1 ทบทวน แผนกลยุทธ์สำนักงาน เขต พื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 9
2 5 เกษต ร อุตสาหกรรม สารสนเ ทศ ทุกอย่างเกิดจากเหตุ ทุกอย่างเกี่ยวเนื่องซึ่งกัน และกัน ทุกอย่างมีการ เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
วัตถุประสงค์ของการบรรยาย รู้ ( 4 รู้ : รับรู้ เรียนรู้ รู้จริง รู้แจ้ง ) ทำ ( ฝึก ) นำไปใช้ประโยชน์ (3 เพื่อ ตนเอง กลุ่มเป้าหมาย ส่วนรวม )
เนื้อหาของการบรรยาย 4 หลักคิด 1. เหตุ - ผล 2. ความสัมพันธ์ 3. การเปลี่ยนแปลง 4. การแก้ปัญหา 3. แผนปฎิบัติงาน 1. มุ่งเน้นผลงาน RBM หลักวิชา 2. แผนกลยุทธ์
เอกสารที่ใช้ในการบรรยาย 1. คำบรรยาย 2. ร่างแผนกลยุทธ์สำนักงานเขต 9 3. ข้อมูลนโยบายด้านการศึกษา 4. แบบฟอร์มการปรับปรุงแผนกลยุทธ์
3. หลักเพื่อความสำเร็จ 1. หลักคิด : วิธีคิดที่จะทำงาน (HEAD) 2. หลักวิชา : ความรู้พอหรือไม่ (HEART) 3. หลักปฏิบัติ : ให้ชัดและใช่ (HAND)
ศึกษาข้อมูลอย่างเป็น ระบบ คิดภาพรวม ทำจุด เล็ก ทำตามขั้นตอน มี ความเพียร คำนึงถึง ภูมิสังคม ภูมิศาสตร์ สังคมศาสตร์ เรียบง่าย ประหยัด มีส่วนร่วม ยึดประโยชน์ส่วนรวม พึ่งตนเอง สายกลาง พอประมาณ ทำงานอย่างมีความสุข
หลักคิด 1: ทำ ( เหตุ ) แล้วได้ ผล เหตุ : ทำ ผลผล
หลักคิด 2 : ความสัมพันธ์ 4M คน เงิน วัสดุ การ จัดกา ร กิจก รรม ผลผลิต ผลลัพธ์ เหตุ 3 ผล ผลกระทบ +
หลักคิด 3 : ความเปลี่ยนแปลง 4M คน เงิน วัสดุ การ จัดกา ร กิจก รรม ผลผลิต ผลลัพธ์ เหตุ 3 ผล ผลกระทบ +
หลักคิด 4: ปัญหา – แก้ไขปัญหา เหตุ - ผล + 1. ปัญหา / ความต้องการ 2. สาเหตุของปัญหา 3. วิธีแก้ปัญหา 4. หมดปัญหา
แนวทางในการทบทวน แผนพัฒนา แนวทางในการทบทวน แผนพัฒนา
งานที่ทำมี 2 เรื่อง 1) ปัญหา 2) วิธี แก้ปัญหา 2. วิธีแก้ปัญหา ( กิจกรรม ) ทำอะไร ทำอย่างไร ใช้เงิน เท่าไหร่ 1. ปัญหา
ปัญหาที่พบ ในการทำแผน พัฒนาจังหวัด / กลุ่มจังหวัด 2. กลยุทธ์ที่ไม่ดี 1. อยากได้เยอะๆแต่ไม่ ยอมทำอะไรเลย 2, อยากทำเยอะๆแต่ไม่ ได้ผล 3. อยากทำเยอะๆแต่ไม่รู้ ทำ เพื่อ อะไร 1. จุดหมาย ปลายทาง / เป้าหมาย - ไม่ชัดเจน คลุมเครือ - มีจำนวนมาก
ปัญหาที่พบ ในการทำแผน พัฒนาจังหวัด / กลุ่มจังหวัด 2. กลยุทธ์ที่ไม่ดี 1. อยากได้เยอะๆแต่ไม่ ยอมทำอะไรเลย 2, อยากทำเยอะๆแต่ไม่ ได้ผล 3. อยากทำเยอะๆแต่ไม่รู้ ทำ เพื่อ อะไร 1. จุดหมาย ปลายทาง / เป้าหมาย - ไม่ชัดเจน คลุมเครือ - มีจำนวนมาก
การแก้ปัญหาปรับวิธี คิดแบบกลยุทธ์ 1. รู้เป้าหมาย และวิธี ไปสู่เป้าหมาย 2. คิดแบบสมการ 3 Logic คิดแบบ สมการ Logic X Y Z 3 +? =10
คิดแบบ สมการ X Y Z 3 +? =10 กลยุทธ์คือ ต้องทำ ดีกว่าเดิม เนื่องจากเพิ่ม คุณค่าได้มากขึ้น โดย ไม่ต้องทำเพิ่มจากที่มี อยู่เดิม ต่อยอดจาก ของเดิม คิดอะไรใหม่ คาดการณ์ถึงความ ต้องการในอนาคตเราควร มีผลงาน = z (10) วิเคราะห์อดีตที่ผ่านมา และทางเลือกที่มีอยู่ใน ปัจจุบัน ถ้าไม่ทำอะไร เพิ่ม / ทำตามงานประจำ และทำได้ = X (3) - จึงต้องหาวิธีใหม่ / ทำ เพิ่ม จากเดิมพื่อให้ได้ Y(7) จึงจะบรรลุ z(10) z :1 0 y :7 x :3 +
