แนวคิดและรูปแบบการฟื้นฟูผู้ป่วยจิตเวช แบบการฟื้นคืนสู่สุขภาวะ สุชาดา สาครเสถียร BSc (PT), MOT. ที่ปรึกษาโรงพยาบาลศรีธัญญา.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การสอบวัดคุณสมบัติสำหรับนักศึกษาปริญญาเอก (Qualify Examination : QE)
Advertisements

การบริหารเชิงกลยุทธ์แบบบูรณาการ
INTREGRATION H A & H P H.
Strategic management MBA Rajaphat Chiangmai University
1Intro to IT Governance.
Customer Relationship Management (CRM)
นวัตกรรมการบริหารจัดการ เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา
My Profile. Samart Kittiruangwittaya สามารถ กิตติเรืองวิทยา ( มาร์ค )
โครงงานคืออะไร หลักการของการเรียนรู้ของ โครงงาน จุดมุ่งหมายของการจัดการเรียนรู้ ด้วยโครงงาน โครงงานกับการเรียนรู้แบบต่างๆ ลักษณะเด่นของการเรียนรู้ด้วย.
1 1 การพัฒนาภาวะผู้นำ กับการบริหารการเปลี่ยนแปลง อนุชิต ฮุนสวัสดิกุล สำนักงาน ก.พ.ร.
1 ทบทวน แผนกลยุทธ์สำนักงาน เขต พื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 9.
PMQA Organization เอกสารประกอบการชี้แจงตัวชี้วัดการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ สำหรับส่วนราชการระดับกรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ วันที่ 28 ตุลาคม.
บทสรุป “เทคนิคการบริหารองค์กร ในมุมมองของผู้บริหาร” จาก... นายแพทย์เสรี หงษ์หยก รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข นายธวัชชัย ไทยเขียว อธิบดีกรมพินิจและคุ้มครองเด็ก.
การฝึกอบรมคืออะไร.
การพัฒนาการเรียนการสอนระดับอุดมศึกษากับการขับเคลื่อนประเทศไทย ๔.๐
วิชา การพัฒนางานด้วยระบบคุณภาพและเพิ่ม ผลผลิต (Work Development with Quality Management.
แนวคิดและแนวทางการดำเนินงาน ฟื้นฟูสมรรถภาพและการฟื้นคืนสู่สุขภาวะ
บทที่ 4 เทคนิคการแตกโครงสร้างงาน Work Breakdown
ณ โรงแรมบางกอกพาเลส กทม.
Training การฝึกอบรม.
ระบบสารสนเทศในงานบริหารงานบุคคล และการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทบาท Peer กับการคือสู่สุขภาวะ
การพัฒนาบุคลากรด้านโลจิสติกส์ เพื่อเข้าสู่ Industry 4.0
Module 2 The Stage of Change
Human resources management
การจัดการเชิงกลยุทธ์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วัลยา ธเนศพงศ์ธรรม ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายวิชาการ
แพทย์หญิง ฐนิตา สมตน เวชศาสตร์ครอบครัว โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี
ภาวะผู้นำทางการศึกษา
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เชิงกลยุทธ์
11 May 2014
นำเสนอโดยนายอนุสรณ์ โชติชื่น และนายสมศักดิ์ พัดพรม
การส่งเสริมสุขภาพช่องปาก และการป้องกันโรคในช่องปากผู้สูงอายุ
คุณภาพแบบเรียบง่าย ผ่อนคลายด้วย SPA
การส่งเสริมสุขจิต วิชาวิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม
ทิศทางการดูแลสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ
บทที่ 3 ระบบสารสนเทศกับการบริหารองค์กร
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสุขภาพ
Advanced Topics on Total Quality Management
ประสบการณ์การทำงาน ชื่อ – ชื่อสกุล นายมานะ ครุธาโรจน์
Thailand Standards TMC.WFME.BME. Standards (2017)
Student activity To develop in to the world community
Human Capital Management & Human Capital Investment
แผนกลยุทธ์ กรมชลประทาน
มิถุนายน 2548 การประชุมเชิงปฏิบัติการครั้งที่ 2
กระบวนการพัฒนาระบบงาน
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับโครงการ
ดร. ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์
ระบบการประกันคุณภาพอาชีวศึกษา
ความหมายและความสำคัญ ของการประเมินภาคปฏิบัติ (Performance Assessment)
Techniques Administration
กลยุทธ์การจัดการทรัพยากรมนุษย์
การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ
หมู่บ้านอาสาพัฒนาและป้องกันตนเอง
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ อิศรญาณภาษิต By Pratchanee P. 2/2015.
(ร่าง) แผนที่ยุทธศาสตร์กรมกิจการเด็กและเยาวชน
การตรวจสอบภายในภาครัฐ
วิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Software Engineering)
กลยุทธ์ด้านทรัพยากรมนุษย์และการฝึกอบรม
ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เชิงกลยุทธ์
การบริหารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management)
การพัฒนาเครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้
บทที่ 2 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสุขภาพ
13 October 2007
Public Health Nursing/Community Health Nursing
วิชา การจัดการทรัพยากรมนุษย์ Human Resource Management
เทคนิคการเขียน Resume
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
TQS : Total Quality Service การบริการคุณภาพทั่วองค์การ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวคิดและรูปแบบการฟื้นฟูผู้ป่วยจิตเวช แบบการฟื้นคืนสู่สุขภาวะ สุชาดา สาครเสถียร BSc (PT), MOT. ที่ปรึกษาโรงพยาบาลศรีธัญญา

