ภาษีอากร.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
Advertisements

บทที่ 1 การรวมธุรกิจ.
กระบี่ สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
อำนาจเจริญ - ว่าง- - ว่าง- - ว่าง - -ว่าง -
แม่ฮ่องสอน สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด นายไพรัช จันทรา
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2625 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4241 อัตราว่าง จำนวน 1 อัตรา ตำแหน่งนักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
พังงา นางสาวอัญชลี ตันวานิช สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษีอากรและการบัญชีเกี่ยวกับภาษี
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
1.
การวิเคราะห์ข้อมูล เขตพัฒนาเศรษฐกิจ พิเศษ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์ จังหวัด จังหวัด นราธิวาส 1.
คำแนะนำ นายทะเบียนสหกรณ์ เรื่อง วิธีปฏิบัติทางบัญชีเกี่ยวกับ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน พ. ศ เรื่อง วิธีปฏิบัติทางบัญชีเกี่ยวกับ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน พ.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
ทิศทางการตลาด และ การ สนับสนุนเกษตร อินทรีย์ โดย น. ส. สุทัศนีย์ ราช เรืองระบิน รองอธิบดี กรมการค้าภายใน.
การบริหารจัดเก็บภาษีสินค้ายาสูบ
สัญญาก่อสร้าง.
กระบวนการทางการบัญชี บันทึก  สมุดรายวันขั้นต้น
สำนักงานพัฒนาธุรกิจการค้าจังหวัดสุโขทัย
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 16
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
ปัจจัยแห่งความสำเร็จ
การให้เงินช่วยเหลือหรืออุดหนุนเพื่อส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
Design by Agri - Map สำนักงานชลประทานที่ ๘.
พ.ร.ก.ยกเว้นและสนับสนุนฯ สำนักกฎหมาย กรมสรรพากร
กรณีที่กฎหมายกำหนดให้หักภาษี ณ ที่จ่าย
BUSINESS TAXATION รศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
ข่าวประชาสัมพันธ์สำนักงานเกษตรจังหวัดสุโขทัย
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ฝ่ายบัญชีและการเงิน สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ
ยินดีต้อนรับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน (พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์) และคณะ ในโอกาสตรวจเยี่ยมจังหวัดตาก วันที่ กรกฎาคม 2558.
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์ กรมปศุสัตว์
กรมบัญชีกลาง กองการพัสดุภาครัฐ
ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการขออนุญาตทำงาน และการอนุญาตให้ทำงานตามพระราชกำหนดการบริหารจัดการการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ.
(มีผลใช้บังคับวันที่ ๑ พ.ย. ๒๕๕๗)
กลุ่มเกษตรกร.
นายทะเบียนแจ้งผลการจองชื่อ
การให้เงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน เพื่อส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กองทุนเงินทดแทน ประกันสังคม.
ประเด็นปัญหาที่ตรวจพบจากการตรวจสอบ
สำนักงานกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ สาขา 7
โดย นางสุลัดดา บุญรักษ์
จำนวนนิติบุคคลในจังหวัดเลย
ภาษีธุรกิจเฉพาะ (SBT )
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 14
กฎหมายเอกเทศสัญญา 1 อาจารย์ สุรศักดิ์ มีบัว สาขานิติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ครั้งที่ 13.
แนวปฏิบัติ การจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ
(สนง. ส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นอำเภอ)
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ผู้ประกอบการโลจิสติกส์ในเขตปลอดอากร นักตรวจสอบภาษีชำนาญการพิเศษ
BUSINESS TAXATION รศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
บทที่ 6 เงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุน
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 15
องค์กรต้นแบบอนามัยไร้พุง ปี 2552
จรรยาบรรณวิชาชีพและกฎหมายสำหรับการท่องเที่ยวและการโรงแรม
ทะเบียนสมาคมฌาปนกิจสงเคราะห์
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
4.2.3แผนการปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
Welcome.. สาระน่ารู้ ข่าวประชาสัมพันธ์ กองคลัง
บทที่ 8 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม
บทที่ 7 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ภาษีอากร

