PMQA Organization 2 รหัสแนวทางการดำเนินการ การวัด การวิเคราะห์ และการปรับปรุงผลการดำเนินการ IT1 ส่วนราชการต้องมีระบบฐานข้อมูลผลการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติราชการ รวมทั้งผล การดำเนินงานของตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ที่ครอบคลุม ถูกต้อง และทันสมัย ( พ. ร. ฎ.GG มาตรา 9 (3)) การจัดการ สารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ และความรู้ IT2 ส่วนราชการต้องมีฐานข้อมูลเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของกระบวนการที่สร้างคุณค่า ไม่น้อยกว่า 4 กระบวนการ IT3 ส่วนราชการต้องมีฐานข้อมูลเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของกระบวนการสนับสนุน อย่างน้อย 2 กระบวนการ IT4 ส่วนราชการต้องมีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารได้อย่างเหมาะสม ( พ. ร. ฎ.GG มาตรา 39)) IT5 ส่วนราชการต้องมีระบบการติดตาม เฝ้าระวัง และเตือนภัย (Warning System) เช่น การกำหนดระบบการ เตือนภัยแบบสัญญาณไฟจราจร การจัดตั้งห้องปฏิบัติการ (Operation Room, Management Cockpit, War Room) ที่บ่งชี้ถึงการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น IT6 ส่วนราชการต้องมีระบบบริหารความเสี่ยงของระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศ IT7 ส่วนราชการต้องจัดทำแผนการจัดการความรู้ และนำแผนไปปฏิบัติ หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์และการจัดการความรู้
PMQA Organization 3 ระบบฐานข้อมูล ข้อมูลสนับสนุน ยุทธศาสตร์ ข้อมูลสนับสนุน แผนปฏิบัติราชการ ข้อมูลผลการ ดำเนินงานตาม ตัวชี้วัดของคำรับรอง การปฏิบัติราชการ (ปี ) การจัดเก็บข้อมูล ตัวข้อมูล แหล่งข้อมูล ความถี่ในการจัดเก็บข้อมูล การสอบทานข้อมูล ผู้ใช้ข้อมูล ครอบคลุม ถูกต้องทันสมัย
PMQA Organization 4 ระบบฐานข้อมูล กระบวนการสร้างคุณค่า กระบวนการสำคัญสูงสุดใน การปฏิบัติตามภารกิจ สร้างคุณค่าให้กับผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เกี่ยวข้องกับบุคลากร ส่วนใหญ่ มีได้หลายกระบวนการ มีลักษณะแตกต่างตาม ภารกิจขององค์การ ครอบคลุมถูกต้องทันสมัย แนวทางดำเนินการ จัดทำฐานข้อมูลใหม่ ทบทวน/ปรับปรุงฐานข้อมูลที่มีอยู่ (ปี ) ดำเนินการอย่างน้อยกระบวนการละ 1 ฐานข้อมูล กรณีมีมากกว่า 4 กระบวนการ ให้ทำ 4 กระบวนการ CIO หรือ CEO เป็นผู้อนุมัติ
PMQA Organization 5 5 ระบบฐานข้อมูล กระบวนการสนับสนุน กระบวนการสร้างคุณค่า สนับสนุนองค์กร สนับสนุนบุคลากร สนับสนุนการปฏิบัติ งานประจำวัน งานการเงินบัญชี การจัดสิ่งอำนวยความ สะดวก งานด้านกฎหมาย งานด้านทรัพยากรบุคคล ฯลฯ ครอบคลุมถูกต้องทันสมัย แนวทางดำเนินการ จัดทำฐานข้อมูลใหม่ ทบทวน/ปรับปรุงฐานข้อมูลที่มีอยู่ (ปี ) ดำเนินการอย่างน้อยกระบวนการละ 1 ฐานข้อมูล กรณีมีมากกว่า 2 กระบวนการ ให้ทำ 2 กระบวนการ CIO หรือ CEO เป็นผู้อนุมัติ
