การใช้เครื่องมือในระบบการบริการผู้ป่วยโรคซึมเศร้า ในการอบรมการบริการผู้ป่วยระวังโรคซึมเศร้าสำหรับผู้ปฏิบัติ หลักสูตรกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นักศึกษาคะ ต่อไปนี้ครูจะพูดถึงประโยคและคำศัพท์ที่ใช้ในการสนทนาในโอกาสและสถานที่ ต่าง ๆ แต่ก่อนที่เราจะไปดูเฉพาะเจาะจงเป็นกรณีไปนั้น มีข้อปลีกย่อยอื่นๆ.
Advertisements

Clinical Reasoning (clinical analysis & decision making)
การพัฒนาคุณภาพทางคลินิก นพ.อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล
Phrasal Verb ‘Give me a ring’.
Doctor’s Orders. Take up to start doing a particular job or activity. Take up เริ่มต้นดำเนินการ.
Practical Epidemiology
ณัฐปาณี แววทองคำ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ งานสูติกรรม
องค์ความรู้โรคซึมเศร้า
อ. อัศวินี นามะกันคำ ภาควิชาการพยาบาลจิตเวช
สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
Triage 5 ระดับในระบบส่งต่อ
การประเมินโรคซึมเศร้า และการฆ่าตัวตาย
องค์ความรู้โรคซึมเศร้า ในการอบรมการดูแลเฝ้าดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้าสำหรับผู้ปฏิบัติในพื้นที่ สนับสนุนโดย กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข.
Home/Personal/Education
การอภิปราย หัวข้อ “การนำนโยบายสู่การปฏิบัติและเตรียม ความพร้อมรับมืออุบัติเหตุทางถนน” นายเชษฐา โมสิกรัตน์ ผอ.กองนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย.
นำเสนอโดย เกศมณี สิทธิศิลป์ และคณะทำงาน
Prolapsed cord.
แนวทางการรักษาโรคมะเร็งเม็ดเลือดไมอีโลมา เพื่อประกอบการเบิกจ่ายค่าชดเชยการบริการทางการแพทย์ ในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พญ.ลลิตา นรเศรษฐธาดา.
ความเท่าเทียม เพื่อเด็กไทยทุกคน
การพัฒนาระบบการจัดเก็บฐานข้อมูล สุขภาพจิต
Panate Pukrittayakamee
พัฒนาการที่ต้องติดตามเฝ้าระวัง (Red Flags in Child Development)
ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์ ภาควิชาการพยาบาลจิตเวช
แผนกการพยาบาลอุบัติเหตุและฉุกเฉิน
วงจรบริดจ์ Bridge Circuit.
ANXIETY DISORDER & MOOD DISORDER
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
แผนการลงทุนด้านสุขภาพระยะ 5 ปี (Long Term Invesment Plan)
สภาพปัญหาของการดูแลรักษาโรคซึมเศร้าของไทย
ความสำคัญของการพัฒนาการและระบบบริการดูแลพัฒนาการเด็ก
การบำบัดรักษาทางสังคมจิตใจ สำหรับผู้ป่วยโรคซึมเศร้า ในการอบรมการบริการผู้ป่วยโรคซึมเศร้าสำหรับผู้ปฏิบัติ หลักสูตรกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข.
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เตรียมเงิน/หุ้นให้เพียงพอสำหรับการ Settlement แบบ 2 วันรวมกัน
สถานการณ์โรคไตเรื้อรัง ทิศทางนโยบาย
ระบบการดูแลระยะยาว (Long Term Care: LTC) เขต 9
ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์
17 มิถุนายน 2559 โรงแรมเชียงใหม่ออร์คิด อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่
Generic View of Process
หน่วยที่ 2 การวิเคราะห์ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
(แผนบูรณาการขยะและสิ่งแวดล้อม)
Family Care Team : ทีมหมอครอบครัว
สื่อการเรียนรู้ครูต้อม ประโยคควรรู้ในครอบครัว1 รายวิชาภาษาอังกฤษ ขั้นประถมศึกษาปีที่ 1-3 นางสาวลัดดาวัลย์ เขื่อนคำ ครูผู้สอน โรงเรียนสันมหาพนวิทยา อำเภอแม่แตง.
งานการข่าว นายสยมภู อภิรัฐวงศ์ นักการข่าวชำนาญการพิเศษ
PHOTO HUNT Press SpaceBar … START ม.กรวิชญ์ โสภา.
เทคนิคการวิเคราะห์ความเหมาะสมของโครงการ และแนวทางการติดตามประเมินผลสำเร็จของ ชุดโครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการคัดแยกขยะ ที่ต้นทาง ชุดที่ ๓ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น.
Agency Genius's confidential document
Service Plan สุขภาพจิต จิตเวชและยาเสพติด
วิระวรรณ ตันติพิวัฒนสกุล
การติดตามและการประเมินผลโครงการ
ชี้แจงการอัปโหลดข้อมูล จปฐ. ปี 2561
การวิเคราะห์ข้อสอบ อาจารย์ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์สมพงษ์ พันธุรัตน์
ผลการเข้าร่วมประชุมวิชาการนานาชาติและเสวนาวิชาการ
“การรักษาภาวะฉุกเฉินจากโรคมะเร็งเต้านมระยะแพร่กระจาย”
การจัดการเชิงรุกรายบุคคล
การสร้างประโยคง่ายๆจากคำศัพท์
วิชากฎหมายอาญาภาคทั่วไป (177181)
การเปลี่ยนแปลงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
Education การศึกษาในยุคกลาง
ดร. สุทธศรี วงษ์สมาน รองเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
ความรู้พื้นฐานโรคทางจิตเวช
การจัดการความเจ็บปวด
By ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พีระ พันลูกท้าว
รหัสวิชา ศิลปกรรมกับการสื่อสาร Fine and Applied Arts and Communication
สื่อการเรียนรู้ครูต้อม ประโยคควรรู้ในครอบครัว2 รายวิชาภาษาอังกฤษ ขั้นประถมศึกษาปีที่ 1-3 นางสาวลัดดาวัลย์ เขื่อนคำ ครูผู้สอน โรงเรียนสันมหาพนวิทยา อำเภอแม่แตง.
แผนการดำเนินงาน คปสอ. (DPAC)
ผลการบำบัดยาเสพติด ของโรงพยาบาลสวนปรุง
บทที่ 9 ความสัมพันธ์ระหว่างงานโภชนาการ กับการสาธารณสุข
Thamuang Hospital Kanchanaburi Thailand
แนวทางการ ขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์กรมสุขภาพจิต
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การใช้เครื่องมือในระบบการบริการผู้ป่วยโรคซึมเศร้า ในการอบรมการบริการผู้ป่วยระวังโรคซึมเศร้าสำหรับผู้ปฏิบัติ หลักสูตรกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข

