การบริหารจัดเก็บภาษีสินค้ายาสูบ
สินค้าที่ต้องเสียภาษีตามพระราชบัญญัติยาสูบ พุทธศักราช 2509 สินค้ายาสูบประกอบด้วย 2 ประเภท คือ 1. ยาเส้น 2. ยาสูบ ได้แก่ 2.1 ซิกาแรต 2.2 ซิการ์ 2.3 บุหรี่อื่น 2.4 ยาเส้นปรุง 2.5 ยาเคี้ยว 2
ผู้มีหน้าที่เสียภาษียาสูบ คือ 1. ผู้ประกอบอุตสาหกรรมยาสูบ 2. ผู้นำเข้ายาเส้นหรือยาสูบ
จุดความรับผิดในการชำระค่าแสตมป์ยาสูบ (Tax point) ในประเทศ นำเข้า ชำระค่าแสตมป์ยาสูบและปิดแสตมป์ยาสูบ ก่อนนำออกจากโรงอุตสาหกรรม ชำระค่าแสตมป์ยาสูบ และปิดแสตมป์ยาสูบก่อนรับมอบจากเจ้าพนักงานศุลกากร 4
อัตราที่เก็บปัจจุบัน อัตราค่าแสตมป์ยาสูบ เมื่อวันที่ 22 ส.ค. 2555 กระทรวงการคลังได้ออกกฎกระทรวง กำหนดอัตราค่าแสตมป์ยาสูบ พ.ศ.2555 ปรับเพิ่มอัตราค่าแสตมป์ยาสูบ อัตราค่าแสตมป์ยาสูบ รายการ อัตราเดิม อัตราที่เก็บปัจจุบัน มูลค่า (ร้อยละ) ปริมาณ ยาเส้น 0.1 0.01 บาท/10 กรัม 10 0.01 บาท/กรัม ยาสูบ - ซิกาแรต - ซิการ์ - บุหรี่อื่น - ยาเส้นปรุง - ยาเคี้ยว 85 - 0.50 บาท/กรัม 0.02 บาท/5 กรัม 0.09 บาท/กรัม 87 20 1.00 บาท/กรัม 0.10 บาท/กรัม
ฐานในการคิดคำนวณค่าแสตมป์ยาสูบ ยาเส้น และยาสูบชนิด บุหรี่ซิการ์ บุหรี่อื่น ยาเส้นปรุง และยาเคี้ยว กำหนดให้จัดเก็บ ค่าแสตมป์ยาสูบ ทั้งในอัตราตามมูลค่าและตามปริมาณเมื่อคิดคำนวณค่าแสตมป์ยาสูบ ออกมาเป็นตัวเงินสูงกว่าจะใช้อัตรานั้น 1. ตามปริมาณหรือน้ำหนัก ค่าแสตมป์ยาสูบ = ปริมาณ * อัตราค่าแสตมป์ยาสูบ 2. ตามมูลค่า 2.1 ยาเส้นหรือยาสูบที่ทำในราชอาณาจักร ค่าแสตมป์ยาสูบ = ราคาขาย ณ โรงอุตสาหกรรมยาสูบ + ค่าแสตมป์ยาสูบ * อัตราค่าแสตมป์ยาสูบ หรือสูตรค่าแสตมป์ยาสูบ = (ราคาขาย ณ โรงฯ * อัตราค่าแสตมป์) (1- อัตราค่าแสตมป์ยาสูบ) 2.2 ยาเส้นหรือยาสูบที่นำเข้ามาในราชอาณาจักร ค่าแสตมป์ยาสูบ = ราคา C.I.F. + อากรขาเข้า + อากรพิเศษ + ค่าแสตมป์ยาสูบ * อัตราค่าแสตมป์ยาสูบ หรือสูตรค่าแสตมป์ยาสูบ = (ราคาขาย C.I.F. + อากรขาเข้า + อากรพิเศษ)* อัตราค่าแสตมป์ยาสูบ) 6