1 ปัจจุบัน หน่วยงานทำอะไร? (ภารกิจ) อยู่ในสถานการณ์ใด? (SWOT) 2 อนาคต ต้องการเป็นอย่างไร? (วิสัยทัศน์/เป้าประสงค์) 3 หน่วยงานจะบรรลุวิสัยทัศน์/ เป้าประสงค์ที่กำหนดได้อย่างไร? (พันธกิจ/กลยุทธ์) 4 จะตรวจวัดความก้าวหน้าและ ผลสำเร็จได้อย่างไร? (ติดตามประเมินผล)
นิยามศัพท์ วิสัยทัศน์ สิ่งที่อยากจะให้หน่วยงานเป็น ในอีก 3–5 ปีข้างหน้า Vision พันธกิจ กรอบ ขอบเขต การดำเนินงาน ของหน่วยงาน Mission ประเด็น ยุทธศาสตร์ ประเด็นหลักต้องคำนึงถึง ต้องพัฒนา ต้องมุ่งเน้น Strategic Issues ตัวชี้วัด สิ่งที่จะเป็นตัวบอกว่าหน่วยงานสามารถ บรรลุเป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์หรือไม่ Key Performance Indicators เป้าหมาย ตัวเลข หรือ ค่า ของตัวชี้วัด ที่จะต้องไปให้ถึงTarget Strategy กลยุทธ์ สิ่งที่หน่วยงานจะทำเพื่อให้บรรลุ เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ อะไรคือสิ่งที่หน่วยงาน อยากจะบรรลุ Goal เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ อะไรคือสิ่งที่อยากจะบรรลุ ตามประเด็นยุทธศาสตร์ Strategic goals
20 วิสัยทัศน์ พันธกิจ ( ทำ ) เป้าประสงค์หลัก สภาพแวดล้อม ภายใน จุดอ่อน / แข็ง สภาพแวดล้อมภายนอก โอกาส / อุปสรรค กลยุทธ์ระดับหน่วยงาน ( ทำอะไร ) งาน / โครงการลงพื้นที่ ( ทำอย่างไร ) SWOT ทิศทางของจังหวัด / กลุ่มจังหวัด ประเด็นยุทธศาสตร์ ( ทำด้าน ) ภารกิจหลัก 2. ภารกิจสนับสนุน 1.1 ภารกิจหลัก 1.2 ภารกิจหลัก 2.1 ภารกิสนับสนุน กิจกรรมหลัก กิจกรรมหลัก กิจกรรมสนับสนุน
กระบวนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ วิเคราะห์ปัจจัยทางยุทธศาสตร์ การกำหนดทิศทางของหน่วยงาน การกำหนดตัวชี้วัดและเป้าหมายของ แต่ละเป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ การกำหนดกลยุทธ์ หรือสิ่งที่จะทำ เพื่อให้บรรลุประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ การสังเคราะห์นโยบายและยุทธศาสตร์ การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม วิสัยทัศน์ /พันธกิจ / เป้าประสงค์รวม ประเด็นยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัด และค่าเป้าหมาย กลยุทธ์ การวิเคราะห์ถึงประเด็นสำคัญที่ต้อง มุ่งเน้น/ให้ความสำคัญเพื่อที่จะบรรลุ พันธกิจและเป้าประสงค์
การสังเคราะห์นโยบายและยุทธศาสตร์ (Strategy Alignment) การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม (SWOT Analysis) ขั้นตอนที่ 1 : วิเคราะห์ปัจจัยทางยุทธศาสตร์ กระบวนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ วิเคราะห์ ปัจจัย ทาง ยุทธศาสตร์
นโยบายรัฐบาล /ยุทธศาสตร์ชาติด้านการศีกษา ยุทธศาสตร์ของ ศธ./องค์กรหลัก ยุทธศาสตร์การพัฒนากลุ่มจังหวัด/ จังหวัด ยุทธศาสตร์ สพท. การสังเคราะห์นโยบายและยุทธศาสตร์