การฟื้นฟูสมรรถภาพ ผู้ป่วยจิตเวช Psychiatric Rehabilitation

วัตถุประสงค์ของการฟื้นฟูสมรรถภาพ หยุดการเสื่อมถอยทั้งด้านอาการและผลกระทบ รักษาระดับความสามารถในการปฏิบัติหน้าที่ที่ เหลืออยู่ - ความสามารถด้านสมอง - ความสามารถด้านการปฏิบัติหน้าที่ตาม บทบาท ในครอบครัว สังคม และชุมชน

ผลลัพธ์จากการฟื้นฟูสมรรถภาพ ลดระยะเวลาการอยู่โรงพยาบาลและการเข้ารับ รักษาในโรงพยาบาลมีจำนวนครั้งน้อยลง เพิ่มความสามารถในการพึ่งพาตนเอง ลดภาระการดูแล กลับไปมีบทบาท ประกอบอาชีพตามวัย อายุ และบริบทที่เหมาะสม เพิ่มคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น

วิธีการฟื้นฟูสมรรถภาพ การฟื้นฟูสมรรถภาพทางจิตสังคม หรืออาจเรียกว่าการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยจิต เวช เป็นขบวนการในการช่วยบุคคลได้เกิดการ - พัฒนาทักษะ - เข้าถึงสิ่งสนับสนุนที่เอื้อต่อการเพิ่ม ความสามารถและมีความพึงพอใจในมิติชีวิต 4 ด้าน คือ การดำรงชีวิต การเรียนรู้ การ ประกอบอาชีพและด้านสังคม -

6 ชนิดของทักษะ (Skill Type) ทักษะทางกาย (physical skills) ทักษะทางอารมณ์ (emotional skills) ทักษะทางปัญญา (intellectual skills) ทักษะทางสังคม (Social Skills) Comprehensive by Skill Type

7 ชนิดของแหล่งสนับสนุน (Type of Resource) บุคคล (supportive people) สถานที่ (supportive places) สิ่งของ (supportive thing) กิจกรรม (supportive activities)

บทบาท ภารกิจ บุคคลสิ่งแวดล้อม

ปัจจัยที่มีผลต่อการปฎิบัติตนตามบทบาทของ บุคคลและบทบาทในสังคมที่เหมาะสม ลักษณะของบุคคล เช่น อาการ ประสบการณ์ที่ผ่านมา ทักษะตามบทบาท และขีดจำกัดของการปฎิบัติตามบทบาท ความคาดหวังของชุมชนต่อการปฎิบัติตัว ตามบทบาท การสนับสนุนจากชุมชน

รูปแบบกิจกรรมตามภารกิจ / บทบาท การปรับตัวเข้าได้ทุก สภาพแวดล้อม การบำรุงรักษาตนเอง การทำกิจกรรม ในเวลาว่าง การทำงาน บุคคล การรับความรู้สึก การเคลื่อนไหว จิต สังคม ความรู้ความเข้าใจ ความคิดสร้างสรรค์ ร่างก าย

การทำงาน (productivity/work) การประกอบกิจกรรม การบำรุงรักษาตนเอง (self-maintenance) กิจกรรมยามว่าง (leisure) กิจกรรมและ ความสมดุล

