โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ 5 รอบ ” เขตสุขภาพที่ 4 นพ. วันชัย สัตยาวุฒิพงศ์ ผู้ตรวจราชการกระทรวง นพ. สมยศ ศรีจารนัย สาธารณสุขนิเทศก์
วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้เด็กที่เกิดตั้งแต่เดือนเมษายน 2558 ทุกคนได้รับการเฝ้าระวังและ ติดตามการส่งเสริม กระตุ้นพัฒนาการเด็กอย่างต่อเนื่อง โดยพ่อแม่ ผู้ดูแลเด็ก และอาสาสมัครสาธารณสุขเชี่ยวชาญและบุคลากรสาธารณสุข ในพื้นที่ 2. เพื่อคัดกรองและส่งเสริม กระตุ้นพัฒนาการสมวัยของเด็กทุกคน ในประเทศไทย ที่เกิดก่อน 1 เมษายน 2558 ตามช่วงอายุ และ 42 เดือน โดยบุคลากรสาธารณสุขในพื้นที่
จังหวัดในเขตสุขภาพที่ 4 และจำนวนเด็กปฐมวัย 4 ช่วงอายุ 18,576 19,097 5,976 5,538 6,696 13,043 7,531 9,572
การดำเนินงานปี 2559 เขตสุขภาพที่ 4 ความครอบคลุม ความถูกต้อง 1. พัฒนาคุณภาพในการเฝ้าระวังและคัดกรอง ความครอบคลุม ความถูกต้อง 2. การจัดระบบบริการที่สถานบริการ และการดูแลต่อเนื่อง มี CPM. อำเภอ SM : กุมารแพทย์ที่ปรึกษา 3. พัฒนาระบบส่งต่อและส่งกลับ 4. พัฒนาศักยภาพบุคลากรสาธารณสุขระดับ รพช./ รพศ / รพท. ในการดูแลเด็กที่มีพัฒนาการล่าช้า 5. พัฒนาศักยภาพพ่อ แม่ ผู้ปกครอง อสม. ครูพี่เลี้ยง การบูรณาการส่งเสริม พัฒนาการเด็ก การเฝ้าระวัง การกระตุ้นพัฒนาการ การรับบริการเมื่อส่งต่อ 7. การประสานความร่วมมือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 6. การประชาสัมพันธ์ : พัฒนาการเด็ก
งบ ปี 2558 พัฒนาศักยภาพ บุคลากร บันทึก ข้อมูลและ รายงานผล ระบบส่งต่อ - สป. 940, 000 บาท - สป. ส ช. 5 ล้าน บาท 1. คัดกรอง พัฒนาการ โดยบุคลากร สาธารณสุข DSPM/DAIM= ฟื้นฟู / ทบทวน TEDA4 I = อบรม ทุกอำเภอๆละ 1-3 คน รวม 91 คน 2. เฝ้าระวัง / ส่งเสริมพัฒนาการ 1. โปรแกรม TCDIP(on web) 2. โปรแกรม + รายงาน จากพื้นที่ การดำเนินงานโครงการฯ ปี ปัจจุบัน
ผลการดำเนินงาน
การพัฒนาระบบบริหารจัดการโดยใช้ข้อมูล เพื่อการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก : ลพบุรี
ติดตามเด็กที่สงสัย พัฒนาการล่าช้า หน่วยบริการตรวจสอบ ข้อมูลกลุ่มเป้าหมายที่ มีในพื้นที่ สสอ /CPM.= ติดตาม ข้อมูลระดับอำเภอ คำนวณ กลุ่มเป้าหมาย โดย IT สสจ. ตรวจสอบผลการ ดำเนินงาน ได้ ทุกวันที่ 10, 20, 30 แนวทางการติดตามกำกับการดำเนินงาน Data center สสจ. ลพบุรี