การนำข้อมูลเพื่อจัดทำวิสัยทัศน์ การสังเคราะห์นโยบายและ ยุทธศาสตร์ (Strategy Alignment) นโยบายรัฐบาล /ยุทธศาสตร์ชาติ ยุทธศาสตร์กระทรวงศึกษาธิการ การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษ ที่สอง (พ.ศ ) ยุทธศาสตร์ สพฐ. ยุทธศาสตร์ สพท. 1.ยกระดับคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาสู่มาตรฐานการศึกษา ของชาติ 2.สร้างโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต 3.ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการบริหารและการจัด การศึกษา 1.พัฒนาคุณภาพสถานศึกษาและแหล่งเรียนรู้ยุคใหม่ 2.มีศีลธรรม คุณธรรม ค่านิยม มีจิตสำนึกการทำนุบำรุง ศิลปวัฒนธรรมไทย 3.สำนึกในความเป็นชาติไทยและวิถีชีวิตตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงและสามารถก้าวทันโลก 4.ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีสารสนเทศ เชิงสร้างสรรค์ อย่าง ชาญฉลาด เพื่อเสริมสร้างการเรียนรู้ 5.การพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา ให้มี คุณธรรม คุณภาพ และสร้างความก้าวหน้าในวิชาชีพ 6.การสร้างภาพลักษณ์ที่ดีขององค์กรและพัฒนาระบบบริหาร จัดการตามหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
จุดแข็ง : S จุดอ่อน : W โอกาส : O อุปสรรค : T การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม (SWOT Analysis)
สภาพแวดล้อมภายนอก (External Factors Analysis: EFA) O = โอกาส (Opportunities) ปัจจัยที่เอื้ออำนวยให้ประสบความสำเร็จ T = อุปสรรค (Threats) ข้อจำกัดที่ทำให้การดำเนินงานไม่ประสบความสำเร็จ สภาพแวดล้อมภายใน (Internal Factors Analysis: IFA) S = จุดแข็ง (Strengths) ข้อดี ข้อเด่น ที่ทำให้การดำเนินงานประสบความสำเร็จ S = จุดแข็ง (Strengths) ข้อดี ข้อเด่น ที่ทำให้การดำเนินงานประสบความสำเร็จ W = จุดอ่อน (Weaknesses) ข้อด้อยที่ส่งผลเสียต่อการดำเนินงาน W = จุดอ่อน (Weaknesses) ข้อด้อยที่ส่งผลเสียต่อการดำเนินงาน การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม (SWOT Analysis)
การวิเคราะห์ ปัจจัยภายนอก การวิเคราะห์ ปัจจัยภายใน สรุป ปัจจัยด้านนโยบายและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ ปัจจัย ด้านสังคมและวัฒนธรรม ปัจจัยด้านความเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี และนวัตกรรม (ICT and Innovation) ปัจจัยด้านเครือข่ายและความสัมพันธ์กับชุมชน (Network) ขั้นตอน : วิเคราะห์ปัจจัยทางยุทธศาสตร์ 1.กลยุทธ์ 2.โครงสร้าง 3.ระบบ 4.แนวการบริหาร 5.ทักษะ 6.บุคลากร 7.ค่านิยมร่วม
ขั้นตอนที่ 1 : วิเคราะห์ปัจจัยภายใน Shared Values ค่านิยมร่วม Strategy กลยุทธ์ Staff บุคลากร Structure โครงสร้าง System ระบบ Style แนวการบริหาร Skill ทักษะ การวิเคราะห์ สถานการณ์ ภายใน McKinsey’s 7 Ss