PMQA Organization 6 การเข้าถึงระบบเครือข่ายข้อมูล และสารสนเทศ ประชาชน ระบบ IT พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสาร ของราชการ พ.ศ สะดวก รวดเร็ว ทั่วถึง การดำเนินการ แสดงการดำเนินการตาม พ.ร.บ. ข้อมุลข่าวสาร แสดงการให้บริการ/การสืบค้นข้อมูล แสดงงานบริการที่ได้พัฒนาขึ้นปี 2553 ผ่านระบบ IT แสดงงานบริการที่ได้ปรับปรุงปี 2553 (ถ้ามี) ส่วนราชการ
PMQA Organization 7 การติดตาม เฝ้าระวัง และ เตือนภัย สัญญาณไฟจราจร Operation Room Management Cockpit War Room ระบบช่วยสนับสนุนการ ตัดสินใจ (DSS) ระบบสารสนเทศสำหรับ ผู้บริหาร (EIS) ระบบสารสนเทศทาง ภูมิศาสตร์ (GIS) จัดประเภทตัวชี้วัดเป็นระดับต่างๆ เพื่อให้ไวต่อ การติดตาม (ติดตามมากเป็นพิเศษ/ติดตาม มาก/ติดตามปกติ) กำหนดระยะเวลาการติดตาม ให้สอดคล้องกับ KPI (สัปดาห์/รายเดือน) กำหนดตัวชี้วัดหลัก/ตัวชี้วัดย่อย เพื่อรับทราบ ผลการดำเนินงาน ใช้กลไกช่วยในการติดตาม การดำเนินการ แสดงระบบการติดตาม เฝ้าระวัง และเตือนภัย แสดงข้อมูลความถี่/ความเสียหายของภัยที่ เกิดขึ้น แสดงการรายงาน/นำเสนอข้อมูลต่อผู้บริหารผ่าน ระบบ EIS / GIS แสดงการปรับปรุงระบบการติดตาม เฝ้าระวัง และ การเตือนภัย เทียบกับที่เคยมีอยู่
PMQA Organization 8 การบริหารความเสี่ยง แผนแก้ไขปัญหา (IT Contingency Plan) ระบบรักษาความปลอดภัย มาตรการป้องกันความเสียหาย การสำรองข้อมูล (Back Up) การกู้ข้อมูล (Recovery) ระบบ Anti-Virus ระบบ Anti-Virus ระบบไฟฟ้าสำรอง ระบบไฟฟ้าสำรอง การกำหนดสิทธิผู้ใช้ (Access Rights) การกำหนดสิทธิผู้ใช้ (Access Rights)
PMQA Organization 9 แสดงแผนการจัดการความรู้ อย่างน้อย 3 องค์ความรู้ รายงานผลการดำเนินการตาม แผน ดำเนินการได้สำเร็จครบถ้วนทุก กิจกรรม ดำเนินการครอบคลุม กลุ่มเป้าหมายได้ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 90 ในทุกกิจกรรม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่ระบุไว้ เลือกองค์ความรู้ 3 องค์ความรู้ จากอย่างน้อย 2 ประเด็นยุทธศาสตร์ ที่แตกต่างกัน ไม่ควรซ้ำซ้อนกับองค์ความรู้ที่ เคยเลือกมาจัดทำแผนแล้ว หากจำเป็นต้องใช้องค์ความรู้เดิม ทบทวน/เพิ่มเติมองค์ความรู้เดิมให้ เห็นอย่างชัดเจน ระบุเหตุผลที่เลือกองค์ความรู้นั้น การจัดทำแผนต้องครบ 7 ขั้นตอน และครบ 6 องค์ประกอบ
