แนวทางการดำเนินงานประกัน คุณภาพการทดสอบมาตรฐาน ฝีมือแรงงาน การประชุมเชิง ปฏิบัติการ สำนักพัฒนามาตรฐานและทดสอบฝีมือ แรงงาน
วัตถุประสงค์ ประเมินศักยภาพ ความพร้อม ประเมินศักยภาพ ความพร้อม ด้านสถานที่ เครื่องมือ เครื่องจักร ด้านสถานที่ เครื่องมือ เครื่องจักร การจัดเก็บข้อสอบ การจัดเก็บข้อสอบ การจัดทำทะเบียนควบคุมการเบิกจ่าย ข้อสอบ การจัดทำทะเบียนควบคุมการเบิกจ่าย ข้อสอบ ชี้แจง ความจำเป็นในการดำเนินงาน ชี้แจง ความจำเป็นในการดำเนินงาน แนวทางการดำเนินงาน และรับฟัง ข้อคิดเห็น แนวทางการดำเนินงาน และรับฟัง ข้อคิดเห็น
ประกันคุณภาพการฝึกอบรม ( กองแผน ) ISO: ( สพท.) PMQA ( สมฐ.) ประกันคุณภาพการทดสอบ มาตรฐานฝีมือแรงงาน ( สมฐ.) 2553 ISO/IEC ( มอก.17024) ISO/IEC ( มอก.17024) งานประกันคุณภาพของกรมฯ
บุคคลที่ได้รับการ รับรอง สร้างความมั่นใจในบุคคลที่ได้รับการ รับรอง ว่า ว่า มีคุณสมบัติ ความสามารถ สอดคล้อง ตามมาตรฐาน ประโยชน์ : การประกันคุณภาพการรับรอง บุคลากร ที่มา สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ
ประโยชน์ : การประกันคุณภาพการ รับรองบุคลากร สร้างโอกาสแก่ผู้ปฏิบัติงานในการพัฒนาตนสู่ความก้าวหน้าในตำแหน่งงาน ที่มา สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ
เกิดการยอมรับร่วมกัน ในผลการ รับรอง ทำให้เกิดการถ่ายโอน แลกเปลี่ยนบุคลากรกันได้ทั่วโลก ประโยชน์ : การประกันคุณภาพการ รับรองบุคลากร ที่มา สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ
เพื่อเป็นสื่อกลางในการเทียบเคียง กับ “ กรอบคุณวุฒิแห่งชาติของประเทศ ” (NQF) NQF: National Qualification Framework ประโยชน์ : การประกันคุณภาพการ รับรองบุคลากร ที่มา สภาการศึกษา
ประโยชน์ : การประกันคุณภาพการ รับรองบุคลากร แสดงถึงความน่าเชื่อถือของหน่วยทดสอบ ว่า ตามข้อกำหนด คุณภาพ มาตรฐานสากล มี การจัดการองค์กร ( ผู้ดำเนินการ ทดสอบ ) มี ขั้นตอนการ ดำเนินงาน มี บุคลากร ( ผู้ ทดสอบ )
หน่วยรับรองรูปแบบการรับรอง กรมการขนส่งทางบกใบอนุญาตขับขี่รถยนต์ รถจักรยานยนต์ และ รถยนต์สาธารณะ กรมพัฒนาฝีมือแรงงานมาตรฐานฝีมือแรงงาน หนังสือรับรองเป็นผู้ผ่านการทดสอบมาตรฐาน ฝีมือแรงงาน สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ : ( TPQI : สคช.) มาตรฐานอาชีพ สภาวิศวกรผู้ประกอบวิชาชีพควบคุม ( ไฟฟ้า, อุตสาหการ. โยธา ) ใบประกอบวิชาชีพ กรมสวัสดิการและคุ้มครอง แรงงาน เจ้าหน้าที่ความปลอดภัย ผู้ประเมินมาตรฐาน แรงงานไทย ( จป.) กรมวิทยาศาสตร์บริการนักวิทยาศาสตร์ผู้ควบคุมสารเคมีอันตราย ในห้องปฎิบัติการ (LAB) ตัวอย่างหน่วยรับรองของประเทศไทย