มูลค่าที่ใช้คูณในการคำนวณภาษียาสูบ ตามมูลค่า มูลค่าที่ใช้คูณในการคำนวณภาษียาสูบ ตามมูลค่า สินค้า อัตราภาษีตามมูลค่า ตัวคูณ 1. ยาเส้น 10 0.1111111 2. ยาสูบ 2.1 บุหรี่ซิกาแรต 2.2 บุหรี่ซิการ์ 2.3 บุหรี่อื่น 2.4 ยาเส้นปรุง 2.5 ยาเคี้ยว 87 20 6.6923077 0.2500000 ตัวอย่าง: ยาเส้น ตราเครื่องบิน ขนาดบรรจุ 20 กรัม 1 ซอง มีราคาขาย ณ โรงอุตสาหกรรม 3.77 บาท ให้คำนวณหา ค่าแสตมป์ยาสูบทั้งในอัตราตามมูลค่าและตามปริมาณ ค่าแสตมป์ยาสูบในอัตราตามมูลค่า = ราคาขาย ณ โรงอุตสาหกรรม * 0.1111111 = 3.77 * 0.1111111 = 0.42 บาท ค่าแสตมป์ยาสูบในอัตราตามปริมาณ = ปริมาณ * อัตราค่าแสตมป์ยาสูบ = 20 * 0.01 = 0.20 บาท
จำนวนผู้ประกอบอุตสาหกรรมยาสูบ หน่วย: ราย ที่มา: ข้อมูลปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 จากระบบ Intranet กรมสรรพสามิต
ผลการจัดเก็บค่าแสตมป์ยาสูบ ปีงบประมาณ 2555 หน่วย : ล้านบาท เก็บได้จริง (ปีงบ 55) เก็บได้ปีที่แล้ว (ปีงบ 54) เปรียบเทียบ ประมาณการ ตาม KPI (405,000 ลบ.) (+)สูง(-)ต่ำ จำนวน ร้อยละ 59,914.44 57,195.79 2,718.65 4.75 57,000 2,914.44 5.11 9 ต้อนรับ รมช.(ปรับปรุง15มิย53 เวลา9.30น.) 9 9
ผลการจัดเก็บภาษียาสูบ ปีงบประมาณ 2553-2555 หน่วย : ล้านบาท ประเภทภาษียาสูบ ปี 2553 ปี 2554 ปี 2555 ในประเทศ นำเข้า 1. บุหรี่ซิกาแรต 41,153.57 12,185.61 43,456.55 13,698.93 43,512.16 16,361.24 2. ยาเส้น 22.59 - 22.62 20.97 3. บุหรี่ซิการ์ 0.57 7.75 5.54 4. ยาเส้นปรุง 0.40 1.20 1.10 5.60 0.43 8.94 5. บุหรี่อื่น 3.83 3.24 1.75 6. ยาเคี้ยว 3.16 รวมทั้งสิ้น 41,180.39 (77.16%) 12,187.38 (22.84%) 43,483.51 (76.03%) 13,712.28 (23.97%) 43,538.49 (72.67%) 16,375.96 (27.33%)
ผลการจัดเก็บภาษียาสูบปีงบประมาณ 2550-2555 รวมในประเทศและนำเข้า ผลการจัดเก็บภาษียาสูบปีงบประมาณ 2550-2555 รวมในประเทศและนำเข้า สินค้า ปี 2550 ปี 2551 ปี 2552 ปี 2553 ปี 2554 ปี 2555 ล้านบาท % ยาสูบนำเข้า 10,688.82 25.56 10,011.61 23.93 10,542.31 24.00 12,187.38 22.84 13,712.20 23.97 16,375.96 27.33 ยาสูบในประเทศ 31,134.99 74.44 31,820.48 76.07 33,390.59 76.00 41,180.39 77.16 43,483.52 76.03 43,538.49 72.67 รวม 41,823.81 100.00 41,832.09 43,932.90 53,367.77 57,195.72 59,914.45
แสตมป์ยาสูบสำหรับยาเส้นที่ผู้เพาะปลูก ต้นยาสูบทำจากใบยาที่ปลูกและหั่นเอง (แสตมป์ 0)
แสตมป์ยาสูบ ลักษณะแสตมป์ยาสูบที่ใช้ในปัจจุบัน แสตมป์ยาสูบ 2 สต. แสตมป์ยาสูบ 10 สต. แสตมป์ยาสูบ 50 สต.
