ประชุมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาระบบบริการอนามัยแม่และเด็ก ปีงบประมาณ ๒๕๖๐ วันที่ ๑๔ กรกฎาคม ๒๕๖๐ ณ ห้องประชุมสำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองยโสธร
วาระการประชุม วาระที่ ๑ แจ้งให้ทราบ -โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิมพระเกียรติสมเด็จ พระเทพ ฯ ระหว่างวันที่ ๑๗-๒๑ กรกฎาคม ๖๐ -นโยบายการพัฒนาตำบลส่งเสริมสุขภาพเด็ก ๐-๕ ปี สูงดีสมส่วน ฟันไม่ผุ พัฒนาการสมวัย วาระที่ ๒ แนวทางการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็กปี 60 -การรณรงค์คัดกรองพัฒนาการเด็กปฐมวัย ๔ ช่วงวัย - การพัฒนาคลินิก ฝากครรภ์ และคลินิกเด็กดี ใน รพสต. วาระที่ ๓ อื่นๆ
โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพฯ (ปีที่ 3) การรณรงค์ตรวจคัดกรองพัฒนาการเด็กปฐมวัย 9 เดือน 18 เดือน 30 เดือน 42 เดือน เลือกพื้นที่ สสจ.นิเทศ ระหว่างวันที่ 17-21 กรกฎาคม 2560 เป้าหมาย : ดาว์โหลดจาก HDC ,Line ,ข่าวประกาศ สสอ.เมืองยโสธร ดำเนินการตรวจคัดกรองกลุ่มเป้าหมาย : 17-21 กรกฎาคม 2560 รายงาน : ตามแบบฟอร์มรายงาน (ข่าวประกาศ สสอ.) ภายใน 21 กรกฎาคม 2560 ทาง HDC ภายใน 30 กรกฎาคม 2560
การบันทึกข้อมูล 1.บันทึกข้อมูลใน HosXP_PCU และส่งออกตามระบบ 2.ข้อมูลจะขึ้นใน HDC หลัง 24 ชม. 3.เข้าระบบ HDC เพื่อบันทึก Social Risk (มีไฟล์ วิธีการให้หน้าข่าว สสอ.) 4.ตรวจสอบผลงานของ รพ.สต.ผ่าน HDC
จัดการอย่างไร ?? ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก : รร.ท.3 : รร.อนุบาลทองขาว : รร.อนุบาลเพชรน้ำหนึ่ง / พรเพชร : รร.อนุบาลยโสธร
Routine Monitor & Evaluation ตรวจสอบกลุ่มเป้าหมาย ตรวจคัดกรองพัฒนาการ กลุ่มเป้าหมาย บันทึกข้อมูลกลุ่มเป้าหมาย ตามห้วงเวลา
ช่วงวันที่ที่ต้องคัดกรอง hospcode pid cid NAME LNAME sex birth agemonth areacode typearea ช่วงวันที่ที่ต้องคัดกรอง วันที่คัดกรองครั้งแรก รหัสคัดกรองครั้งแรก 3833 15951 1350102017463 ฐิตารีย์ ขันตี 2 11/8/2013 42 35011010 1 2017-02-11 - 2017-03-10 15956 1350102018001 กานต์พิชชา ชูรัตน์ 16/8/2013 35011009 2017-02-16 - 2017-03-15 15963 1350102018346 ชลดา คำสิงห์ 21/8/2013 35011011 2017-02-21 - 2017-03-20 15966 1350102018869 นันทิชา