PMQA Organization ข้อแนะนำการดำเนินการ หมวด 4 IT 1ระบบการจัดเก็บข้อมูลต้องระบุแหล่งข้อมูลของตัวชี้วัด หน่วยงานที่รับผิดชอบใน การจัดเก็บข้อมูล ความถี่ในการ update ข้อมูล IT 2นอกจากจัดเก็บฐานข้อมูลกระบวนการที่สร้างคุณค่าใหม่แล้ว ต้องมีการทบทวน ฐานข้อมูลของกระบวนการเดิมด้วย IT 3IT 3 ใช้วิธีการเช่นเดียวกับ IT 2 แต่เป็นกระบวนการสนับสนุน โดยมุ่งเน้นให้ ส่วนราชการจัดทำฐานข้อมูลตามหลักเกณฑ์ครอบคลุม ถูกต้อง ทันสมัย IT 4วัตถุประสงค์ของ IT 4 เพื่ออำนวยความสะดวกให้กับประชาชนในการเข้าถึงข้อมูล ข่าวสารของส่วนราชการผ่านระบบเครือข่าย IT (ซึ่งจะส่งผลต่อ RM 4.1) IT 5วัตถุประสงค์ของ IT 5 เพื่อต้องการให้ส่วนราชการมีระบบ warning ของระบบข้อมูล สารสนเทศ เพื่อให้ทราบผลการดำเนินการ และปรับเปลี่ยนได้อย่างทันท่วงที IT 6แสดงระบบ security ให้เห็น เช่น Anti-virus ไฟฟ้าสำรอง firewall และแสดง แผน IT Contingency Plan โดยพิจารณาคุณภาพของแผน (รายละเอียดกิจกรรม / เป้าหมายกิจกรรม / ตัวชี้วัด /ผู้รับผิดชอบ / งบประมาณ / ระยะเวลาดำเนินการ) IT 7การจัดการความรู้ โปรดดูรายละเอียดภาคผนวก จ-1เล่มคู่มือ มีตัวอย่างอย่างละเอียด
PMQA Organization ระบบการวัด เลือกข้อมูลสารสนเทศ - leading/lagging indicator ข้อมูลเปรียบเทียบ ติดตามผลการปฏิบัติงาน (หมวด 6) Daily Management ผลการดำเนินการโดยรวม (หมวด 2/7) นวัตกรรม (หมวด 2/6) รวบรวม วิเคราะห์ผล สื่อสารผล การวิเคราะห์ ทบทวนผลการดำเนินการ (หมวด 1) วางแผนยุทธศาสตร์ (หมวด 2) วางระบบการจัดการ - ข้อมูลสารสนเทศ - อุปกรณ์สารสนเทศ - ความพร้อมใช้งาน - การเข้าถึง - เชื่อถือได้ - ปลอดภัย - ใช้งานง่าย การจัดการความรู้ ข้อมูลสารสนเทศครอบคลุมถูกต้องทันสมัยข้อมูลสารสนเทศครอบคลุมถูกต้องทันสมัย ความรู้ รวบรวม จัดให้เป็นระบบ ถ่ายทอด/Sharing บุคลากร ผู้รับบริการ/องค์กรอื่น Best Practices การวัด การวิเคราะห์ สอดคล้องตาม OP (15) สอดคล้องตาม OP (4) IT 1 IT IT 4 IT 5,6 IT 7 หมวด 4 การจัดการ สารสนเทศ IT และความรู้
การพัฒนา PMQA หมวด 4 ของสำนักงานปลัดกระทรวง พาณิชย์ 12
1.มีกระบวนการทบทวนและวิเคราะห์ ฐานข้อมูลที่จำเป็นในการสนับสนุนการ ดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์และ แผนปฏิบัติราชการ และมีแนวทางที่ ชัดเจนในการปรับปรุงฐานข้อมูลเดิมให้ มีความครบถ้วน 2.มีฐานข้อมูลเกี่ยวกับผลการดำเนินงาน ตามแผนยุทธศาสตร์ และแผนปฏิบัติ ราชการ ที่ครอบคลุม ถูกต้อง และ ทันสมัย 3.