เครื่องมือและคู่มือในระบบดูแลเฝ้าระวัง กิจกรรม เครื่องมือ/คู่มือ ผู้ใช้ การคัดกรองโรคซึมเศร้าในชุมชนและในกลุ่มเสี่ยงในสถานบริการ แบบคัดกรอง 2Q คู่มือโรคซึมเศร้าหายได้ อสม. พยาบาล หรือ จนท.สาธารณสุข ในรพ.สต./รพช./รพท. การประเมินและจำแนกความรุนแรงของโรค แบบประเมิน 9Q, ฆ่าตัวตาย 8Q, คู่มือโรคซึมเศร้าหายได้ พยาบาล หรือ แพทย์ รพ.สต./รพช./รพท. การติดตามเฝ้าระวังการกลับเป็นซ้ำ แบบประเมิน 9Q คู่มือโรคซึมเศร้าหายได้, แนวทางฯ พยาบาล หรือจนท. สาธารณสุขใน รพ.สต./ รพช.

ความเชื่อมโยงของการใช้เครื่องมือกับการดูแลเฝ้าระวัง Depression Depressive disorders Remission Relapse ส่งเสริม ป้องกัน รักษา คัดกรอง ประเมิน รักษา ติดตาม เฝ้าระวัง วินิจฉัย 8Q เฝ้าระวัง การฆ่าตัวตาย 2Q 9Q 9Q

