สถานการณ์ และข้อมูลเกี่ยวกับ Ebola และ MERS COV
อีโบล่า Ebola viral disease
Nigeria
สถานการณ์ในต่างประเทศ 5
โรคอีโบล่า คือ โรคติดเชื้อไวรัสชนิดเฉียบพลันและรุนแรง จากเชื้อไวรัสอีโบลา ซึ่งมี 5 สายพันธุ์ 1.สายพันธุ์ไอวอรีโคสต์ 2.สายพันธุ์ซูดาน 3.สายพันธุ์ซาร์อี 4.สายพันธุ์เรสตัน 5.สายพันธุ์บันดิบูเกียว สายพันธุ์ซูดาน สายพันธุ์ซาร์อี และสายพันธุ์ บันดิบูเกียว เกิดการระบาดของอัตราป่วยตายประมาณ ร้อยละ 25-90 สายพันธุ์ไอวอรีโคสต์ และสายพันธุ์เรสตัน ไม่ทำให้เกิดอาการรุนแรง และยังไม่มีรายงานการเสียชีวิต
ระยะฟักตัว - อาการ ระยะฟักตัวประมาณ 2 - 21 วัน อาการ ตับ/ไตวาย ไข้สูงทันทีทันใด อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ ปวดกล้ามเนื้อ เจ็บคอ อาเจียน ท้องเสีย และมีผื่นนูนแดงตามตัว เลือดออกง่าย ภายในและภายนอกร่างกาย ตับ/ไตวาย อาการระรบบประสาทส่วนกลาง เสียชีวิต
การแพร่โรค วิธีการแพร่โรค : สัตว์สู่คน สัมผัสโดยตรงกับเลือด วิธีการแพร่โรค : สัตว์สู่คน สัมผัสโดยตรงกับเลือด หรือเครื่องในของสัตว์ติดเชื้อ รับประทานผลไม้เหลือ จากสัตว์ติดเชื้อ คนสู่คน สัมผัสโดยตรงกับคน/ศพ ที่ติดเชื้อ สารคัดหลั่ง นํ้าอสุจิ อุจจาระ ปัสสาวะ เลือด นอกจากนี้ เข็มและหลอดฉีดยาที่ปนเปื้อนเชื้อ
การรักษา การรักษา: ไม่มียารักษาจําเพาะ ไม่มีวัคซีน การรักษา: ไม่มียารักษาจําเพาะ ไม่มีวัคซีน Zmapp และวัคซีน อยู่ในขั้นทดลอง
มาตรการป้องกันและเฝ้าระวังโรค มาตรการป้องกัน 1. เฝ้าระวังผู้ป่วยโดยเฉพาะกลุ่มนักท่องเที่ยวต่างชาติหรือคนไทยที่เดินทางมาจากพื้นที่ที่มีการระบาดของโรค หากพบผู้ป่วยมีอาการอยู่ในข่ายสงสัยให้รายงานทันที 2.เฝ้าระวังประเมินสถานการณ์อย่างใกล้ชิด และเน้นด่านควบคุมโรคของสนามบินที่มาจากภายนอกประเทศ ดอนเมือง สุวรรณภูมิ เชียงใหม่ สงขลา และภูเก็ต 3.ดําเนินมาตรการเฝ้าระวังบริเวณด่านชายแดน หรือจุดผ่านแดนระหว่างประเทศที่อาจมีผู้เดินทางมาจากประเทศที่เกิดการระบาด และมีอาการสงสัยโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลาประเทศ กินี เซียร่าลิโอน ไลบีเรีย ที่เดินทางออกนอกประเทศมาแล้วมาแล้วไม่เกิน21วัน ได้แก่มีไข้สูง อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ ปวดกล้ามเนื้อ เจ็บคอ อาเจียน ท้องเสีย และมีผื่นนูนแดงตามตัว
มาตรการป้องกันโรค (ต่อ) 4.เจ้าหน้าที่ด้านควบคุมโรคในสัตว์ป่าดําเนินมาตรการเฝ้าระวังโรคในสัตว์ป่าที่นําเข้ามาจากประเทศที่มีการระบาดของโรคอย่างใกล้ชิด 5.เข้มงวดระบบป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาลทุกแห่งและเตรียมความพร้อมระบบIC (Infection Control) 6.เปิดศูนย์ให้คำปรึกษาทางด้านการแพทย์24 ชั่วโมงโดยกรมการแพทย์ 7.เตรียมซักซ้อมระบบสื่อสารความเสี่ยงกับประชาชนให้ตื่นตัวแต่ไม่ตื่นตระหนกโดยสำนักระบาดวิทยาเตรียมคู่มือเพื่อแจกให้ประชาชน 8.ใช้สื่อสังคมออนไลน์อย่างระมัดระวัง 9.ระบบการตรวจห้องปฏิบัติการเข้มงวดการเก็บตัวอย่างและตรวจอย่างรัดกุมมีระบบป้องกันเชื้อขั้นสูงสุด 10.กระทรวงสาธารณสุขติดตามสถานการณ์ประสานงานกับกรมควบคุมโรคอย่างใกล้ชิดหากพบผู้ป่วยต้องยกระดับwarroomกระทรวง
MERS-Cov virus
สถานการณ์ในต่างประเทศ 15
WHO information US CDC information
สถานการณ์ในประเทศไทย 20 เมษายน 1 สิงหาคม 2557 สำนักระบาดวิทยา ได้รับแจ้งผู้ป่วยเข้าข่ายเฝ้าระวัง 24 ราย จาก 9 จังหวัด ยังคงไม่พบผู้ป่วยยืนยัน
MERS-COV virus คือ เชื้อไวรัสชนิดโคโรนาไวรัสสายพันธุ์ใหม่ มีลักษณะคล้ายกับไวรัสที่ทำให้เกิด SARS ตรวจพบครั้งแรกในตะวันออกกลางช่วงกันยายน 2555
อาการ/การติดต่อ อาการ การติดต่อ เชื้อในน้ำมูกน้ำลายผู้ป่วย มีไข้สูงไอ หายใจหอบ หายใจขัด ถ่ายเหลว เสียชีวิต 3 -4 สัปดาห์ การติดต่อ เชื้อในน้ำมูกน้ำลายผู้ป่วย droplet, direct contact
การรักษา ไม่มีการรักษาเฉพาะ รักษาตามอาการ/ประคับประคอง โดยเฉพาะด้านระบบหายใจ