสถานบริการสาธารณสุข 1. กำหนดนโยบาย/ แนวทางการเยี่ยมประเมิน และพิจารณาตัดสิน 2. จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณาตัดสิน 3. บริหารจัดการระบบ การพิจารณา 4. จัดทำฐานข้อมูลโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ 1. เยี่ยมพัฒนา/ประเมินโรงพยาบาล 2. เป็นคณะกรรมการพิจารณาตัดสิน 3. จัดประชุมคณะกรรมการพิจารณาตัดสิน แจ้งผลการเยี่ยมประเมิน และส่งส่วนกลาง 4. รายงานผลการดำเนินงานส่ง กพร. 5. คัดเลือก Best Practice/นวัตกรรมการส่งเสริมสุขภาพ 1. ประสานงานโครงการระหว่างโรงพยาบาล และศูนย์อนามัย 2. ร่วมเป็นคณะกรรมการพิจารณาตัดสินฯ 3. รวบรวมข้อมูลโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพระดับจังหวัด
โครงการดูแลและเฝ้าระวังสตรีไทย จากมะเร็งเต้านม วัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมให้สตรีไทยตรวจเต้านม ด้วยตนเองอย่างถูกต้องและสม่ำเสมอ ตัวชีวัด / ค่าเป้าหมาย : สตรีมีการตรวจเต้านมด้วยตนเอง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
กิจกรรม บทบาทหน้าที่ ส่วนกลาง ศูนย์อนามัย จังหวัด 1. พัฒนาศักยภาพบุคลากรเพื่อเป็นวิทยากรในการเฝ้าระวังมะเร็ง เต้านม - จัดประชุมพัฒนาวิทยากรระดับจังหวัดและศูนย์อนามัยเขต - เป็นที่ปรึกษา และ ให้การสนับสนุน ด้านวิชาการ และสื่อ เอกสาร - ร่วมกับจังหวัดพัฒนาบุคลากรระดับอำเภอ (รพช. / สสอ.) และตำบล (รพสต.) - เป็นที่ปรึกษา และ ให้การสนับสนุน ด้านวิชาการ - จัดพัฒนาศักยภาพบุคลากร ระดับอำเภอและตำบล - เป็นที่ปรึกษาสนับสนุนวิชาการ - วิทยากรระดับอำเภอและตำบลจัดอบรม อสม.เชี่ยวชาญ เพื่อไปเผยแพร่ทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเอง 2. จัดกิจกรรมรณรงค์ สร้างกระแส ผลิต สนับสนุนสื่อ วัสดุ อุปกรณ์ และสนับสนุน ให้เกิดการรณรงค์ การตรวจเต้านม ด้วยตนเองทุกจังหวัด - จัดกิจกรรมรณรงค์ ในศูนย์อนามัย - สนับสนุนให้เกิดกิจกรรมรณรงค์ ให้จังหวัดที่รับผิดชอบ - สนับสนุนให้เกิดกิจกรรมรณรงค์ในสถานบริการสาธารณสุขจังหวัดและชุมชน 3. นิเทศ ติดตาม และสุ่มประเมิน ความถูกต้อง นิเทศ ติดตาม และสุ่มประเมินความถูกต้อง ของการตรวจเต้านม ด้วยตนเอง นิเทศ ติดตาม และสุ่มประเมินในเขตรับผิดชอบ นิเทศ ติดตาม สุ่มประเมินอำเภอ และตำบล ในพื้นที่รับผิดชอบ
โครงการส่งเสริมสุขภาพประชากรวัยทอง วัตถุประสงค์ : 1. เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ และศักยภาพบุคลากร ด้านการส่งเสริมและการดูแลสุขภาพประชากรวัยทอง 2. เพื่อสร้างเครือข่ายในการพัฒนางานส่งเสริมสุขภาพประชากรวัยทอง 3. เพื่อกำหนดแนวทางการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพประชากรวัยทอง
กิจกรรม บทบาทหน้าที่ ส่วนกลาง ศูนย์อนามัย จังหวัด 1. รวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องทั้งในและต่างประเทศ - กำหนดประเด็นความรู้ที่ต้องการรวบรวม - ติดต่อและประสานผู้เชี่ยวชาญเพื่อทบทวนองค์ความรู้ทั้งในและต่างประเทศ และรวบรวมข้อมูลองค์ความรู้ที่ได้เป็นรูปเล่ม - 2. ประชุมคณะกรรมการ ภาคีเครือข่ายการส่งเสริมสุขภาพ วัยทอง (3 ครั้ง) - จัดตั้งคณะกรรมการ ฯ - ประสานและเชิญผู้เข้าร่วมประชุม - ดำเนินการจัดประชุม - จัดทำข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย - เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการภาคีเครือข่ายการส่งเสริมสุขภาพวัยทอง 3. ประชุมวิชาการส่งเสริมสุขภาพประชากรวัยทอง จำนวน 200 คน - จัดประชุมวิชาการฯ - ประชาสัมพันธ์และเชิญหน่วยงานต่าง ๆ เข้าร่วมประชุม และสรุปผลการประชุม - เข้าร่วมประชุม - ประชาสัมพันธ์ การประชุมให้หน่วยงาน ในพื้นที่ทราบ เข้าร่วมประชุม 4. จัดพิมพ์แผ่นพับเผยแพร่ความรู้เรื่องการส่งเสริมสุขภาพประชากรวัยทอง - ทบทวนองค์ความรู้ฯ - ปรับปรุงและจัดทำต้นฉบับแผ่นพับ - จัดพิมพ์และจัดส่งแผ่นพับให้กับ ศูนย์อนามัยและสถานบริการ - เผยแพร่องค์ความรู้ให้กับ สสจ./ รพ.ในพื้นที่และประชาชนผู้รับบริการ - สสจ. เผยแพร่สื่อการดูแลสุขภาพประชากร วัยทองให้กับ รพ.ในพื้นที่และประชาชนผู้รับบริการ
กิจกรรม บทบาทหน้าที่ ส่วนกลาง ศูนย์อนามัย จังหวัด 5. จัดทำหลักสูตรการจัดอบรมบุคลากรด้านการส่งเสริมสุขภาพประชากรวัยทอง เพื่อเป็นครู ก - จัดทำร่างหลักสูตรการจัดอบรม ฯ - ร่วมร่างหลักสูตร การจัดอบรม ฯ - 6. พัฒนาเว็บไซต์ เพื่อประชาสัมพันธ์ องค์ความรู้ เรื่องวัยทอง - เพิ่มความรู้การดูแลสุขภาพประชากร วัยทอง - แลกเปลี่ยนเรียนรู้ การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพประชากรวัยทอง - พัฒนาเว็บไซด์ และประชาสัมพันธ์ไปยังหน่วยงานต่าง ๆ - ประชาสัมพันธ์เว็บไซด์ให้กับประชาชนผู้สนใจและหน่วยงานโรงพยาบาล รพสต. ในเขตพื้นที่รับผิดชอบ - ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพวัยทอง - ประชาสัมพันธ์เว็บไซด์ให้กับประชาชนผู้สนใจ - ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพวัยทอง
โครงการส่งเสริมสุขภาพประชากรวัยทำงาน ในสถานประกอบการ โครงการส่งเสริมสุขภาพประชากรวัยทำงาน ในสถานประกอบการ วัตถุประสงค์ : 1. เพื่อติดตามผลการดำเนินงานการส่งเสริมสุขภาพ ในสถานประกอบการแบบ Supply chain 2. เพื่อเผยแพร่ข้อมูล ข่าวสารการส่งเสริมสุขภาพ ในสถานประกอบการ 3. เพื่อสร้างเครือข่ายในการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ ในสถานประกอบการ