เครื่องมือในกระบวนการดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้า อสม. รพ.สต. รพช./รพท. รพ.ที่มีจิตแพทย์ +ve Education ≥ 7 ติดตามการรักษาจน 9Q <7 ทุก 1 เดือน เป็นเวลา 6 เดือน แล้วลดยาลงจนหยุดได้ ให้การรักษา ตามมาตรฐาน การรักษา Non MDD ไม่มีปัญหาทางสังคมจิตใจ ประเมินการฆ่าตัวตายด้วย 8Q 9Q ≥19 Csg 8Q ≥17 มีปัญหาทางสังคมจิตใจ ≥7 ประเมินโรคซึมเศร้าด้วย 9Q ประเมินด้วย 9Q ผลประเมินด้วย 9Q แจ้งผลและให้สุขภาพจิตศึกษา คัดกรอง 2Q แจ้งผลและ ให้สุขภาพจิต ศึกษา ติดตามด้วย 9Q ซ้ำอีก 1 เดือน Mild 9Q=7-12 Moderate 9Q=13-18 Severe 9Q≥19 วินิจฉัยโรคซึมเศร้าโดยแพทย์ MDD คัดกรองในกลุ่มเสี่ยง 2Q คัดกรองในกลุ่มเสี่ยงด้วย 2Q Csg+Edญาติ Rx+Csg+Edญาติ ประเมิน การฆ่าตัวตายด้วย ติดตามด้วย 9Q หรือ/และ 8Q ทุกเดือนเป็นเวลา 1 ปี ปัญหาคือ คุณหมอไม่ Rx ด้วย Fluoxetine จะ Rx ด้วย TCA เพราะมีข้อจำกัดการมียา

2Q9Q พัฒนามาจากเกณฑ์การวินิจฉัยโรคซึมเศร้าเกณฑ์ DSM-V มีอาการดังต่อไปนี้ อย่างน้อย 5 อาการ เกิดขึ้นแทบทั้งวัน เป็นเกือบทุกวัน ติดต่อกันไม่ต่ำกว่า 2 สัปดาห์ และทำให้เสียหน้าที่การงานการสังคม 2 ข้อ มีอารมณ์เศร้า ทั้งที่ตนเองรู้สึกและคนอื่นสังเกตเห็น ความสนใจหรือความเพลิดเพลินในกิจกรรมปกติที่เคยทำทั้งหมดหรือแทบทั้งหมดลดลงอย่างมาก ต้องมีอาการเหล่านี้ อย่างน้อย 1 อย่าง 2Q 9 ข้อ น้ำหนักลดลงหรือเพิ่มขึ้น(มากกว่าร้อยละ 5 ต่อเดือน)/เบื่ออาหารหรืออยากอาหารมากขึ้น นอนไม่หลับหรือหลับมาก ทำอะไรช้า เคลื่อนไหวช้าลง หรือกระสับกระส่าย อยู่ไม่สุข เหนื่อยอ่อนเพลียหรือไม่มีแรง รู้สึกตนเองไร้ค่าหรือรู้สึกผิดมากเกินควร สมาธิหรือความคิดอ่านลดลง คิดถึงเรื่องการตายอยู่ซ้ำๆ หรือคิดฆ่าตัวตาย หรือพยายามฆ่าตัวตายหรือมีแผน 9Q

เป็นการคัดแยกผู้ป่วย การคัดกรองด้วย 2Q Depression Depressive disorders Remission Relapse คัดกรอง 2Q เป็นการคัดแยกผู้ป่วย ออกจากกลุ่มไม่ป่วย และนำผู้ป่วยเข้าสู่ กระบวนการช่วยเหลือ

แบบคัดกรองโรคซึมเศร้าด้วย 2Q

การแปลผลการใช้แบบคัดกรอง 2Q ถ้า “ไม่มี” ทั้ง 2 คำถาม ถือว่า ปกติ หรือ ไม่มีแนวโน้มป่วยเป็นโรคซึมเศร้า ถ้า “มี” คำใดคำหนึ่งหรือทั้ง 2 ข้อ (มีอาการใดๆ ในคำถามที่ 1 และ 2) หมายถึง เป็นผู้มีความเสี่ยงหรือมีแนวโน้มที่จะเป็นโรคซึมเศร้า