ภาษีทางตรง ภาษีทางอ้อม  ภาษีเงินได้ (บุคคลธรรมดา / นิติบุคคล) ภาษีทางอ้อม  ภาษีมูลค่าเพิ่ม  ภาษีธุรกิจเฉพาะ  อากรแสตมป์  ภาษีสรรพสามิต  ภาษีบำรุงท้องที่ ภาษีโรงเรือนและที่ดิน  ภาษีป้าย  ภาษีศุลกากร

ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ผู้มีเงินได้พึงประเมินในปีภาษี (1 ม.ค. – 31 ธ.ค.)  กรณีไม่มีคู่สมรสต้องมีเงินได้พึงประเมิน เกิน 30,000 บาท  กรณีมีคู่สมรสไม่ว่าฝ่ายเดียวหรือทั้งสอง ต้องมีเงินได้พึงประเมินรวมกันเกิน 60,000 บาท  กองมรดกของผู้ตายที่ยังไม่แบ่ง เกิน 30,000 บาท  ห้างหุ้นส่วนสามัญหรือคณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคล เกิน 30,000 บาท

ค่าลดหย่อนภาษี

เงินได้พึงประเมินที่ต้องเสียภาษี เงินสด หรือตราสารที่มีค่าเป็นเงินสด ทรัพย์สินที่ได้รับซึ่งอาจคิดคำนวณได้เป็นตัวเงิน ประโยชน์อื่นที่คิดคำนวณได้เป็นตัวเงิน เช่น ค่าเช่าบ้าน เงินค่าภาษีอากรที่ผู้จ่ายเงินหรือผู้อื่นออกแทนให้ เครดิตภาษีเงินปันผลหรือส่วนแบ่งกำไรที่ได้รับ จากบริษัท

เงินได้มี 8 ประเภท

แหล่งเงินได้

เมื่อเหลือเงินได้สุทธิจึงนำไปคำนวณภาษี ดังนี้

ตัวอย่างการคำนวณวิธีที่ 1 คำนวณจากรายได้สุทธิ รายได้ – รายจ่าย เนื่องจากมีรายได้พึงประเมินข้อ 1 ข้อเดียว

นายสมศักดิ์ทำธุรกิจผลิตชิ้นส่วนโลหะ เงินได้สุทธิ 800,000 บาท 1 ตัวอย่าง ขั้นเงินได้สุทธิ จำนวนเงินได้สุทธิ อัตราภาษี ภาษีที่ต้องชำระ 0 - 150,000 150,000 0% 150,001 - 300,000 300,001 - 150,000 = 150,000 5% = 150,000*0.05 7,500 300,001 - 500,000 500,000 - 300,000 = 200,000 10 % 200,000*0.10 20,000 500,001- 750,000 750,000 - 500,000 = 250,000 15% 250,000*0.15 37,500 750,001- 1,000,000 800,000 - 750,000 = 50,000 20% 50,000*0.20 10,000 75,000

ตัวอย่างการคำนวณวิธีที่ 2 คำนวณจากรายได้พึงประเมิน มีรายได้อื่นๆอีก

ตัวอย่าง 2 นางศรี มีเงินได้หลายรายการคือ 1)เงินเดือน ๆ ละ 18,000บาท จ่ายเงินสะสมเข้ากองทุนสำรองเลี้ยงชีพปีละ 14,000บาท 2)ค่านายหน้าเดือนละ120,000 บาท 3)ค่าลิขสิทธิ์ 80,000บาท นางศรีต้องเสียภาษีกี่บาท

สถานที่ยื่นแบบและชำระภาษี กรุงเทพมหานคร สำนักงานสรรพากรเขตหรือสาขาในท้องที่ที่ผู้เสียภาษีมีภูมิลำเนาอยู่ หรือยื่นต่างท้องที่ก็ได้ ธนาคารพาณิชย์ไทย หรือสาขาที่ตั้งอยู่ในกรุงเทพมหานคร ส่งทางไปรษณีย์ลงทะเบียน (เฉพาะผู้มีภูมิลำเนา กทม.) ต่างจังหวัด สำนักงานสรรพากรอำเภอหรือสาขาหรือกิ่งอำเภอในท้องที่ ผู้เสียภาษีมีภูมิลำเนา หรือยื่นต่างท้องที่ก็ได้ สำนักงานสาขาทุกสาขาของธนาคารพาณิชย์ไทยที่ตั้งอยู่ในจังหวัดต่าง ๆ โดยผู้เสียภาษีต้องยื่นแบบรายการและชำระที่ธนาคารในอำเภอ หรือกิ่งอำเภอที่มีภูมิลำเนา