สภาพปัญหา มีการผลักภาระค่าแสตมป์ยาสูบประเภทยาเส้นของผู้ประกอบการยาเส้นให้กับชาวไร่ เกิดภาระภาษีซ้ำซ้อนแก่เกษตรกรผู้ผลิตยาเส้นที่ใช้เป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมยาสูบ
ขั้นตอนการดำเนินการ 1. ออกกฎกระทรวงกำหนดอัตราค่าแสตมป์ยาสูบ แก้ไขเพิ่มเติมอัตราค่าแสตมป์ยาสูบสำหรับยาเส้นที่ผู้เพาะปลูกต้นยาสูบทำจากใบยาที่ปลูกและหั่นเอง และได้ขายยาเส้นนั้นแก่ผู้ประกอบอุตสาหกรรมยาสูบ 2. ออกประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง กำหนดลักษณะและชนิดของแสตมป์ยาสูบ (ฉบับที่ 47) พ.ศ. 2556 เพื่อกำหนดลักษณะแสตมป์ยาสูบที่ใช้ปิดบนซองยาเส้นที่ผลิตขึ้นในประเทศไทย กรณีที่มีค่าแสตมป์เป็นศูนย์ สำหรับยาเส้นที่ผู้เพาะปลูกต้นยาสูบขายยาเส้นที่ทำจากใบยาที่ปลูกให้ผู้ประกอบอุตสาหกรรมยาสูบ 3. ออกประกาศกรมสรรพสามิต เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการขออนุญาต การออกใบอนุญาตและเงื่อนไขว่าด้วย การเพาะปลูกต้นยาสูบ ฉบับที่ 3 (พ.ศ.2556) 4. ออกระเบียบกรมสรรพสามิต ว่าด้วยวิธีการ เงื่อนไขและแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการปิดและขีดฆ่าแสตมป์ยาสูบ อัตราค่าแสตมป์ยาสูบ 0.00 บาท สำหรับยาเส้นของผู้ได้รับอนุญาตให้เพาะปลูกต้นยาสูบเพื่อทำยาเส้นจากใบยาที่ปลูกและหั่นเอง และได้ขายยาเส้นที่ทำได้ให้แก่ผู้ประกอบอุตสาหกรรมยาสูบ พ.ศ. 2556
กฎกระทรวงกำหนดอัตราค่าแสตมป์ยาสูบมูลค่า 0.00 บาท รายการ อัตราภาษี ตามมูลค่าร้อยละ ตามปริมาณ หน่วย หน่วยละ-บาท “1. ยาเส้น (1) ยาเส้นที่ผู้เพาะปลูกต้น ยาสูบทำจากใบยาที่ปลูก และหั่นเอง และได้ขาย ยาเส้นนั้นแก่ผู้ประกอบ อุตสาหกรรมยาสูบ (2) ยาเส้นอื่น นอกจาก (1) 10 หนึ่งกรัม เศษของหนึ่งกรัมให้นับเป็นหนึ่งกรัม 0.00 0.01”
ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง กำหนดลักษณะและชนิด ของแสตมป์ยาสูบ (ฉบับที่ 47) พ.ศ.2556 ลักษณะที่สำคัญของแสตมป์ยาสูบมูลค่า 0.00 บาท เหมือนกับแสตมป์ยาสูบมูลค่า 2 สตางค์ ด้านล่างของอักษร “ในประเทศ” มีตัวเลขและอักษร “0 สตางค์” พิมพ์ด้วยหมึกสีดำ ให้ใช้ปิดบนซองบรรจุยาเส้นที่ผู้เพาะปลูกต้นยาสูบทำจากใบ ยาที่ปลูกและหั่นเอง และได้ขายยาเส้นนั้นแก่ผู้ประกอบ อุตสาหกรรมยาสูบ ซึ่งมีอัตราค่าแสตมป์ยาสูบ 0.00 บาท