ฝึกทักษะ/กิจกรรม ?? ที่มีอยู่ ความต้องการ ฝึก ทักษะ ทักษะ ทักษะที่ต้องใช้ ที่ขาด บุคคล บุคคล จัดหา การเงิน การเงิน สิ่งสนับสนุน สถานที่ สถานที่ บทบาท ภารกิจ บทบาท การ ปฏิบัติหน้าที่ สิ่ง สนับสนุน สิ่งสนับสนุนที่ เอื้อต่อ ความสำเร็จ ของเป้าหมาย ที่ตั้งไว้

รูปแบบบริการฟื้นฟูแบบดั้งเดิม ผู้ป่วยใน ในตึกผู้ป่วย ส่งไปทำกิจกรรม / โอที ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพ บ้านกึ่งวิถี ผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลกลางวัน ในชุมชน คู่มือดูแลผู้ป่วยในชุมชน กลุ่มชมรมญาติ อสม.

RECOVERY MODEL การฟื้นคืนสู่สุขภาวะ

ความหมาย William Anthony “ ขบวนการเปลี่ยนแปลงด้วยการดำเนินการของบุคคลในการที่ จะ ปรับปรุงสุขภาพและการมีความสุขของตน ดำรงชีวิตตามวิถีทาง ที่เขาเลือกเอง และฝ่าฟันอุปสรรคเพื่อให้บรรลุถึงความสามารถ เต็มตามศักยภาพของเขา ” Recovery Working Definition by SAMHSA:

กุญแจสำคัญของขบวนการ ฟื้นคืนสู่สุขภาวะ  การค้นหาความหวังและยึดถือเป็นเป้าหมาย เชื่อในตนเอง มีความรับผิดชอบ มองโลกอนาคต ในแง่ดี  สร้างภาพลักษณ์ด้านดีใหม่ ค้นหาภาพลักษณ์ใหม่ถึงแม้ว่ายังมีอาการอยู่ มีความรู้สึกที่ดีต่อ ตนเอง  ค้นหาชีวิตที่มีความหมายและสร้างแนวทางการดำรงชีวิตอย่างมี ความหมาย  รับผิดชอบและควบคุมตนเอง รู้สึกว่าควบคุมอาการและตนเองได้

4 กุญแจสำคัญในการถอดรหัสการฟื้นพลังชีวิต ถอดรหัส การฟื้น พลังชีวิต กระตุ้นให้เกิด ความรับผิดชอบ ค้นหา ความหมาย ในชีวิต ทบทวนหน้าที่/บทบาท ตนเอง ค้นหา ความหวัง ปัทมา ศิริเวช..27 NOV 2011

ทางเดินไปสู่การมีสุขภาวะ องค์ประกอบ 10 ประการ 1.Self-Direction มีอิสระ ในการตัดสินใจเลือก จุดมุ่งหมายในชีวิตและ ออกแบบเส้นทางเดิน เพื่อให้บรรลุจุดประสงค์ เหล่านั้น 2. Individualized and person-centered มีการ วางแผนเป็นรายบุคคล

ทางเดินไปสู่การมีสุขภาวะ 3. Empowerment เสริมสร้างพลังชีวิต 4. Holistic บริการแบบองค์รวม(Holistic) 5. Nonlinear การฟื้นสู่สุขภาวะ เป็นขบวนการที่เป็นแนวระนาบ เดียว 6. Strengths-based การฟื้นสู่สุขภาวะนั้นเน้นการนำเอาจุดที่ดี มาใช้ 7. Peer Support การสนับสนุนซึ่งกันและกัน 8. Respect การเคารพและให้เกียรติกัน 9. Responsibility ความรับผิดชอบ 10.Hope ความหวัง

Recovery เป็นการเดินทางของ บุคคล Recovery ไม่ใช้สิ่งที่เราจัดหาให้. ถูกกำหนดโดยผู้รับบริการภายใต้บริบทของเขา ผู้ให้บริการเป็นเพียงพี่เลี้ยงที่คอย ประคับประคองอยู่ข้างๆ

