โครงการศึกษาความหลากหลายทาง ชีวภาพ ป่าชายเลนทะเลสาบสงขลา ในพื้นที่มูลนิธิชัยพัฒนา ต. ปากรอ อ. สิงหนคร จ. สงขลา โดย นางสาววลีรัตน์ มูสิกะ สังข์ นายวีระ เจริญพักตร์ นายคมน์ ศิลปาจารย์
ความเป็นมา ของพื้นที่มูลนิธิชัย พัฒนา ทะเลสาบสงขลาตอนนอก ทะเลสาบสงขลาตอนกลาง ทะเลสาบสงขลาตอนใน
พื้นที่มูลนิธิชัยพัฒนา ต. ปากรอ อ. สิงหนคร จ. สงขลา นายเถกิง กาญจนะ ได้น้อมเกล้าฯ ถวายที่ดินจำนวน 30 ไร่ แด่พระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยู่หัว เพื่อทรงใช้ประโยชน์ในกิจกรรมของมูลนิธิชัยพัฒนา สะพานปากรอ เกาะนางคำ
พื้นที่มูลนิธิชัยพัฒนา ต. ปากรอ อ. สิงหนคร จ. สงขลา
ทรงพระราชทานแนวทางการดำเนินงาน โดยจัดทำเป็นแปลงศึกษา ทดลอง วิจัย ความ หลากหลายทางชีวภาพของป่าชายเลนทะเลสาบสงขลา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี องค์ประธานมูลนิธิชัยพัฒนา ทรงเสด็จ ทอดพระเนตรพื้นที่โครงการ เมื่อ 16 มกราคม 2549
มูลนิธิชัยพัฒนาได้แต่งตั้งที่ ปรึกษา ที่ปรึกษา อธิบดีกรมพัฒนาที่ดิน อธิบดีกรมประมง อธิบดีกรมทรัพยากรทาง ทะเลและชายฝั่ง เพื่อศึกษา วิจัย จัดการ ดินและน้ำ สัตว์น้ำ และปลูกป่าชายเลน
ร่วมกันศึกษา วิจัยฯ ในโครงการมูลนิธิชัย พัฒนา ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงน้ำ จืด จ. สงขลา ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมง ชายฝั่ง จ. สงขลา สถาบันวิจัยการเพาะเลี้ยง สัตว์น้ำชายฝั่ง กรมประมง โดย
วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาชนิดสัตว์น้ำในพื้นที่ โครงการฯ เพื่อศึกษาแพลงก์ตอนพืชและสัตว์ใน พื้นที่ โครงการฯ เพื่อศึกษาสัตว์หน้าดินในพื้นที่ โครงการฯ เพื่อศึกษาปริมาณสัตว์น้ำต่อหน่วย ลงแรงประมง ในพื้นที่โครงการฯ
สถานีเก็บตัวอย่าง ปี บริเวณ ทะเลสาบ คูน้ำในโครงการ คูน้ำนอกโครงการ
วิธีการศึกษา โดย ศพช. สงขลา ตัวอย่างชนิดสัตว์น้ำ เดือนละครั้ง คูน้ำในและนอกพื้นที่ศึกษา โดยใช้อวน บริเวณทะเลสาบโดยใช้ไซนั่ง
ประเมินปริมาณสัตว์น้ำต่อหน่วยลงแรงประมง (CPUE) จำนวน 2 ครั้ง โดยใช้ข่ายขนาดช่องตาต่าง ๆ กัน คือ 20, 30, 40, 55, 70 และ 90 มิลลิเมตรต่อช่องตา ครั้งที่ 1 ก่อนการปล่อยพันธุ์ปลาน้ำจืด ตุลาคม 49 ครั้งที่ 2 หลังการปล่อยพันธุ์ปลาน้ำจืด ธันวาคม 50 วิธีการศึกษา โดย ศพช. สงขลา ศึกษา เฉพาะที่คูน้ำนอกพื้นที่โครงการ
แพลงก์ตอนพืชและสัตว์ 2 เดือน/ครั้ง กล้องจุลทรรศน์ น้ำ 10 ลิตร ถุงแพลงก์ตอน 20, 100 ไมครอน ฟอร์มาลีน 5% เครื่องมือตักดิน ตะแกรงร่อน ฟอร์มาลีน 5% สัตว์หน้าดิน 2 เดือน/ครั้ง กล้องจุลทรรศน์ วิธีการศึกษา โดย สวช.