ประกาศกรมสรรพสามิต เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการขออนุญาต การออกใบอนุญาต และเงื่อนไขว่าด้วยการเพาะปลูกต้นยาสูบ ฉบับเดิม (ลว. 28 กันยายน 2535) ฉบับใหม่ (พ.ศ.2556) ข้อ 5 ให้ผู้ประสงค์จะขออนุญาตเพาะปลูกต้นยาสูบ ยื่นคำขอต่อเจ้าพนักงานก่อนเริ่มฤดูการเพาะปลูก ตามแบบท้ายประกาศดังนี้ (1) ผู้เพาะปลูกต้นยาสูบที่จำหน่ายใบยาสดพันธุ์เวอร์ยิเนีย ให้ใช้คำขออนุญาตเพาะปลูกต้นยาสูบ แบบ ย.ส. 102 (2) ผู้เพาะปลูกต้นยาสูบที่จำหน่ายใบยาแห้งพันธุ์เวอร์ยิเนีย พันธุ์เบอร์เล่ย์ และพันธุ์เตอร์กิช ข้อ 6 เมื่อเจ้าพนักงานพิจารณาเห็นสมควรอนุญาตให้ออกใบอนุญาตให้เพาะปลูกต้นยาสูบตามแบบ ย.ส. 202 สำหรับการ ขออนุญาตในข้อ 5 (1) หรือตามแบบ ย.ส. 202/1 สำหรับการ ขออนุญาตในข้อ 5 (2) (2) ผู้เพาะปลูกต้นยาสูบที่จำหน่ายใบยาแห้งพันธุ์เวอร์ยิเนีย พันธุ์เบอร์เล่ย์ และพันธุ์เตอร์กิช (3) ผู้เพาะปลูกต้นยาสูบเพื่อทำยาเส้นจากใบยาที่ปลูกและหั่นเอง และได้ขายยาเส้นนั้นแก่ผู้ประกอบอุตสาหกรรมยาสูบ ให้ใช้คำขออนุญาตเพาะปลูกต้นยาสูบ แบบ ย.ส. 102/2 ข้อ 6 เมื่อเจ้าพนักงานพิจารณาเห็นสมควรอนุญาต ให้ออกใบอนุญาตให้เพาะปลูกต้นยาสูบตามแบบท้ายประกาศนี้ดังนี้ (1) แบบ ย.ส. 202 สำหรับการขออนุญาตตามข้อ 5 (1) (2) แบบ ย.ส. 202/1 สำหรับการขออนุญาตในข้อ 5 (2) (3) แบบ ย.ส. 202/2 สำหรับการขออนุญาตในข้อ 5 (3)
ประกาศกรมสรรพสามิต เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการขออนุญาต การออกใบอนุญาต และเงื่อนไขว่าด้วยการเพาะปลูกต้นยาสูบ (ต่อ) ฉบับเดิม (ลว. 28 กันยายน 2535) ฉบับใหม่ (พ.ศ.2556) ข้อ 7 ให้ผู้ได้รับอนุญาตให้ผู้เพาะปลูกต้นยาสูบปฏิบัติตามเงื่อนไข ดังนี้ (1) ต้องใช้พันธุ์ยาสูบตามที่อธิบดีกำหนด (5) ต้องจัดทำบัญชีแสดงรายการจำนวนต้นกล้ายาสูบไว้ให้เป็นหลักฐานเพื่อแสดงต่อเจ้าพนักงานเมื่อทำการตรวจ (1) ต้องใช้พันธุ์ยาสูบตามที่อธิบดีกำหนด ยกเว้นผู้เพาะปลูกต้นยาสูบเพื่อทำยาเส้นจากใบยาที่ปลูกและหั่นเอง และได้ขายยาเส้นแก่ผู้ประกอบอุตสาหกรรมยาสูบ (5) ต้องจัดทำบัญชีแสดงรายการจำนวนต้นกล้ายาสูบไว้ให้เป็นหลักฐานเพื่อแสดงต่อเจ้าพนักงานเมื่อทำการตรวจ ยกเว้น ผู้เพาะปลูกต้นยาสูบเพื่อทำยาเส้นจากใบยาที่ปลูกและหั่นเอง และได้ขายยาเส้นแก่ผู้ประกอบอุตสาหกรรมยาสูบ ข้อ 8 หากผู้ได้รับอนุญาตให้เพาะปลูกต้นยาสูบเพื่อทำยาเส้นจากใบยาที่ปลูกและหั่นเองประสงค์จะขายยาเส้นที่ทำได้ให้แก่ผู้ประกอบอุตสาหกรรมยาสูบเพื่อคิดอัตราค่าแสตมป์ยาสูบ 0.00 บาท ให้ยื่นใบขอเบิกแสตมป์ยาสูบเพื่อนำไปใช้ปิดและขีดฆ่าแสตมป์ยาสูบบนซองยาเส้น ก่อนการจำหน่ายยาเส้นให้แก่ผู้ประกอบอุตสาหกรรมยาสูบ ทั้งนี้ ต้องปฏิบัติตามระเบียบที่กรมสรรพสามิตกำหนด