การใช้แบบคัดกรอง 2Q วัตถุประสงค์ เพื่อค้นหาผู้ที่มีแนวโน้มป่วยเป็นโรคซึมเศร้า ผู้ใช้ คือ อสม. พยาบาล/นวก.สาธารณสุข/จพง.สาธารณสุขที่ผ่านการอบรม กลุ่มเป้าหมาย คือ กลุ่มเสี่ยง 7 กลุ่ม หรือประชาชนทั่วไป ข้อจำกัด ไม่สามารถใช้กับผู้ที่มีภาวะปัญญาอ่อน โรคจิต วิธีการใช้ ถามเป็นรายบุคคลกับผู้ป่วย ถามทีละข้อ เน้นการถามถึงอาการที่เกิดขึ้นในช่วง 2 สัปดาห์ที่ผ่านมารวมถึงวันนี้ หากผู้ถูกถามไม่เข้าใจ ไม่ควรอธิบายหรือขยายความเพิ่ม ควรถามซ้ำจนกว่าผู้ถูกถามได้ตอบตามความเข้าใจของเขาเอง ถ้าพบว่า ความเสี่ยงที่จะป่วยเป็นโรคซึมเศร้า ให้แจ้งผล “ควรได้รับการประเมินโรคซึมเศร้าด้วย 9Q ภายใน 2 สัปดาห์ แต่ไม่ควรนานเกิน 3 เดือน”

ถ้าพบว่า ความเสี่ยงที่จะป่วยเป็นโรคซึมเศร้า ถ้าผลการคัดกรอง 2Q ผิดปกติ ควรทำอย่างไร ถ้าพบว่า ความเสี่ยงที่จะป่วยเป็นโรคซึมเศร้า “ควรได้รับการประเมินโรคซึมเศร้าด้วย 9Q ภายใน 2 สัปดาห์ แต่ไม่ควรนานเกิน 3 เดือน” ถ้า “ไม่มี” ทั้ง 2 คำถาม ถือว่า “ปกติ” หรือ ไม่มีแนวโน้มป่วยเป็นโรคซึมเศร้า ถ้า “มี” คำใดคำหนึ่งหรือทั้ง 2 ข้อ (มีอาการใดๆ ในคำถามที่ 1 และ 2) หมายถึง เป็นผู้มีความเสี่ยงหรือมีแนวโน้มที่จะเป็นโรคซึมเศร้า

ความเชื่อมโยงของการใช้เครื่องมือกับการดูแลเฝ้าระวัง Depression Depressive disorders Remission Relapse ประเมิน 9Q ประเมินผู้ป่วย หรือความรุนแรง และการ เปลี่ยนแปลง ของโรคซึมเศร้า - ปกติ - น้อย - ปานกลาง - รุนแรง ระดระดับ ความรุนแรง

ความเชื่อมโยงของการใช้เครื่องมือกับการดูแลเฝ้าระวัง Depression Depressive disorders Remission Relapse ติดตามเฝ้าระวังและ ประเมินผลลัพธ์การรักษา ระดประเมินความรุนแรง หลังจากได้รับการรักษา เครื่องมือประเมิน ช่วยในการติดตาม ความก้าวหน้าของ ผู้ป่วยและ วัดประสิทธิผล ในการรักษา - น้อย - ปานกลาง - รุนแรง

เครื่องมือการประเมินโรคซึมเศร้าด้วย 9Q

การแปลผลการใช้แบบประเมินโรคซึมเศร้า 9Q ปกติ หรือมีอาการซึมเศร้าน้อยมาก คะแนน การแปลผล <7 ปกติ หรือมีอาการซึมเศร้าน้อยมาก 7-12 ระดับ Mild 13-18 ระดับ Moderate ≥19 ระดับ Severe ค่าจุดตัด (cut off score) = 7 คะแนน เป็นจุดตัดที่แบ่งระดับการวินิจฉัยหรือจำแนกคนที่ป่วยออกจากคนไม่ป่วย (cut off level) โดยเลือกจากค่า ความไว (Sensitivity) 75.68% และความจำเพาะสูง (Specificity) 92.85% เป็นระดับที่สูงและสอดคล้องกับบริบทของโรคซึมเศร้าในคนไทย