ผลการศึกษา : ชนิดสัตว์น้ำ บริเวณคูน้ำในพื้นที่ศึกษาและบริเวณคู น้ำนอกพื้นที่ศึกษา พบสัตว์น้ำ 25 ชนิด ประกอบด้วย ปลา 20 ชนิด กุ้ง 1 ชนิด หอย 2 ชนิด และปู 2 ชนิด เช่น ดุก ช่อน หมอ นิล ปู นา หอยเจดีย์
ผลการศึกษา : ชนิดสัตว์น้ำ บริเวณทะเลสาบ พบสัตว์น้ำทั้งหมด 63 ชนิด ประกอบด้วย ปลา 50 ชนิด กุ้ง 10 ชนิด ปู 2 ชนิด และกั้ง 1 ชนิด เช่น ช่อน กดหัวอ่อน หมอ หมอเทศ นิล กะดี่หม้อ ตะเพียนทราย ยอดม่วง แป้นแก้ว กุ้งกะ ต่อม ปูแสม ปูแป้น หอยขม หอยโข่ง
ผลการศึกษา : CPUE ครั้งที่ 1 จับปลาน้ำจืดได้ 12 ชนิด กระดี่ กระสูบขีด ช่อน ซิวควาย ดุกอุย ตะเพียนทราย บู่ทราย สลาด สลิด หมอ หมอช้างเหยียบ และนิล ปริมาณต่อหน่วยลงแรงประมงเฉลี่ย กรัมต่อพื้นที่ข่าย 100 ตาราง เมตรต่อ 12 ชั่วโมง
ผลการศึกษา : CPUE ขอขอบคุณ ผอ. วิชัย วัฒนกุล ศพจ. สงขลาที่สนับสนุนพันธุ์ปลาน้ำจืด ได้ปล่อยสัตว์น้ำจืดในพื้นที่เดือนมีนาคม 2550 ปลาหมอ 7,000 ตัว ปลาดุกอุย 5,000 ตัว ปลากดเหลือง 2,000 ตัว
ผลการศึกษา : CPUE ครั้งที่ 2 จับปลาน้ำจืดได้ 9 ชนิด กระดี่ กระสูบขีด ช่อน ตะเพียนทราย สลาด หมอ หมอช้างเหยียบ ไหลนา และนิล ปริมาณต่อหน่วยลงแรงประมงเฉลี่ย กรัมต่อพื้นที่ข่าย 100 ตาราง เมตรต่อ 12 ชั่วโมง
ผลการศึกษา : แพลงก์ตอน พืช 5 ไฟลัม Bacillariophyta Chlorophyta Cyanophyta Dinoflaellate Euglnophyta แพลงก์ตอนพืช 60 สกุล
ผลการศึกษา : แพลงก์ตอน พืช ชนิดที่พบมากได้แก่ Chlorella Navicula Gyrosigma Nitzschia และ Oscillatoria
ผลการศึกษา : แพลงก์ตอน สัตว์ ชนิดที่พบมากได้แก่ Copepod และไรน้ำ โดยพบ Copepod ทุกสถานี แพลงก์ตอนสัตว์ 22 ชนิด
ผลการศึกษา : สัตว์หน้าดิน ประกอบด้วย 4 ไฟลัม Arthropoda Mollusca และ Annelida สัตว์หน้าดินพบ 16 ชนิด
ผลการศึกษา : สัตว์หน้าดิน ชนิดที่พบมากได้แก่ แอมฟิ พอด ลูกกุ้ง หอยเจดีย์ และตัว อ่อนแมลงปอ
ผลการศึกษา : คุณภาพน้ำ ความ เค็ม ppt คูในคูนอกทะเลสา บ อุณหภูมิ o C คูในคูนอกทะเลสา บ
ผลการศึกษา : คุณภาพน้ำ pH คูในคูนอกทะเลสา บ ออกซิเจ น mg/L คูในคูนอกทะเลสา บ
สรุปการศึกษา ปีที่ศึกษา บริเวณโครงการและทะเลสาบ น้ำมีความเค็มต่ำเกือบทั้งปี สัตว์น้ำในโครงการที่พบ ส่วนมากเป็นสัตว์น้ำจืด สำหรับแพลงก์ตอนพืชพบ Chlorella ทุกสถานี และแพลงก์ตอนสัตว์พบโคพีพอดทุกสถานี ส่วนสัตว์หน้าดินพบแอมฟิพอดเป็นประชากรกลุ่มเด่น และพบความชุกชุมสัตว์หน้าดินมากขึ้นตามจำนวนพันธุ์ไม้ป่าชายเลนที่ปลูกในโครงการ
สรุปการศึกษา : แพลงก์ตอน พืช : ตัวชี้วัดมลภาวะ ในฤดูร้อนพบแพลงตอนพืชสกุล Nitzschia และ Oscillatoria เป็นตัวชี้วัดถึงมลภาวะที่เกิดจากสารอินทรีย์ Nitzschia บริเวณทะเลสาบ Oscillatoria
มูลนิธิชัยพัฒนา ….. ในวันนี้
ขอขอบคุณทุกกำลังใจ