21 การเปลี่ยนแปลงกระบวนทัศน์ เน้นอาการ ความเจ็บป่วย ความบกพร่อง บทบาทของผู้รับบริการ-ผู้ให้บริการ จะ เป็นไปตามจุดมุ่งหมายของการรักษา แรงจูงใจสำหรับการเปลี่ยนแปลงเป็นใน รูปแบบของการลงโทษ การใช้ยาอย่างต่อเนื่องเป็นกุญแจสำคัญ ความรับผิดชอบในการรักษาและ ความก้าวหน้าตกอยู่ที่ผู้ให้บริการ บริการมักจะอยู่ในระบบสุขภาพจิต เน้นที่ ความเข้มแข็ง เป้าหมาย ทิศทางที่ จะไปสู่จุดหมายปลายทาง ความเป็นพันธมิตรกันจะขึ้นอยู่กับ บทบาทที่มีคุณค่า เน้นที่เป้าหมายการฟื้นคืนสู่สุขภาวะ พลัง ชีวิตของแต่ละบุคคลและการให้ความรู้ แรงจูงใจสำหรับการเปลี่ยนแปลง ขึ้นอยู่ กับเป้าหมายของตนเองในแต่ละบุคคล การใช้ยาขึ้นกับการเลือกและคุณค่าของ บุคคล มีการให้ความสนับสนุนรายบุคคลเพื่อให้ สามารถรับผิดชอบในการควบคุมกำกับ พฤติกรรมของตนเอง เน้นการใช้แหล่งทรัพยากรตาม ธรรมชาติในชุมชน จากไปสู่

แบบดั้งเดิม อาการคงที่ การใช้ยาต่อเนื่อง การควบคุม การเน้นความบกพร่อง ความคาดหวังต่ำ การเปลี่ยนกระบวนทัศน์ด้านการบำบัดรักษา การฟื้นคืนสู่สุขภาวะ ความหวังในอนาคต ทางเลือก ทำงานร่วมกัน เน้นความเข้มแข็ง ความคาดหวังสูง

แบบดั้งเดิม ประสบการณ์เรียนรู้แบบ สิ้นหวัง ได้รับการปกป้องจาก ความล้มเหลว ให้มีอาการคงที่เป็น ผลลัพธ์ที่พอใจ การเปลี่ยนแปลงกระบวนทัศน์ด้านการรักษา Recovery มีส่วนร่วมอย่างจริงจัง ความเสี่ยงได้รับการ สนับสนุนช่วยเหลือ การดำรงชีวิตอย่างมี ความหมายเป็นผลลัพ์ที่ พอใจ

ความเข้มแข็ง (Strength) ความเข้มแข็ง (Strength) –ถูกกำหนดโดยผู้รับบริการ ผู้ให้บริการและผู้ให้การสนับสนุน ตามธรรมชาติ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ปัจจัยจากสิ่งแวดล้อมที่จะไปเพิ่มความสำเร็จในการ ดำเนินชีวิต กำหนดแรงจูงใจ คุณภาพของบุคคลที่ดีที่สุด กลยุทธมีพร้อมที่จะนำไปช่วย การประสบความสำเร็จ ความสามารถ ความสนใจและกิจกรรมที่ชอบ –ความเข้มแข็งไม่ควรเก็บไว้บนหิ้ง - ควรใช้ให้เป็นประโยชน์ ในการพัฒนาแผน

หลักการและคุณค่าของการฟื้นคืนสู่สุขภาวะ การกระตุ้นให้เกิดความหวัง เพื่อสร้างพลังชีวิต การมีอิสสระในการตัดสินใจเลือก มุ่งที่จะนำเอาจุดที่ดีมาใช้ ภายใต้หลักการว่าทุกคนมีศักยภาพในการเรียนรู้และ เจริญเติบโต ให้ความเชื่อถือและให้เกียรติ ให้บริการแบบผสมผสาน วางแผนเป็นรายบุคคล เน้นเรื่องชุมชน บริการแบบองค์รวม Holistic คำนึงถึงวัฒนธรรม

เงื่อนไขสำคัญ เงื่อนไขภายใน (Key Internal Condition ) * การมีความหวัง * มีความต้องการที่จะได้รับการเยียวยา * การสร้างพลังชีวิต เงื่อนไขภายนอก (Key External Condition) * วัฒนธรรมการเยียวยาที่เป็นด้านบวก * สิทธิมนุษยชน * บริการฟื้นฟูสมรรถภาพแบบการฟื้นคืนสู่สุขภาวะ

27 บุคคลต้องการอะไรบ้าง  คุณภาพชีวิต  การศึกษา  การทำงาน  ที่อยู่อาศัย  สุขภาพ การมีความสุข  บทบาทที่มีคุณค่า จัดการกับชีวิตของตนเอง มีโอกาสในสังคมประสบ ความสำเร็จ การเดินทาง การปฏิบัติภารกิจทางศาสนา พึงพอใจกับสัมพันธภาพ ในการมีส่วนของการดำรงชีวิตในชุมชน