กิจกรรม บทบาทหน้าที่ ส่วนกลาง ศูนย์อนามัย 1. จัดพิมพ์และเผยแพร่แนวทางการดำเนินการส่งเสริมสุขภาพในสถานประกอบการ 1. จัดเตรียมต้นฉบับ 2. จัดพิมพ์/ส่งเอกสารให้กับ สสจ. เพื่อเผยแพร่ให้กับสถานประกอบการ - 2. พัฒนาเว็บไซต์ส่งเสริมสุขภาพประชากรวัยทำงานเพื่อเป็นศูนย์กลางในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 1. ประชาสัมพันธ์เว็บไซต์ผ่านช่องทางต่าง ๆ เช่น แผ่นพับ หนังสือราชการ การประชุม เป็นต้น 1. ประชาสัมพันธ์เว็บไซต์ผ่านช่องทางต่างๆ เช่น แผ่นพับ หนังสือราชการ การประชุม เป็นต้น 3. ประชุมเครือข่ายส่งเสริมสุขภาพในสถานประกอบการแบบ Supply chain 1. นิเทศติดตาม ประเมินผลการดำเนินการแบบ Supply chain 1. ร่วมกับ สสจ.ประชุมเครือข่าย ฯ 2. ร่วมกับ สสจ.จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 4. ประสาน การบูรณาการมาตรฐาน CSR - DIW 1. ประสาน กรมโรงงานอุตสาหกรรม ในการบูรณาการการส่งเสริมสุขภาพ ในสถานประกอบการ ในมาตรฐาน CSR - DIW
80 ปียังแจ๋ว สุขภาพดีมีมาตรฐาน (ผู้สูงอายุที่พึงประสงค์) สิ่งที่ดำเนินการ พัฒนาคน เตรียมพร้อม เพื่อก้าวสู่สังคมสูงอายุที่มีคุณภาพ พัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุให้ได้มาตรฐานเป็นที่ยอมรับทั้งในและต่างประเทศ พัฒนาคน เพื่อเป็นต้นแบบการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุระดับอาเซียน ความต้องการ การสนับสนุนจากผู้บริหารที่ชัดเจนและต่อเนื่อง งบประมาณที่เพียงพอ (ขณะนี้มีอยู่ 2.3 ล้านบาท ต้องการงบประมาณเพิ่มเติมอีก 15 ล้านบาท เพื่อดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ผู้สูงอายุ ภายใต้แผนผู้สูงอายุแห่งชาติ) การพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุในชุมชน และฐานข้อมูล 1 - 2 ฐาน นักวิชาการเพิ่มอีก 3 - 5 คน (ซึ่งขณะนี้มีนักวิชาการปฏิบัติงานจริง 3 คน พนักงานราชการ 1 คน) ปัจจัยความสำเร็จ ผู้บริหารทุกระดับให้ความสำคัญ นโยบายชัดเจน และต่อเนื่อง งบประมาณ และบุคลากรที่เพียงพอ มีการบริหารจัดการที่ดีทั้งส่วนกลางและระดับภูมิภาค ผู้สูงอายุจัดการสุขภาพตนเองได้ มีส่วนร่วมในกิจกรรมชุมชน ท้องถิ่น ภาคีเครือข่ายมีความเข้มแข็ง และให้ความร่วมมือ ระบบติดตาม ประเมินผล และการสื่อสารที่ดี สถานการณ์ พัฒนาทักษะ กาย และใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ผู้สูงอายุในชุมชนมีสุขภาพอนามัย ที่พึงประสงค์ > 30 % จำนวนอำเภอที่มีตำบลดูแลสุขภาพผู้สูงอายุผ่านเกณฑ์ > 20 % จำนวนอำเภอผ่านเกณฑ์ อำเภอ 80 ยังแจ๋ว อย่างน้อย 1 จังหวัด 1 อำเภอ จำนวนวัดส่งเสริมสุขภาพปลอดโรคผ่านเกณฑ์ระดับพื้นฐาน > 20 % 80 ปียังแจ๋ว สุขภาพดีมีมาตรฐาน (ผู้สูงอายุที่พึงประสงค์) อายุยืนนาน พึ่งตนเอง ช่วยสังคม 59