การใช้แบบประเมินอาการซึมเศร้าด้วย 9Q วัตถุประสงค์ เพื่อประเมินระดับความรุนแรงของอาการโรคซึมเศร้าของผู้ที่มีแนวโน้มป่วยเป็นโรคซึมเศร้า (2Q+ve) ผู้ใช้ คือ พยาบาล/นวก.-จพง.สาธารณสุขที่ผ่านการอบรม กลุ่มเป้าหมาย คือ ผู้ที่มีแนวโน้มป่วยเป็นโรคซึมเศร้า (2Q+ve) ข้อจำกัด ไม่สามารถใช้กับผู้ที่มีภาวะปัญญาอ่อน โรคจิต วิธีการใช้ ถามเป็นรายบุคคลกับผู้ป่วย อธิบายที่มาและลักษณะของการประเมินด้วย 9Q ถามทีละข้อ เน้นการถามถึงอาการที่เกิดขึ้นในช่วง 2 สัปดาห์ที่ผ่านมารวมถึงวันนี้ หากผู้ถูกถามไม่เข้าใจ ไม่ควรอธิบายหรือขยายความเพิ่ม ควรถามซ้ำจนกว่าผู้ถูกถามได้ตอบตามความเข้าใจของเขาเอง ถ้าพบว่า คะแนน 9Q ≥7 ให้แจ้งผล ให้สุขภาพจิตศึกษา และควรได้รับการรักษาตามระดับความรุนแรง

ถ้า...ผลการประเมินด้วย 9Q≥ 7 ขึ้นไป ต้องประเมิน 8Q ทันที

แบบประเมินแนวโน้มการฆ่าตัวตายด้วย 8Q ใน 1 เดือนที่ผ่านมารวมวันนี้

การแปลผลประเมินด้วย 8Q คะแนนรวม แนวโน้มที่จะฆ่าตัวตายในปัจจุบัน ไม่มีแนวโน้มที่จะฆ่าตัวตาย 1-8 มีแนวโน้มที่จะฆ่าตัวตายระดับน้อย 9-16 มีแนวโน้มที่จะฆ่าตัวตายระดับปานกลาง ≥ 17 มีแนวโน้มที่จะฆ่าตัวตายระดับรุนแรง

การใช้แบบประเมินการฆ่าตัวตายด้วย 8Q ผู้ใช้ คือ พยาบาล/นวก.-จพง.สาธารณสุขที่ผ่านการอบรม กลุ่มเป้าหมาย คือ ผู้ที่มีผลการประเมินด้วย 9Q คะแนน ≥7 ขึ้นไป) ข้อจำกัด ไม่สามารถใช้กับผู้ที่มีภาวะปัญญาอ่อน โรคจิต วิธีการใช้ ถามเป็นรายบุคคลกับผู้ป่วย อธิบายที่มาและลักษณะของการประเมินด้วย 8Q ถามทีละข้อ ประเมินครั้งแรกถามให้ครบทั้ง 8 ข้อ ผู้ป่วยที่มา Follow up ประเมินเฉพาะข้อ 1-7 หากผู้ถูกถามไม่เข้าใจ ไม่ควรอธิบายหรือขยายความเพิ่ม ควรถามซ้ำจนกว่าผู้ถูกถามได้ตอบตามความเข้าใจของเขาเอง ถ้าพบว่า คะแนน 8Q ≥1 ให้แจ้งผล และควรได้รับการดูแลช่วยเหลือตามระดับความรุนแรง

สรุปการใช้แบบการคัดกรองและแบบประเมินโรคซึมเศร้า แบบประเมินฆ่าตัวตาย 8Q ประเภท เครื่องมือ การใช้ คัดกรองโรคซึมเศร้าในชุมชนและในกลุ่มเสี่ยงในสถานบริการ แบบคัดกรองด้วย 2Q การชี้แจงวัตถุประสงค์ของการคัดกรองและการประเมิน ถามด้วยภาษาที่สอดคล้องกับท้องถิ่นหรือผู้ถูกสัมภาษณ์ ควรถามให้ได้คำตอบทีละข้อ ไม่ควรอธิบายขยายความเพิ่มเติมถ้าไม่ตอบ ให้ถามซ้ำ พยายามถามให้ได้คำตอบทุกข้อ รวมคะแนนและแจ้งผลพร้อมให้คำแนะนำหรือวิธีการปฏิบัติตัวตามแนวทางต่อไป ประเมินและจำแนกความรุนแรงของโรคซึมเศร้า/ความเสี่ยงหรือแนวโน้มฆ่าตัวตาย แบบประเมินด้วย 9Q แบบประเมินฆ่าตัวตาย 8Q ประกอบการวินิจฉัยโรคซึมเศร้าของแพทย์ การติดตามเฝ้าระวังการกลับเป็นซ้ำ

..Help Me Please… I Need to Die…