1. การวิเคราะห์ปัจจัยภายในองค์กร กลยุทธ์ (Strategy) - ความชัดเจนในการวางยุทธศาสตร์ของหน่วยงานที่สอดคล้อง กับการเปลี่ยนแปลงและเพิ่มความสามารถในการแข่งขัน โครงสร้าง (Structure) - ความเหมาะสมของ โครงสร้างของสายงาน และ ลักษณะ การจัดกลุ่มงาน ระบบ (Systems) - การประสานงานอย่างเป็นระบบ, การประเมินผลงาน อย่างเป็นระบบ, การมีคู่มือการทำงาน, การนำระบบ IT มาใช้ในการปฏิบัติงาน แนวการบริหาร (Style) - ผู้นำองค์กร, การสื่อสารและการปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคลากร ในหน่วยงาน
2. การวิเคราะห์ปัจจัยภายในองค์กร บุคลากร (Staff) - บุคลากร, ความเข้าใจของบุคลากรต่อบทบาทหน้าที่, ความ พร้อมในการทำงานต่อการเปลี่ยนแปลง ทักษะ (Skills) – ความรู้ ความสามารถ ความชำนาญในหน้าที่รับผิดชอบ ค่านิยมร่วม (Shared Value) – แนวคิดร่วมกัน ค่านิยม ความคาดหวังขององค์กรที่เป็น แนวคิดพื้นฐานขององค์กรแต่ละแห่ง,ความเชื่อมั่นต่อองค์กร และหน่วยงานของบุคลากร
การนำข้อมูลเพื่อจัดทำวิสัยทัศน์ การสังเคราะห์นโยบายและ ยุทธศาสตร์ (Strategy Alignment) นโยบายรัฐบาล /ยุทธศาสตร์ชาติ ยุทธศาสตร์กระทรวงศึกษาธิการ การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษ ที่สอง (พ.ศ ) ยุทธศาสตร์ สพฐ. ยุทธศาสตร์ สพท. ฯลฯ SWOT Analysis -จุดแข็ง (Strengths) -จุดอ่อน (Weaknesses) -โอกาส (Opportunities) -อุปสรรค (Threats) กำหนดยุทธศาสตร์ (Strategic Formulation)
วิสัยทัศน์ (Vision) พันธกิจ (Mission) ขั้นตอนที่ 2 : การกำหนดทิศทางของหน่วยงาน กระบวนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ การกำหนด ทิศทางของ หน่วยงาน เป้าประสงค์รวม (Ultimate Goal)
33 วิสัยทัศน์ พันธกิจ ( ทำ ) เป้าประสงค์หลัก สภาพแวดล้อม ภายใน จุดอ่อน / จุด แข็ง สิ่งที่ควบคุมได้ กลยุทธ์ระดับหน่วยงาน ( ทำอะไร ) งาน / โครงการลงพื้นที่ ( ทำอย่างไร ) SWOT ทิศทางของหน่วยงาน ประเด็นยุทธศาสตร์ ( ทำด้าน ) ภารกิจหลัก 2. ภารกิจสนับสนุน 1.1 ภารกิจหลัก 1.2 ภารกิจหลัก 2.1 ภารกิสนับสนุน กิจกรรมหลัก กิจกรรมหลัก กิจกรรมสนับสนุน สภาพแวดล้อม ภายนอก โอกาสสิ่งที่ ควบคุมได้
ขั้นตอนที่ 2 : การกำหนดทิศทางของหน่วยงาน กระบวนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ วิสัยทัศน์ (Vision) วิสัยทัศน์ หมายถึง การมองภาพอนาคต ของและกำหนดจุดหมายปลายทาง(To Be)ที่ เชื่อมโยงกับองค์กร ภารกิจ ค่านิยมและความ เชื่อเข้าด้วยกันแล้วมุ่งสู่จุดหมายปลายทางที่ ต้องการ จุดหมายปลายทางดังกล่าวต้องชัดเจน ท้าทาย มีพลังและมีความเป็นไปได้
การกำหนดวิสัยทัศน์ขององค์กร อดีต o มักจะเป็นความฝันอันสูงสุด o มักจะเป็นสิ่งที่ยากที่จะบรรลุ o มักจะเป็นสิ่งที่จับต้องได้ลำบาก ปัจจุบัน o ภาพในอนาคตที่เป็นไปได้ เป็นสิ่งที่องค์กรจะไปถึงในอีก 3 – 5 ปีข้างหน้า o จะต้องมองภาพจากข้างนอกเข้ามา ไม่ใช่เพียงสิ่งที่ฝันเพียง อย่างเดียว o เป็นจุดที่ช่วยให้ผู้บริหารสามารถใช้ในการอ้างอิงหรือเป็นหลัก เมื่อจะต้องเผชิญกับการตัดสินใจที่สำคัญ o เป็นสิ่งที่จะขับเคลื่อนบุคลากรทั้งองค์กรให้ก้าวไปข้างหน้า ด้วยกัน