ขั้นตอนการขออนุญาตเพาะปลูกต้นยาสูบ (ใหม่) ผู้เพาะปลูกต้นยาสูบที่จำหน่ายใบยาสดพันธุ์(เวอร์ยิเนีย) ผู้เพาะปลูกต้นยาสูบที่จำหน่ายใบยาแห้งพันธุ์เวอร์ยิเนีย พันธุ์เบอร์เล่ย์ และพันธุ์เตอร์กิช ผู้เพาะปลูกต้นยาสูบทำจากใบยาที่ปลูกและหั่นเอง และได้ขายยาเส้นนั้นแก่ผู้ประกอบอุตสาหกรรมยาสูบ ขออนุญาต ขออนุญาต ขออนุญาต ยื่นแบบ ย.ส. 102 ยื่นแบบ ย.ส. 102/1 ยื่นแบบ ย.ส. 102/2 พิจารณาอนุญาต พิจารณาอนุญาต พิจารณาอนุญาต แบบ ย.ส. 202 แบบ ย.ส. 202/1 แบบ ย.ส. 202/2 ต้องใช้พันธุ์ยาสูบตามที่อธิบดีกำหนด ต้องจัดทำบัญชีแสดงรายการจำนวนต้นกล้ายาสูบไว้เป็นหลักฐาน เพื่อแสดงต่อเจ้าพนักงานเมื่อทำการตรวจ
ระเบียบกรมสรรพสามิต ว่าด้วยวิธีการ เงื่อนไขและแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการปิดและขีดฆ่าแสตมป์ยาสูบอัตราค่าแสตมป์ยาสูบ 0.00 บาท สำหรับยาเส้นของผู้ได้รับอนุญาตให้เพาะปลูกต้นยาสูบเพื่อทำยาเส้นจากใบยาที่ปลูกและหั่นเอง และได้ขายยาเส้นนั้นให้แก่ผู้ประกอบอุตสาหกรรมยาสูบ พ.ศ.2556 ผู้เพาะปลูกต้นยาสูบทำจากใบยาที่ปลูกและหั่นเอง และได้ขายยาเส้นนั้นแก่ผู้ประกอบอุตสาหกรรมยาสูบ สำนักงานสรรพสามิตพื้นที่หรือสำนักงานสรรพสามิตสาขาที่อนุญาตให้ทำการเพาะปลูกต้นยาสูบ สำนักงานสรรพสามิตพื้นที่หรือสำนักงานสรรพสามิตสาขาที่มีโรงอุตสาหกรรมยาสูบของผู้ปรกอบอุตสาหกรรมยาสูบตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ ยื่นใบขอเบิกแสตมป์ยาสูบ ตามแบบ 1 ไม่ถูกต้อง ตรวจสอบความถูกต้อง ถูกต้อง จ่ายแสตมป์ยาสูบตามปริมาณจำนวนซองยาเส้นที่ประสงค์จะขาย นำยาเส้นใส่ซอง และขีดฆ่าแสตมป์ยาสูบด้วยเครื่องหมาย วันเดือน ปี และใช้กาวอย่างดีทาด้านหลังดวงแสตมป์ยาสูบให้ทั่วแล้วปิดให้แนบแน่นสนิทจนไม่สามารถแกะลอกได้ โดยให้ปิดที่ซองตรงรอยสำหรับเปิดซึ่งเมื่อนำยาเส้นออกจากซอง แสตมป์ยาสูบที่ปิดอยู่จะต้องถูกทำลายเสียสภาพไปจากเดิมทันที จัดทำรายงานการออกใบอนุญาตให้เพาะปลูกต้นยาสูบตามแบบ 2 และรายงานรายละเอียดการจำหน่ายยาเส้นและการจ่ายแสตมป์ยาสูบให้กับผู้เพาะปลูกต้นยาสูบตามแบบ 3 และแจ้งให้กรมสรรพสามิตทราบภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป ดำเนินการตรวจปฏิบัติการโรงอุตสาหกรรมยาสูบ อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง เพื่อให้ปฏิบัติให้ถูกต้องตามที่กฎหมายกำหนด และรายงานผลการตรวจให้กรมสรรพสามิตทราบภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดจากเดือนที่มีการเข้าตรวจ
Q & A