หนูจิตร์ 27/8/2013 35011004 2017-02-27 - 2017-03-26 21/3/2017 1B260 15967 1350102018923 ปวันรัตน์ ไชยมาตย์ 35011001 15968 1350102018877 พัฒนพงษ์ ใจดี 26/8/2013 35011007 2017-02-26 - 2017-03-25 16111 1350102046323 ธนากร จันดารักษ์ 26/8/2014 30 16197 1350102071654 ธิดารัตน์ สุวรรณเพ็ชร 13/8/2015 18 35011005 2017-02-13 - 2017-03-12 16202 1350102072359 อติวิทย์ หมั้นคง 25/8/2015 35011002 2017-02-25 - 2017-03-24 16203 1350102072162 ณัฐชยา ทุมวรรณ 22/8/2015 2017-02-22 - 2017-03-21 16267 1102004750097 กันตพิชญ์ ภูมิดี 8/5/2016 9 2017-02-08 - 2017-03-07 16269 1100202199409 พงศ์สวัสดิ์ 23/5/2016 2017-02-23 - 2017-03-22 17/3/2017 16271 1350102093721 ธนพัฒน์ อินทร์นอก 25/5/2016 35011008 16274 1350102093712 ธีรวัฒน์ บุญสุข 21/5/2016 35011003
การพัฒนาคลินิกเด็กดี และคลินิกฝากครรภ์ ใน รพสต. การพัฒนาคลินิกเด็กดี และคลินิกฝากครรภ์ ใน รพสต. มาตรฐาน....ตามไฟล์ที่ข่าวประกาศ สสอ. 1.การตรวจพัฒนาการเด็ก แลกเปลี่ยนเรียนรู้ (ช่วง 17-21 ก.ค.) โซน 1 : ตาดทอง โซน 3 : ห้องข่า โซน 5 : ดอนกลอย โซน 2 : โนนค้อ โซน 4 : ดู่ทุ่ง / คำฮี 2.การประเมินภาวะโภชนาการเด็ก
ประเมินการเจริญเติบโต ชั่งน้ำหนัก วัดความยาว/ส่วนสูง แปลผล พญ.นภาพรรณ วิริยะอุตสาหกุล ผู้อำนวยการสำนักโภชนาการ
เทคนิค การชั่งน้ำหนัก และ วัดส่วนสูง พญ.นภาพรรณ วิริยะอุตสาหกุล ผู้อำนวยการสำนักโภชนาการ
การเตรียมเครื่องชั่งน้ำหนัก เด็กก่อนวัยเรียน ให้ใช้เครื่องชั่งน้ำหนักที่มี ความละเอียด 0.1 กิโลกรัม พญ.นภาพรรณ วิริยะอุตสาหกุล ผู้อำนวยการสำนักโภชนาการ
2. ตรวจสอบเครื่องชั่งน้ำหนักให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน ก่อนทำการชั่งทุกครั้ง พญ.นภาพรรณ วิริยะอุตสาหกุล ผู้อำนวยการสำนักโภชนาการ
4. ควรใช้เครื่องชั่งเดิมทุกครั้งในการติดตามการเจริญเติบโต 3. วางเครื่องชั่งน้ำหนักอยู่บนพื้นราบ มีแสงสว่างเพียงพอสำหรับการอ่านตัวเลข และปรับให้เข็มอยู่ที่เลข 0 ทุกครั้งที่มีการใช้งาน 4. ควรใช้เครื่องชั่งเดิมทุกครั้งในการติดตามการเจริญเติบโต พญ.นภาพรรณ วิริยะอุตสาหกุล ผู้อำนวยการสำนักโภชนาการ