วิสัยทัศน์ไม่ใช่อะไร... วิสัยทัศน์ไม่ใช่คำสั่งสอน หรือคัมภีร์ วิสัยทัศน์ ไม่ใช่พันธกิจ วิสัยทัศน์ ไม่ใช่ความเป็นจริงในปัจจุบัน แต่เป็นความ เป็นไปได้ และความปรารถนาในอนาคต วิสัยทัศน์จะ เต็มไปด้วยความคาดหวัง สมมติฐาน วิสัยทัศน์ ไม่ใช่ ถูก หรือ ผิด วิสัยทัศน์จะถูกประเมินได้ ก็ต่อเมื่อเปรียบเทียบกับทิศทางอื่นๆ ขององค์กร วิสัยทัศน์ ไม่ควรที่จะนิ่ง ไม่ใช่ทำขึ้นมาครั้งเดียวและใช้ ไปอีกหนึ่งร้อยปี แต่วิสัยทัศน์จะต้องยืดหยุ่นและ สามารถปรับได้ เมื่อสภาวการณ์เปลี่ยนไป
ความสำคัญของวิสัยทัศน์ 1. ช่วยกำหนดทิศทางที่จะดำเนินกิจกรรมองค์กร โดยมีจุดหมาย ปลายทางที่ชัดเจน 2. ช่วยให้สมาชิกทุกคนรู้ว่า แต่ละคนมีความสำคัญต่อการมุ่งไปสู่ จุดหมายปลายทางและ รู้ว่าจะทำอะไร (What) ทำไมต้องทำ (Why) ทำอย่างไร (How) และทำเมื่อใด (When) 3. ช่วยกระตุ้นให้สมาชิกทุกคนมีความรู้สึกผูกพัน มุ่งมั่นปฏิบัติตาม ด้วยความเต็มใจ ท้าท้าย เกิดความหมายในชีวิตการทำงาน มีการ ทำงานอย่างมีเป้าหมายด้วยความภูมิใจ และทุ่มเทเพื่อคุณภาพของ ผลงานที่ปฏิบัติ 4. ช่วยกำหนดมาตรฐานขององค์กรที่แสดงถึงการมีคุณภาพและความ เป็นเลิศ ในทุกด้าน
ลักษณะของวิสัยทัศน์ที่ดี 1. มีมุมมองแห่งอนาคต (Future perspective) สอดคล้องเหมาะสมกับสภาพแวดล้อมทาง เศรษฐกิจ สังคมวัฒนธรรม และค่านิยมขององค์กร รวมทั้งวัตถุประสงค์และภารกิจขององค์กร นั้นๆ 2. ผู้นำและสมาชิกมีส่วนริเริ่ม ร่วมคิดและให้การสนับสนุน (Share and Supported) มีความน่าเชื่อถือ ทุกคนเต็มใจที่จะปฏิบัติตาม การมีส่วนร่วมของสมาชิกจะก่อให้เกิดความ ผูกพัน (Commitment) ร่วมกัน และทุกคนพร้อมที่จะให้การสนับสนุน 3. มีสาระครบถ้วนและชัดเจน (Comprehensive & Clear) สะท้อนให้เห็นถึงจุดหมาย ปลายทางและทิศทางที่จะก้าวไปในอนาคตที่ทุกคนเข้าใจง่าย สามารถทำให้สำเร็จได้ตรง ตามเป้าหมาย สาระต่างๆ จะช่วยกระตุ้น ท้าทายความสามารถและความรู้สึกนึกคิดของ บุคลากรที่จะปฏิบัติงาน 4. ให้ความฝันและพลังดลใจ (Positive & Inspiring) ท้าท้าย ทะเยอทะยาน สามารถ ปลุกเร้า และสร้างความคาดหวังที่เป็นสิ่งพึงปรารถนาที่มองเห็นได้ นั่นคือมีเส้นทางที่ท้าท้าย ความสามารถ 5. แสดงให้เห็นถึงวิธีปฏิบัติ วิธีการที่มุ่งสู่จุดหมายชัดเจน และเมื่อปฏิบัติตามแล้วจะให้ผล คุ้มค่าในอนาคต ทั้งในด้านบุคคลและองค์กร ทั้งนี้ จะต้องมีความสอดคล้องกับจุดหมาย ปลายทาง