มีฐานข้อมูลตัวชี้วัดตามคำรับรองการ ปฏิบัติราชการที่ครอบคลุม ถูกต้อง และทันสมัย 13 มีการทบทวนและวิเคราะห์ข้อมูลที่สนับสนุนการดำเนินงานตาม แผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติราชการ โดยมีการเชื่อมโยงระบบ ฐานข้อมูลให้มีความครอบคลุม ถูกต้อง ทันสมัย และมีการ มอบหมายผู้รับผิดชอบดำเนินการปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัยตามรอบ ระยะเวลาในการปรับปรุงข้อมูลที่ได้กำหนดไว้ มีระบบฐานข้อมูลที่ช่วยสนับสนุนการดำเนินงานตามแผน ยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติราชการ รวมถึงฐานข้อมูลเกี่ยวกับผล การดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติราชการ รวมทั้ง ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ มีการจัดเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบ และสามารถแสดงข้อมูล ย้อนหลังได้ตั้งแต่ปี 2554 –2549 เผยแพร่ข้อมูลให้สามารถเข้าถึงข้อมูลได้สะดวกรวดเร็วผ่าน เว็บไซต์ของสำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ได้ที่ มีการทบทวนและวิเคราะห์ข้อมูลตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติ ราชการ โดยมีการเชื่อมโยงระบบฐานข้อมูลให้มีความครอบคลุม ถูกต้อง ทันสมัย และมีการมอบหมายผู้รับผิดชอบดำเนินการ ปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัยตามรอบระยะเวลาในการปรับปรุงข้อมูลที่ ได้กำหนดไว้ มีการติดตามและรายงานผลการปฏิบัติตามคำรับรองการปฏิบัติ ราชการตามรอบระยะเวลาที่กำหนด โดยมอบหมายผู้รับผิดชอบ อย่างชัดเจน
14 ระบบฐานข้อมูลกระบวนการสร้างคุณค่า 1. กระบวนการจัดทำและบริหารยุทธศาสตร์ การค้าไทย 2.กระบวนการจัดทำและเผยแพร่ดัชนี เศรษฐกิจการค้า 3.กระบวนการจัดทำและเผยแพร่ข้อมูล การค้าระหว่างประเทศของไทย 4.กระบวนการบริหารจัดการโครงการพัฒนา เศรษฐกิจการค้าจังหวัด ระบบฐานข้อมูลกระบวนการสนับสนุน 1. กระบวนการพัฒนาบุคลากร 2. กระบวนการบริการข้อมูลข่าวสาร 3. กระบวนการสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ 4. กระบวนการประชาสัมพันธ์ 5. กระบวนการบริหารงานบุคคล 6. กระบวนการการเงิน การคลัง และการพัสดุ 7. กระบวนการพัฒนาองค์การ 8. กระบวนการบริหารจัดการและให้บริการ เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง 9. กระบวนการตรวจสอบภายใน 10. กระบวนการตรวจราชการ
15 การดำเนินการ มีเว็บไซต์ที่เป็นแหล่งข้อมูลให้บุคคลภายนอกเข้ามาสืบค้นข้อมูล ได้แก่ และมีการเผยแพร่ข้อมูลตามที่กำหนดไว้ใน พ.ร.บ. ข้อมูล ข่าวสาร พ.ศ มาตรา 9 “ศูนย์บริการข้อมูลข่าวสาร” ( เพื่ออำนวยความสะดวกให้ประชาชน สามารถค้นหาข้อมูลได้อย่างสะดวก รวดเร็วผ่านระบบ Search Engine มีการมอบหมายผู้รับผิดชอบในการปรับปรุงข้อมูลเพื่อให้ข้อมูลมีความครอบคลุม ถูกต้อง ทันสมัย มี Web board เพื่อสร้างปฏิสัมพันธ์ในการติดต่อสื่อสารกับผู้รับบริการข้อมูลได้แบบ 2 ทาง มีศูนย์บริการข้อมูลข่าวสาร ให้บริการที่ชั้น 3 และ ห้องสมุดกระทรวงพาณิชย์ ชั้น 4 ให้บริการข้อมูลทางระบบ e-Newsletter ให้บริการข้อมูลในลักษณะ Web Service โดยผู้ใช้ข้อมูลสามารถนำข้อมูลไป วิเคราะห์ได้ตามความต้องการใช้งาน มีระบบส่งข้อมูลผ่าน SMS เพื่อประชาสัมพันธ์ข่าวสารของกระทรวงพาณิชย์ถึง กลุ่มเป้าหมายได้อย่างรวดเร็ว