โครงการพัฒนา“อำเภอสุขภาพดี 80 ปียังแจ๋ว” วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากร และภาคีเครือข่าย การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ 2. เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยี วิชาการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ 3. เพื่อเชิดชูเกียรติผู้สูงอายุสุขภาพดีต้นแบบ และ ภาคีเครือข่ายที่มีผลการดำเนินงานดีเด่น 4. เพื่อเตรียมการรองรับระบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวโดยท้องถิ่น ชุมชนมีส่วนร่วม
โครงการพัฒนา“อำเภอสุขภาพดี 80 ปียังแจ๋ว” ตัวชีวัด / ค่าเป้าหมาย : จำนวนอำเภอที่เข้าร่วมกระบวนการ “อำเภอสุขภาพดี 80 ปี ยังแจ๋ว” 76 แห่ง (จังหวัดละ 1 อำเภอ)
กิจกรรม บทบาทหน้าที่ ส่วนกลาง ศูนย์อนามัย จังหวัด 1. พัฒนาบุคลากร จัดประชุม เข้าร่วมประชุม 2. พัฒนารูปแบบการบริหารจัดการ อำเภอ 80 ยังแจ๋ว - จัดทำคู่มือ - จัด Event ประชาสัมพันธ์ - จัดกิจกรรม เชิดชูเกียรติ ประสานกับจังหวัด ในการคัดเลือกผู้สูงอายุสุขภาพดีเด่นต้นแบบ 80 ปี 100 ปี ชีวีมีสุข ชมรมผู้สูงอายุดีเด่น และวัดส่งเสริมสุขภาพดีเด่น ร่วมกับศูนย์คัดเลือกผู้สูงอายุสุขภาพดีเด่นต้นแบบ 80 ปี 100 ปี ชีวีมีสุข ชมรมผู้สูงอายุดีเด่น และวัดส่งเสริมสุขภาพดีเด่น
กิจกรรม บทบาทหน้าที่ ส่วนกลาง ศูนย์อนามัย จังหวัด 3. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จัดประชุมและร่วมประชุม เข้าร่วมประชุม 4. จัดทำโล่/ใบประกาศเกียรติคุณ เชิดชูเกียรติการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ จัดทำโล่ / ใบประกาศเกียรติคุณ ประสานกับจังหวัดในการคัดเลือกองค์กร ที่ดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ร่วมกับศูนย์คัดเลือกองค์กรที่ดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ 5. ถอดบทเรียน พื้นที่ ๆ มีผล การดำเนินงานดีเด่น และ ผู้สูงอายุต้นแบบ ถอดบทเรียน ร่วมกับศูนย์และจังหวัด ร่วมถอดบทเรียน
โครงการเตรียมความพร้อมสู่วัยสูงอายุคุณภาพ ปี 2556 ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เก้าสัปดาห์สู่สุขภาพดี วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพผู้สูงอายุให้มีสุขภาพดีโดยผสมผสานมาตรฐานการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมทั้งสุขภาพกาย และจิต 2. เพื่อสร้างกระแสให้ผู้สูงอายุ ประชาชนทั่วไปตระหนักเห็นความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพอย่างต่อเนื่อง เพื่อเตรียมความพร้อมเป็นผู้สูงอายุที่มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีอายุยืนยาวอย่างมีศักดิ์ศรี