กระทรวงศึกษาธิการ : มุ่งพัฒนาการศึกษาให้ผู้เรียนมีคุณธรรมนำความรู้ มีคุณภาพ มีศักยภาพ ในการพัฒนาตนเองตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เสริมสร้าง สังคมคุณธรรม พัฒนาสังคมฐานความรู้และยืนหยัดในเวทีโลกบน พื้นฐานของความเป็นไทย สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ : เป็นองค์กรต้นแบบในการบริหารการปฏิบัติราชการที่มีหลักธรรมาภิบาล ส่งเสริมการเรียนรู้ ตลอดชีวิตที่ได้มาตรฐานและมีคุณภาพ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน : สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นองค์กรหลักในการจัด และส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานให้ประชากรในวัย เรียนอย่างทั่วถึงและมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา ตัวอย่างของวิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์ สรุป บรรลุตามภารกิจ (อำนาจหน้าที่) สิ่งที่องค์กรต้องการมุ่งไป (ท้าทาย ทำได้) ผลการวิเคราะห์ปัจจัยทาง ยุทธศาสตร์ (SWOT) การสังเคราะห์นโยบายและ ยุทธศาสตร์(Strategy Alignment) แนวการ เขียน
ข้อความที่กำหนดถึงภารกิจที่องค์กร มุ่งหวังจะกระทำให้เกิดผลสำเร็จตาม วิสัยทัศน์ที่องค์กรมีอยู่ ต้องกำหนดให้ชัดเจนว่าพันธกิจแต่ละข้อมี ความหมายครอบคลุมวิสัยทัศน์แค่ไหน และแต่ ละข้อมีความแตกต่างกันอย่างไร พันธกิจ (Mission )
พันธกิจ ต้องขับเคลื่อน วิสัยทัศน์ สอดคล้องกับภารกิจ/ อำนาจหน้าที่
พันธกิจ (Mission) Visions vs. Missions พันธกิจ (Mission) บอกให้ รู้ถึงขอบเขตการดำเนินงาน ของหน่วยงาน บอกให้รู้ถึง สาเหตุของการดำรงอยู่ และมุ่งเน้นที่บทบาท หน้าที่ ที่จะต้องทำ วิสัยทัศน์ (Vision) บอก ให้รู้ถึงสิ่งที่หน่วยงาน อยากจะหรือต้องการจะ เป็นในอนาคต บอกให้รู้ถึง เส้นทางเดินของ หน่วยงานในอนาคต
เป้าประสงค์ (Ultimate Goal) หมายถึง สิ่งที่หน่วยงานปรารถนาจะบรรลุ โดย ต้องนำพันธกิจมาพิจารณาว่า หากสามารถ ดำเนินการจนประสบความสำเร็จตามพันธกิจแต่ ละข้อแล้วใครเป็นผู้ได้รับผลประโยชน์ และได้รับ ประโยชน์อย่างไร
เป้าประสงค์ (Ultimate Goal) การกำหนดเป้าประสงค์ จะต้องมีความเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ และพันธกิจที่ กำหนดไว้ เป้าประสงค์ ขอให้เขียนในลักษณะสิ่งที่ต้องการที่จะ บรรลุ ในการกำหนดเป้าประสงค์นั้น ขอให้กำหนดโดยการมอง กรอบการประเมินผลทั้งสี่มิติ
ประเด็นยุทธศาสตร์ การวิเคราะห์ถึงประเด็นสำคัญที่ต้องมุ่งเน้น การวิเคราะห์ ถึงประเด็นสำคัญ ที่ต้องมุ่งเน้น / ให้ความสำคัญ เพื่อที่จะบรรลุ พันธกิจและ เป้าประสงค์
กระบวนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ หมายถึง ประเด็นหลักที่ต้องคำนึงถึง ต้องพัฒนา ต้องมุ่งเน้น ให้บรรลุตามพันธกิจและเป้าประสงค์ ประเด็นยุทธศาสตร์ สามารถทำได้โดยการนำพันธกิจและ เป้าประสงค์แต่ละข้อมาพิจารณาว่าในแต่ละข้อนั้นหน่วยงาน ต้องการดำเนินการในประเด็นใดเป็นพิเศษ และหลังจากได้ ดำเนินการดังกล่าวเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ต้องการให้เกิดผลการ เปลี่ยนแปลงในทิศทางใด เพื่อนำไปสู่วิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ (Strategic Issues)