16 1.มีระบบการติดตาม เฝ้าระวัง และเตือน ภัยที่บ่งชี้ความเปลี่ยนแปลงหรือภัยที่ เกิดขึ้น ความถี่ และความเสียหาย 2.มีระบบการรายงานหรือเสนอข้อมูลให้ ผู้บริหารผ่านระบบสารสนเทส 3.มีกระบวนการปรับปรุงระบบการติดตาม เฝ้าระวัง และเตือนภัย มี Operation Room หรือ ศูนย์ปฏิบัติการโสมสวลี เพื่อให้มีระบบ ข้อมูลสารสนเทศสำหรับการบริหารที่ทันสมัย รวมทั้งใช้เป็น ศูนย์กลางเชื่อมโยงติดต่อสื่อสารสั่งการและติดตามภารกิจที่รวดเร็ว ระหว่างหน่วยงานในกระทรวงพาณิชย์ ทั้งส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และต่างประเทศ ได้แบบ Real Time มีการจัดทำทะเบียนสำหรับรายการข้อมูลที่นำเสนอในศูนย์ ปฏิบัติการฯ และกำหนดความถี่ในการปรับปรุงข้อมูล ตลอดจน ผู้รับผิดชอบการบันทึกข้อมูลและผู้ตรวจสอบข้อมูล มีการนำเสนอข้อมูลให้ผู้บริหารผ่านระบบกระดานอิเล็กทรอนิกส์ (e-Board) และระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ (Geographic Information System : GIS) มีการจัดทำทะเบียนสำหรับบันทึกผู้เข้าใช้งาน รายการข้อมูลที่ นำเสนอในศูนย์ปฏิบัติการฯ และกำหนดผู้รับผิดชอบในการปรับปรุง ข้อมูล และผู้ตรวจสอบข้อมูล
17 การบริหารความเสี่ยง แผนแก้ไขปัญหา (IT Contingency Plan) ระบบรักษาความปลอดภัย ประกาศแนวนโยบายและแนวปฏิบัติในการรักษาความ มั่นคงปลอดภัยด้านสารสนเทศ ของสำนักงานปลัด กระทรวงพาณิชย์ พ.ศ การสำรองข้อมูล (Back Up) การกู้ข้อมูล (Recovery) ระบบ Anti-Virus ระบบไฟฟ้าสำรอง การกำหนดสิทธิผู้ใช้ (Access Rights) แผนแก้ไขปัญหาจากสถานการณ์ความไม่แน่นอนและ ภัยพิบัติ (IT Contingency Plan) ประจำปี 2554 ผลการทดสอบแผนแก้ไขปัญหาจากสถานการณ์ความ ไม่แน่นอนและภัยพิบัติ
องค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการปฏิบัติราชการตามประเด็นยุทธศาสตร์ 3 องค์ความรู้ คือ 1.องค์ความรู้เบื้องต้นในการจัดทำแผน 2.องค์ความรู้กลยุทธ์เกษตรอินทรีย์ของกระทรวงพาณิชย์ 3.องค์ความรู้การตลาดระหว่างประเทศมาตรการทางการค้า และกฏ/ระเบียบทางการค้า 18 องค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการปฏิบัติราชการตามประเด็นยุทธศาสตร์ 3 องค์ความรู้ คือ 1.องค์ความรู้องค์ความรู้กระบวนการจัดขยาย/สร้างความเข้าใจ 2.องค์ความรู้ในการประเมิน ปรับปรุง/พัฒนายุทธศาสตร์การค้าจังหวัด 3.องค์ความรู้การแปลงยุทธศาสตร์การค้าจังหวัดสู่การปฏิบัติ องค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการปฏิบัติราชการตามประเด็นยุทธศาสตร์ 3 องค์ความรู้ คือ 1.องค์ความรู้การตรวจสอบการดำเนินงาน 2.องค์ความรู้การวางแผนยุทธศาสตร์การค้าและการจัดทำแผนงานโครงการ 3.องค์ความรู้วิธีการนำเสนอข้อมูล