ทักษะการใช้ชีวิตในชุมชน 1.การบริหารจัดการเรื่องยาด้วยตนเอง 2.การจัดการอาการด้วยตนเอง 3.การบริหารจัดการเรื่องสารเสพติด 4.การพักผ่อนและกิจกรรมยามว่าง 5.การสื่อสารเบื้องต้น 6.พื้นฐานงานอาชีพ 7.สัมพันธภาพระหว่างบุคคล 8.การกลับคืนสู่สังคม

ตัวอย่างของ Intervention IMR IMVR Social Skill Training Remediation Cognitive Supported employment Social Enterprise Case management services Residential treatment programs Supported education programs

การดำเนินงานกระบวนการ ฟื้นฟูสมรรถภาพ การดำเนินงานกระบวนการฟื้นฟู สมรรถภาพ กระทำได้โดยมีการวินิจฉัย วางแผน และปฏิบัติการ (DPI) ด้วย ความเคารพต่อการทำหน้าที่ได้อย่าง จำกัดของอีกบุคคล อันเนื่องมาจาก อาการ และความบกพร่องจากโรคจิต เวชรุนแรง ซึ่งสามารถ ติดตาม แกะรอย (Tracking) แต่ละขั้นตอนใน กระบวนการได้

กระบวนการวินิจฉัย - วางแผน - ปฏิบัติการของการฟื้นฟูสมรรถภาพ ( Diagnosis – Planning – Intervention process ) ขั้นตอนการวินิจฉัย ( โดยผู้ปฏิบัติงาน ) - ช่วยผู้ใช้บริการให้พิจารณาตนเองถึงความ พร้อมที่จะฟื้นฟู และช่วยให้มีความพร้อม - ช่วยในการกำหนดเป้าหมายทั้งหมด - ช่วยให้เขาประเมินทักษะของเขา, ประเมินจุด แข็งที่สนับสนุน, สิ่งที่ยังขาดที่จะไปถึงเป้าหมาย ได้ ขั้นตอนการวางแผน - กำหนดวิธีการที่จะพัฒนาทักษะ และ / หรือ การ สนับสนุนให้ผู้ใช้บริการไปถึงเป้าหมายทั้งหมด ของเขา ขั้นตอนปฏิบัติการ - ทำการเปลี่ยนแปลงในตัวบุคคล และ / หรือ สิ่งแวดล้อมของเขา โดยการพัฒนาทักษะ และ / หรือพัฒนาการสนับสนุนจากสิ่งแวดล้อม ของเขา

ขั้นวางแผน - วางแผนเพื่อ พัฒนาทักษะ - วางแผนเพื่อ พัฒนา ทรัพยากร ขั้นปฏิบัติการ - สอนทักษะ โดยตรง - ใช้โปรแกรม ฝึก ทักษะ - ประสานการใช้ ทรัพยากร - ปรับทรัพยากร ขั้นวินิจฉัย กำหนดเป้าหมาย การฟื้นฟูทั้งหมด - ประเมินการทำ หน้าที่ - ประเมินทรัพยากร พร้อม ไม่พร้อม พัฒนาความพร้อม ประเมินความพร้อมใน การฟื้นฟู

การผสมผสานการฟื้นคืนสู่สุขภาวะ ในการฟื้นฟูสมรรถภาพในชุมชน.. ส่งผล ให้ผู้ป่วยจิตเวช เกิดการพัฒนาตนเอง เกิดการยอมรับตนเอง สามารถดำรงชีวิตอย่างมีความเป็น อิสระ มีสัมพันธภาพด้านบวกต่อบุคคล ต่างๆ สามารถจัดการสิ่งแวดล้อม มีจุดมุ่งหมายในชีวิต ปัทมา ศิริเวช..27 NOV 2011

สิ่งสำคัญที่พวกเรามาร่วมทำงานในการดูแลฟื้นฟู ผู้ป่วยจิตเวช มาจากจิตใจที่งดงาม... มองเห็นคุณค่าความเป็น มนุษย์ และมีจิตสาธารณะ เพราะเราเลือกที่จะไม่ทำก็ได้.... แต่เราเลือกที่จะทำ ดังนั้น โปรดรับรู้ว่า การดูแลทางจิตใจไม่ต้องการเครื่องมือที่หรู ทันสมัย ราคาแพง แต่ต้องการสิ่งสำคัญที่มีอยู่ในตัวตนของท่าน.... คือ การดูแลด้วยหัวใจความเป็น มนุษย์ของท่าน ปัทมา ศิริเวช..27 NOV 2011