คำน วณ ราย อำเภ อ จำแ นก ราย ตำบ ล ระบุ รายชื่อ กลุ่ม เป้าหม าย การพัฒนาระบบติดตาม กลุ่มเป้าหมาย
ติดตาม... ผลการดำเนินงาน จำแนกราย อำเภอ ยังไม่ได้รับการ คัดกรอง ข้อมูล ราย ตำบล รายละเอี ยด รายบุคค ล พัฒนาการสงสัย ล่าช้า
กรณีสงสัยล่าช้าและอยู่ระหว่างการติดตาม ( ภายใน 60 วัน )..... ระบุจำนวนวันที่ใช้ไปแล้ว
กรณีสงสัยล่าช้าและขาดการติดตาม... ระบุรายละเอียด ( ชี้เป้าหมาย )
ผลการกระตุ้นพัฒนาการเด็กสงสัยล่าช้าวัย 9 เดือน ติดตามประเมินเมื่ออายุครบ 18 เดือน ในเดือนมกราคม – มีนาคม 2559 จังหวัดลพบุรี
การฟื้นฟูทักษะตรวจคัดกรอง พัฒนาการเด็กปฐมวัย : ลพบุรี - ทบทวนประเด็น ปัญหาที่เกิดขึ้น - เตรียมหลักสูตร ( ครู ก.) พัฒนา ครู ก. - ด้านวิชาการ : VDO/ บรรยาย - ทักษะการคัดกรอง : ประเมินเด็กรายคน - แลกเปลี่ยนเรียนรู้ พัฒนา ครู ข. - แบ่งโซน 4 ทีม – แจ้งให้ ทบทวนความรู้ VDO - ชี้แจงวัตถุประสงค์ - ด้านวิชาการ : VDO / บรรยาย - ทักษะการคัดกรอง : ประเมินเด็ก ( จับคู่สังเกตการณ์ + ครูก.) - แลกเปลี่ยนเรียนรู้ สรุปผลการดำเนินการ + และ แนวทางการพัฒนาต่อเนื่อง - การประเมิน ระบบประสาท และพัฒนาการ Red Flag - การใช้คู่มือ DAIM 1. การเตรียมการ 2. การสร้างสัมพันธภาพ 3. ทักษะการประเมิน 4. การให้ข้อมูลหลังการประเมิน
การพัฒนาศักยภาพบุคลากร : คุณภาพการคัดกรอง กรณีจังหวัดลพบุรีพบประเด็น 1. ขั้นตอนการเตรียมความพร้อมของผู้ประเมิน และผู้เข้ารับการตรวจคัดกรอง ผู้ปกครองช่วยเด็ก 2. ไม่เข้าใจวัตถุประสงค์ของเนื้อหาการประเมิน ( ไม่ทำตามขั้นตอน รายละเอียดในแต่ละข้อ ) ผู้ประเมินช่วยเด็ก 3. ขาดการสรุปและแจ้งผลการประเมิน ตลอดจนไม่ได้ให้คำแนะนำผู้ปกครอง 4. การใช้อุปกรณ์ป้องกันการแพร่เชื้อของเจ้าหน้าที่ การใช้ภาษาท้องถิ่น
ปัญหา - อุปสรรค 1. ความครอบคลุม และคุณภาพการคัดกรอง 2. การติดตามไม่ครอบคลุม ทั้งกรณีสงสัยล่าช้า และกรณีส่งต่อ 3. การจัดการภาระงาน 4. สถานที่ไม่เหมาะสม ( บางแห่ง ) 5. การสร้างความเข้าใจ ความตระหนักในเรื่องพัฒนาการเด็ก 1.1 /2/2
แผนการพัฒนาต่อเนื่อง 1. การพัฒนาคุณภาพ การคัดกรอง ศูนย์อนามัยสุ่มประเมิน 2. การพัฒนาระบบบริหารจัดการโดยใช้ข้อมูล เพื่อการส่งเสริมพัฒนาการเด็กในระดับเขต 3. การประชาสัมพันธ์