อ่านค่าให้ละเอียดมีทศนิยม 1 ตำแหน่ง เช่น 10.6 กิโลกรัม วิธีการชั่งน้ำหนัก ถอดเสื้อผ้าที่หนาๆออก ให้เหลือเท่าที่จำเป็น รวมทั้งถอดรองเท้าและถุงเท้า นำสิ่งของออกจากตัว ถ้าใช้เครื่องชั่งน้ำหนักแบบยืนที่มีเข็ม ผู้ที่อ่านค่าน้ำหนักจะต้องอยู่ในตำแหน่งตรงกันข้ามกับเด็ก ไม่ควรอยู่ด้านข้างทั้งซ้ายหรือขวาเพราะจะทำให้อ่านค่าน้ำหนักมากไปหรือน้อยไปได้ อ่านค่าให้ละเอียดมีทศนิยม 1 ตำแหน่ง เช่น 10.6 กิโลกรัม พญ.นภาพรรณ วิริยะอุตสาหกุล ผู้อำนวยการสำนักโภชนาการ
การวัดส่วนสูงของเด็ก เด็กอายุต่ำกว่า 2 ปี ให้นอนวัด เรียกว่า วัดความยาว เด็กอายุ 2 ปีขึ้นไป ให้ยืนวัด เรียกว่า วัดส่วนสูง พญ.นภาพรรณ วิริยะอุตสาหกุล ผู้อำนวยการสำนักโภชนาการ
การเตรียมเครื่องวัดความยาว/ส่วนสูง ตัวเลขมีความละเอียด 0.1 เซนติเมตร และเรียงต่อกัน มีไม้ฉากสำหรับวัดค่าความยาว/ส่วนสูง พญ.นภาพรรณ วิริยะอุตสาหกุล ผู้อำนวยการสำนักโภชนาการ
วิธีการวัดความยาว 4. อ่านค่าให้ละเอียด มีทศนิยม 1 ตำแหน่ง เช่น 120.4 เซนติเมตร 3. เลื่อนไม้วัดส่วนที่ใกล้เท้าให้มาชิดกับปลายเท้าและส้นเท้าที่ตั้งฉากกับพื้น 1. ถอดหมวก รองเท้า 2. นอนในท่าขาและเข่า เหยียดตรงส่วนศีรษะชิด กับไม้วัดที่ตั้งฉากอยู่กับที่ พญ.นภาพรรณ วิริยะอุตสาหกุล ผู้อำนวยการสำนักโภชนาการ
เครื่องวัดความยาว รพ.สต.
วิธีการวัดส่วนสูง อ่านค่าส่วนสูง ระดับสายตา ท่าศีรษะและเท้าที่ถูกต้อง เครื่องวัดส่วนสูง ไม้ฉาก ศีรษะชิด เครื่องวัดส่วนสูง หลังชิด เครื่องวัดส่วนสูง ท่าศีรษะและเท้า ไม่ถูกต้อง ก้นชิดเครื่องวัดส่วนสูง เข่าชิด เข่าตรง ส้นเท้าชิดเครื่องวัดส่วนสูง ถอดรองเท้า ถุงเท้า และยืนบนพื้นราบ พญ.นภาพรรณ วิริยะอุตสาหกุล ผู้อำนวยการสำนักโภชนาการ
พญ.นภาพรรณ วิริยะอุตสาหกุล ผู้อำนวยการสำนักโภชนาการ
เครื่องวัดส่วนสูง รพ.สต. พญ.นภาพรรณ วิริยะอุตสาหกุล ผู้อำนวยการสำนักโภชนาการ
ดัดแปลง ประหยัดงบประมาณ
การพัฒนาคลินิกเด็กดี และคลินิกฝากครรภ์ ใน รพสต. การพัฒนาคลินิกเด็กดี และคลินิกฝากครรภ์ ใน รพสต. 3.คลินิกฝากครรภ์ 3.2) การพัฒนาศักยภาพ จนท. วิชาการพอ? ทักษะพร้อม ? ฯลฯ 3.1) ระบบให้บริการ ANC ครั้งแรก ? (ที่ใด อย่างไร) การส่งต่อ (ไป/กลับ) การขอคำปรึกษา การบันทึกข้อมูลการให้บริการ ฯลฯ 3.3) วัสดุ อุปกรณ์ มี พร้อมใช้? มาตรฐาน ? (Cal) ฯลฯ
(เชิญทุกท่านเข้าร่วม) การสื่อสาร Line -พัฒนาการเด็ก -เมืองรักเด็ก (เชิญทุกท่านเข้าร่วม)