ภาษีเงินได้นิติบุคคล เป็นภาษีที่จัดเก็บจากเงินได้ของบริษัท หรือห้างหุ้นส่วน นิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย กฎหมายต่างประเทศ ซึ่งมีหน้าที่เสียภาษีเงินได้นิติบุคคลในประเทศไทย หรือ กิจการร่วมค้า ยกเว้น กระทรวง ทบวง กรม องค์การ ของรัฐบาลสหกรณ์มูลนิธิ หรือสมาคมที่เป็นองค์การ สาธารณกุศล และกิจการที่ได้รับยกเว้นตามสัญญาว่าด้วย ความร่วมมือระหว่างประเทศ

เกณฑ์การเสียภาษีนิติบุคคล  ต้องยื่นเสียภาษีเมื่อครบรอบระยะเวลาบัญชี 12 เดือน เริ่มต้นหรือสิ้นสุดลงเมื่อใดก็ได้  อัตราภาษี ร้อยละ 30 ของกำไรสุทธิ(เกณฑ์สิทธิ์) ในรอบบัญชี  ยื่นแบบรายการ + ชำระภาษี ปีละ 2 ครั้ง  ยื่นแบบ ภ.ง.ด.51 ภายใน 2 เดือน นับจากวันสุดท้ายของ ทุกเดือนแรกของรอบระยะเวลาบัญชี โดยประเมินกำไรสุทธิ  ยื่นแบบ ภ.ง.ด.50 ภายใน 150 วัน นับจากวันสุดท้ายของรอบ ระยะเวลาบัญชี 12 เดือน เป็นการยื่นแบบตามกำไรสุทธิที่เกิด จริง หักด้วยเครดิตภาษีที่ได้ยื่นไว้ก่อนในระยะ 6 เดือนแรกแล้ว

สถานที่ยื่นแบบแสดงรายการภาษีเงินได้นิติบุคคล กรุงเทพมหานคร สำนักงานเขตท้องที่ที่สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ ธนาคารพาณิชย์ไทยและสาขาในเขตกรุงเทพมหานคร จังหวัดอื่น ที่ว่าการอำเภอหรือกิ่งอำเภอท้องที่ที่สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ ถ้าสำนักงานสรรพากรอำเภอไม่ได้ตั้งอยู่ ณ ที่ว่าการอำเภอให้ยื่น ณ สำนักงานสรรพากรอำเภอ สำนักงานสาขาของธนาคารพาณิชย์ไทยในเขตอำเภอ หรือกิ่งอำเภอท้องที่ที่สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่

ภาษีมูลค่าเพิ่ม (Vat) เป็นภาษีที่รัฐบาลเรียกเก็บจากมูลค่าของสินค้า หรือบริการส่วนที่เพิ่มขึ้น จากการขายสินค้า หรือการให้บริการของผู้ประกอบการ รวมทั้ง จัดเก็บจากการนำเข้า ไม่ว่าผู้นำเข้าจะเป็น ผู้ประกอบการหรือไม่ก็ตาม

เกณฑ์การจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม ผู้ประกอบการที่มีรายรับก่อนหักรายจ่ายใด ๆ 1.8 ล้านบาทต่อปี ต้องจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มและเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม ในอัตรา ร้อยละ 7 (พรก. 6.3 + ภาษีท้องถิ่น ร้อยละ 0.7) ภาษีมูลค่าเพิ่มที่ต้องชำระ = ภาษีขาย – ภาษีซื้อ ภาษีขาย > ภาษีซื้อ = ต้องชำระตามส่วนแตกต่าง ภาษีซื้อ > ภาษีขาย = ขอคืนภาษีตามส่วนแตกต่าง ผู้ประกอบการต้องยื่นแบบทุกเดือนภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป ไม่ว่าจะมีรายรับเกิดขึ้นหรือไม่