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการบริหาร จัดการระบบสารสนเทศ พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ. ศ. ๒๕๕๐ 2. ประกาศทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เรื่อง หลักเกณฑ์การเก็บรักษา ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ของผู้ให้บริการ พ. ศ. ๒๕๕๐ 3. พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ. ศ. ๒๕๔๔ 4. พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ( ฉบับที่ ๒ ) พ. ศ. ๒๕๕๑ 5. พระราชกฤษฎีกากำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการทำ ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐ พ. ศ. ๒๕๔๙ 6. ประกาศคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง แนวนโยบายและแนวปฏิบัติในการรักษาความมั่นคงปลอดภัย ด้านสารสนเทศของหน่วยงานภาครัฐ พ. ศ. ๒๕๕๓ ( ตามมาตรา ๕ ของ พรฎ. ข้อ 5) 7. ประกาศคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง แนวนโยบายและแนวปฏิบัติในการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ของหน่วยงาน พ. ศ. ๒๕๕๓ ( ตามมาตรา ๖ ของ พรฎ. ข้อ 5)
ทบทวนระบบสารสนเทศด้วย 3 ประเด็นหลัก 10 ประเด็นย่อย 1. ด้านระบบงาน / กระบวนงานของหน่วยงาน 1.1 ระบบงาน / กระบวนงานของหน่วยงานที่ควรมีระบบ ฐานข้อมูลสารสนเทศ 1.2 ระบบงาน / กระบวนงานของหน่วยงาน ที่เปลี่ยนแปลง ไปจากเดิม และจำเป็นต้อง ปรับปรุงระบบฐานข้อมูลสารสนเทศที่ใช้อยู่เดิม 2. ด้านผู้ใช้งาน (User) กลุ่มต่าง ๆ 2.1 การได้รับบริการทางอิเล็กทรอนิกส์ที่เหมาะสมของ ผู้ใช้งาน (User) แต่ละกลุ่ม 2.2 รูปแบบ / ช่องทางการให้บริการที่เหมาะสมและตอบสนอง ต่อความต้องการของ ผู้ใช้งาน (User) กลุ่มต่าง ๆ 2.3 การรณรงค์หรือส่งเสริมให้มีการใช้งานระบบฐานข้อมูล สารสนเทศอย่างสม่ำเสมอ และต่อเนื่อง 20
3. การบริหารจัดการของศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร หรือศูนย์ไอที 3.1 กระบวนการหรือระบบในการสำรองและกู้คืนข้อมูล (Backup and Recovery Procedures) 3.2 กระบวนการในการทดสอบความมั่นคงของระบบ สารสนเทศ (Security Audit Procedures) 3.3 การกำหนดสิทธิ (Access Right) ในการอ่าน เขียน หรือ ใช้งานข้อมูลในระบบ สารสนเทศสำหรับผู้ใช้งาน (User) กลุ่มต่าง ๆ 3.4 แผนการจัดการหรือแก้ไขปัญหาภัยพิบัติ (IT Contingency Plan) 3.5 การฝึกอบรมในด้านที่เกี่ยวข้องกับระบบฐานข้อมูล สารสนเทศที่จำเป็นสำหรับ บุคคลากรของหน่วยงาน 21