หนังสือรับรองเป็นผู้ผ่านการทดสอบ มาตรฐานฯ สำคัญอย่างไร เป็นคุณสมบัติเบื้องต้น ใช้ยื่นคำขอรับหนังสือรับรองความรู้ ความสามารถ ตาม พ. ร. บ. ส่งเสริมการพัฒนาฝีมือ แรงงาน ( ฉบับที่ 2 ) พ. ศ.2557 น้ำหนัก 50 %
หนังสือรับรองเป็นผู้ผ่านการทดสอบมาตรฐาน สำคัญอย่างไร สำหรับแรงงานไทย ไป ทำงาน ต่างประเทศ นายจ้างให้ความเชื่อถือ และเชื่อมั่น ในความรู้ ความสามารถ
กรอบ คุณวุฒิ แห่งชาติ : NQF กรอบ คุณวุฒิ อาเซียน : AQRF กรอบการประกัน คุณภาพ การพัฒนาฝีมือ แรงงาน ประกันคุณภาพ การพัฒนาฝีมือแรงงาน ( ฝึกอบรม ) ประกันคุณภาพ การทดสอบมาตรฐาน ฝีมือแรงงาน ข้อตกลง ยอมรับร่วม MRA เทียบเ คียง การประกันคุณภาพเพื่อการเทียบเคียง
การประกันคุณภาพการทดสอบมาตรฐานฝีมือ แรงงาน Road Map ( พ. ศ – 2562)
ทบทวน เอกสาร คุณภาพ ประกันคุณภาพการ ทดสอบ มาตรฐานฝีมือแรงงาน แห่งชาติ ข้อกำหนดทั่วไปสำหรับหน่วยรับรอง บุคคลากร ISO/IEC การขับเคลื่อนการประกันคุณภาพระบบมาตรฐานฝีมือแรงงาน แห่งชาติ พ. ศ ประกันคุณภาพกำหนด มาตรฐานฝีมือแรงงาน แห่งชาติ ( กลุ่มงานกำหนดฯ ) ประกันคุณภาพหน่วย รับรองบุคลากร ( กลุ่ม งานทดสอบฯ ) ประกันคุณภาพ กระบวนการทดสอบ ( หน่วยปฏิบัติ ) แต่งตั้ง คณะกรรมการ บริหารประกันคุณภาพ ระบบรับรองมาตรฐาน ฝีมือแรงงานแห่งชาติ คณะทำงานพัฒนาการประกัน คุณภาพระบบรับรองมาตรฐาน ฝีมือแรงงานแห่งชาติ ปรับปรุงคู่มือ คุณภาพ ISO/IEC 17024:2003 ISO/IEC 17024:2012 ให้สมฐ. และ หน่วย ทดสอบดำเนินงานตาม มาตรฐานประกัน คุณภาพระบบรับรอง มาตรฐานฝีมือแรงงาน แห่งชาติ ( สาขาช่างไฟฟ้าใน อาคาร ) ISO/IEC 17024:2012 พัฒนาเอกสารระบบ คุณภาพ รายสาขา ( สาขาช่าง ไฟฟ้าในอาคาร ) คู่มือผู้ทดสอบ คู่มือผู้ดำเนินการทดสอบ ฯ แต่งตั้งคณะกรรมการ ตรวจติดตามคุณภาพ ภายในหน่วยงาน โดย ที่ป รีกษา สถาบั น รับรอ ง ISO คณะทำงานฯ สำรวจ ความพร้อม / ตรวจ ติดตามการดำเนินงาน ประกันคุณภาพการ ทดสอบฯ ณ สพภ. ทุกแห่ง 2 ตรวจติดตามคุณภาพ ภายในหน่วยงาน ขยาย ระบบประกัน คุณภาพ การรับรองบุคลากร ศพจ. ที่พร้อม ศพจ. ที่พร้อม ดำเนินการ ดำเนินการ
ผ่า น ยื่นขอรับการ ประเมิน จากภายนอก ( สมอ.) ปรับปรุงการ ปฏิบัติงานให้ สอดคล้องกับ ข้อกำหนด ได้การรับรอง คุณภาพภายใน ไม่ ผ่าน คู่มือคุณภาพ ISO / IEC 17024:2012 คู่มือแนวทางการ ดำเนินงาน และ หลักเกณฑ์ เงื่อนไข 3 พ. ศ ผลลัพธ์ ( ที่คาดหวัง ) พัฒนาคู่มือตรวจ ประเมินและเกณฑ์ คุณภาพ พัฒนาคู่มือ ปฏิบัติงาน คุณภาพราย สาขา สาขาช่างไฟฟ้า ในอาคาร ผล ตรวจติดตาม คุณภาพภายใน สำนักพัฒนา มาตรฐานฯ หน่วยงานกำกับดูแล / ประเมิน ตรวจติดตาม คุณภาพภายใน สพภ./ ศพจ. ถือปฏิบัติและ กำกับดูแล Self Assessment
ขอบคุณ