ตัวอย่าง ภาษีมูลค่าเพิ่ม บริษัท อุดมเอกเครื่องหนัง จำกัด ซื้อหนัง ด้าย และกาว ใช้ผลิตกระเป๋าหนัง 100,000 บาท เสียภาษีมูลค่าเพิ่ม ตามใบกำกับภาษี 7,000 บาท และจำหน่ายกระเป๋าให้ ลูกค้า 180,000 บาท เก็บภาษีขายจากผู้ซื้อได้ 12,600 บาท ภาษีมูลค่าเพิ่มที่ต้องชำระ = ภาษีขาย – ภาษีซื้อ = 12,600 – 7,000 บาท = 5,600 บาท

กิจการที่ได้รับการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม การขายสินค้า :-  การขายสินค้าหรือให้บริการ ที่มีรายรับไม่เกิน 1.8 ล้านบาทต่อปี  การขายพืชผลทางการเกษตร ไม่ว่าจะเป็นส่วนใด ๆ ของพืช ฯลฯ การให้บริการ :-  การให้บริการการศึกษาของสถานศึกษาของราชการและเอกชน  การให้บริการสีข้าว /เช่าอสังหาริมทรัพย์ /ให้บริการตามสัญญา จ้างแรงงาน ฯลฯ การนำเข้า :-  การนำเข้าพืชผลทางการเกษตร  การนำเข้าสินค้าจากต่างประเทศเข้าไปในเขตอุตสาหกรรมส่งออก

ภาษีธุรกิจเฉพาะ เป็นภาษีทางอ้อมที่จัดเก็บจากการบริโภค เริ่มใช้ บังคับปี พ.ศ.2535 แทนภาษีการค้าที่ยกเลิก โดย จัดเก็บเฉพาะกับกิจการที่ประกอบธุรกิจบาง ประเภท ไม่ว่ากิจการนั้นจะเป็นกิจการเจ้าของ คนเดียว ห้างหุ้นส่วนสามัญ ห้างหุ้นส่วนจำกัด หรือบริษัทจำกัด

กิจการที่ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ การธนาคารพาณิชย์ การประกอบธุรกิจเงินทุน ธุรกิจหลักทรัพย์ ธุรกิจเครดิตฟองซิเอร์ การรับประกันชีวิตและการรับประกันวินาศภัย การรับจำนำ การประกอบกิจการโดยปกติเยี่ยงธนาคารพาณิชย์ เช่น การให้ กู้ยืมเงิน การค้ำประกัน การแลกเปลี่ยนเงินตรา การออก ซื้อ หรือขายตั๋วเงิน หรือการรับส่งเงินไปต่างประเทศ การขายอสังหาริมทรัพย์เป็นการค้าหรือหากำไรตามหลักเกณฑ์ ที่กฎหมายกำหนด

อัตราภาษีธุรกิจเฉพาะ กิจการ ฐานภาษี อัตราภาษีร้อยละ กิจการธนาคาร ธุรกิจเงินทุน ธุรกิจ หลักทรัพย์ เครดิตฟองซิเอร์ กิจการ เยี่ยงธนาคารพาณิชย์ ดอกเบี้ย ส่วนลด ค่าธรรมเนียม ค่าบริการ กำไรก่อนหักรายจ่ายจาการซื้อหรือขายตั๋วเงิน การแลกเปลี่ยนหรือซื้อขายเงินตราต่างประเทศ 3.0 กิจการรับประกันชีวิต ดอกเบี้ย ค่าธรรมเนียม/บริการ 2.5 กิจการโรงรับจำนำ ดอกเบี้ย ค่าธรรมเนียม ค่าตอบแทน ประโยชน์ที่ได้ การค้าอสังหาริมทรัพย์ รายรับก่อนหักรายจ่ายใด ๆ การขายหลักทรัพย์ในตลาดหลักทรัพย์ ฯลฯ 0.1 (ยกเว้น) รายรับก่อนหักรายจ่ายใด ๆ