กิจกรรม บทบาทหน้าที่ ส่วนกลาง ศูนย์อนามัย จังหวัด ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 9 สัปดาห์สู่สุขภาพดี - ประชุมปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพนักวิชาการและผู้เกี่ยวข้องเพื่อเป็นครู ก - จัดทำคู่มือแนวทาง การดำเนินงานการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ฯ 1. ดำเนินการจัดประชุม 2. จัดทำคู่มือแนวทาง การดำเนินงาน การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ฯ 3. นิเทศติดตามผล 1. ร่วมประชุม 2. ศูนย์อนามัยเขตดำเนินกิจกรรม เก้าสัปดาห์สู่ สุขภาพดี ร่วมดำเนินงาน
โครงการพัฒนาวัดส่งเสริมสุขภาพปลอดโรค ปี 2556 โครงการพัฒนาวัดส่งเสริมสุขภาพปลอดโรค ปี 2556 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อจัดทำเกณฑ์วัดส่งเสริมสุขภาพปลอดโรค และคู่มือการดำเนินงานสื่อต่าง ๆ 2. พัฒนาองค์ความรู้แก่บุคลากรแกนนำในการขับเคลื่อนวัดส่งเสริมสุขภาพปลอดโรค 3. ออกแบบเครื่องมือในการประเมินความพึงพอใจ และการติดตามผล ตัวชี้วัด / ค่าเป้าหมาย ร้อยละวัดส่งเสริมสุขภาพ/ปลอดโรคผ่านเกณฑ์ระดับพื้นฐาน: ร้อยละ 20
กิจกรรม บทบาทหน้าที่ ส่วนกลาง ศูนย์อนามัย จังหวัด 1. ประชุมพิจารณา จัดทำเกณฑ์วัดส่งเสริมสุขภาพ (ฉบับปรับปรุงใหม่) 1. จัดประชุม 2. จัดทำคู่มือการดำเนินงาน / แผ่นพับวัดส่งเสริมสุขภาพ (ฉบับปรับปรุงใหม่) ร่วมประชุม 2. จัด Event เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ การดำเนินงานวัดส่งเสริมสุขภาพ (ฉบับปรับปรุงใหม่) จัดงานประชาสัมพันธ์
โครงการพัฒนาระบบการดูแลสุขภาพ ผู้สูงอายุระยะยาวโดยชุมชนเป็นฐาน โครงการพัฒนาระบบการดูแลสุขภาพ ผู้สูงอายุระยะยาวโดยชุมชนเป็นฐาน วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาระบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว โดยชุมชนเป็นฐาน 2. เพื่อพัฒนาระบบบริการและการบริหารจัดการที่เหมาะสมตามบริบทของพื้นที่ 3. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุและชุมชนพึ่งตนเอง จัดการดูแลสุขภาพตนเองและผู้สูงอายุในชุมชนได้ 4. ขยายผลการดำเนินงานสู่พื้นที่ข้างเคียง เพื่อรองรับสังคมผู้สูงอายุที่มีคุณภาพ
โครงการพัฒนาระบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวโดยชุมชนเป็นฐาน ตัวชีวัด / ค่าเป้าหมาย : จำนวนอำเภอที่มีตำบลผ่านเกณฑ์ ตำบลดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว : 175 แห่ง
กิจกรรม บทบาทหน้าที่ ส่วนกลาง ศูนย์อนามัย จังหวัด 1. สำรวจข้อมูล สถานการณ์ ของผู้สูงอายุและชุมชน 2. จัดประชุมเวทีประชาคมชี้แจง การดำเนินงานโครงการ 3. ประชุมพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ / ผู้ดูแลผู้สูงอายุในชุมชน 4. สนับสนุนสื่อคู่มือ องค์ความรู้วิชาการ การดูแลผู้สูงอายุในชุมชน 5. นิเทศติดตามผลการดำเนินงาน 1. จัดประชุมเวทีประชาคม 2. ประชุมพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ / ผู้ดูแลผู้สูงอายุในชุมชน 3. นิเทศติดตาม ร่วมดำเนินการ
หฟกฟหกฟหก 71 71 71