การยื่นชำระภาษีธุรกิจเฉพาะ จดทะเบียนยื่นแบบ ภ.ธ.01 ภายใน 30 วัน นับจากวันเริ่ม ประกอบกิจการต่อสำนักงานภาษีสรรพากรเขตพื้นที่ หรือ สรรพากรจังหวัดในเขตที่ตั้งของสถานประกอบการ ชำระภาษียื่นแบบ ภ.ธ.40 (แสดงประเภทกิจการ จำนวน รายรับ จำนวนภาษีธุรกิจเฉพาะตามอัตรา + ภาษีท้องถิ่น 10%) เป็นรายเดือนภาษี ต้องยื่นภายในวันที่ 15 ของเดือน ถัดไป

อากรแสตมป์ เป็นภาษีอากรที่เรียกเก็บจากการทำตราสาร 28 ประเภท ตาม กำหนดในบัญชีอัตราอากรแสตมป์ เช่น 1. การเช่าที่ดิน โรงเรือน สิ่งปลูกสร้าง แพ 1 บาท/1,000 บาท 2. การโอนใบหุ้น ใบหุ้นกู้ พันธบัตร ใบรับรองหนี้ 3. การเช่าซื้อทรัพย์สิน 4. การจ้างทำของ 5. การกู้ยืมเงินหรือการกู้แบบเบิกเงินเกินบัญชี 1 บาท ต่อ 2,000 บาท

อากรแสตมป์ (ต่อ) 6. กรมธรรม์ประกันภัย ประกันวินาศภัย 1 บาท/250 บาท ประกันชีวิต 1 บาท/2,000 บาท สูงสุดไม่เกิน 20 บาท ประกันภัยอื่น 1 บาท/2,000 บาท 28. ใบรับ การโอนหรือก่อตั้งสิทธิใด ๆ เกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ 1 บาท การขาย ขายฝาก ให้เช่าซื้อ โอนกรรมสิทธิ์ ยานพาหนะ 1 บาท/200 บาท

วิธีการเสียค่าอากรแสตมป์ ผู้ได้รับรายได้จากกิจกรรมต่าง ๆ ทั้ง 28 ประเภท เป็นผู้เสีย ค่าอากรแสตมป์การทำตราสาร เรียกว่า “ปิดแสตมป์บริบูรณ์” ใช้แสตมป์ปิดทับ โดยซื้ออากรแสตมป์มาปิดทับเอกสาร ใช้แสตมป์ดุน โดยยื่นตราสารให้เจ้าหน้าที่ประทับแสตมป์ดุน และชำระเงินตามจำนวนอากรแสตมป์ที่ต้องเสียและขีดฆ่า ชำระเป็นตัวเงิน โดยเสียอากรเป็นตัวเงินแก่เจ้าหน้าที่ตาม อัตราที่กำหนด สำหรับมีเอกสารที่เสียอากรแสตมป์มาก โดย มีการประทับข้อความที่ตราสารว่าได้ชำระอากรแสตมป์แล้ว

แนะนำแหล่งข้อมูลเพิ่มเติม http://www.rd.go.th กรมสรรพากร http://www.thailocaladmin.go.th กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น

ภาระงาน/คะแนน ตอบคำถามใบงานทั้งหมด5ใบงาน (20pt) > email สืบค้นแสดงขั้นตอนวิธีการยื่นแบบรายการแสดงภาษีผ่านอินเตอร์เน็ท (5pt)>email สืบค้นจากหัวข้อต่อไปนี้ (20pt) ทุกหัวข้อ> ปริ้น ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษีอากร การเก็บภาษีอากรและการพัฒนาประเทศของรัฐบาล ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดากับประชาชนทั้งประเทศ สำคัญต่อรายได้ของรัฐบาลอย่างไร ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและประเภทเงินได้พึงประเมิน การหักค่าใช้จ่าย และค่าลดหย่อนเงินได้พึง ประเมินมีผลต่อประชาชนอย่างไร การหักค่าใช้จ่ายและการหักค่าลดหย่อนออกจากเงินได้พึงประเมิน โดยให้นักศึกษารวบรวมแล้วจัดทำรูปเล่มรายงานส่งในวันที่ 24 พ.ค. 58

ติดต่อ/ส่งงาน/สื่อการเรียน นางสาวศรารัตน์ วรรณแจ่ม (มิ้นท์) 0990034183 E-mail :Sararat.wan@gmail.com E-leaning/media :https://teacharcommint.wordpress.com/