ประเด็นยุทธศาสตร์มักจะมีที่มาจาก แนวทางหลักที่ในการบรรลุวิสัยทัศน์ พันธกิจ และ เป้าประสงค์ของหน่วยงาน นโยบายหรือความจำเป็นเร่งด่วนจากภายนอกที่มีผลกระทบ ต่อการบรรลุวิสัยทัศน์ของหน่วยงาน ความคาดหวังจากผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง (Stakeholders) ที่ สำคัญ ซึ่งวิสัยทัศน์ของหน่วยงานส่วนใหญ่จะตอบสนองต่อ สิ่งเหล่านี้อยู่แล้ว ประเด็นยุทธศาสตร์ (Strategic Issues)
o อะไรคือสิ่งที่อยากจะบรรลุตามประเด็นยุทธศาสตร์ o โดยต้องนำประเด็นยุทธศาสตร์แต่ละข้อมา พิจารณาว่า หากสามารถดำเนินการจนประสบ ความสำเร็จแต่ละข้อแล้วใครเป็นผู้ได้รับ ผลประโยชน์ และได้รับประโยชน์อย่างไร เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ Strategic goals)
ตัวชี้วัด (Key Performance Indicators) และค่าเป้าหมาย (Target) : การกำหนดตัวชี้วัดและเป้าหมายของแต่ละ เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ การกำหนด ตัวชี้วัดและ เป้าหมาย ของ แต่ละเป้าประสงค์ เชิงยุทธศาสตร์
กลยุทธ์ (Strategy) ขั้นตอนที่ 5 : การกำหนดกลยุทธ์ หรือสิ่งที่จะทำ เพื่อให้บรรลุ ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ การกำหนดกลยุทธ์ หรือสิ่งที่จะทำ เพื่อให้บรรลุ ประเด็น ยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ เชิงยุทธศาสตร์
ขั้นตอนที่ 5 : การกำหนดกลยุทธ์ หรือสิ่งที่จะทำ เพื่อให้บรรลุประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ สิ่งที่หน่วยงานจะดำเนินการเพื่อให้บรรลุเป้าประสงค์เชิง ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์จะกำหนดขึ้นจากการพิจารณาปัจจัยแห่งความสำเร็จ (critical success factors) เป็นสำคัญ กล่าวคือต้อง พิจารณาว่าในการที่จะบรรลุเป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ข้อ หนึ่งๆ นั้น มีปัจจัยใดบ้างที่มีผลต่อความสำเร็จ และเรา จำเป็นต้องทำอย่างไร จึงจะไปสู่จุดนั้นได้
ขั้นตอนที่ 5 : การกำหนดกลยุทธ์ หรือสิ่งที่จะทำ เพื่อให้บรรลุประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์กับกลยุทธ์ A B ยุทธศาสตร์กลยุทธ์ A B
จากยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัด เป้าหมาย/ค่าเป้าหมาย กลยุทธ์ จุดศูนย์รวม แยกรายละเอียด เป็นหนึ่งเดียว รายการมากมาย ที่มา : ปกรณ์ ปรียากร 2005 สิ่งที่อยากจะให้หน่วยงานเป็น ในอีก 3–5 ปีข้างหน้า กรอบ ขอบเขต การดำเนินงาน ของหน่วยงาน อะไรคือสิ่งที่หน่วยงาน อยากจะบรรลุ ประเด็นหลักต้องคำนึงถึง ต้องพัฒนา ต้องมุ่งเน้น อะไรคือสิ่งที่อยากจะบรรลุ ตามประเด็นยุทธศาสตร์ สิ่งที่จะเป็นตัวบอกว่าหน่วยงานสามารถ บรรลุเป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์หรือไม่ ตัวเลข หรือ ค่า ของตัวชี้วัด ที่จะต้องไปให้ถึง สิ่งที่หน่วยงานจะทำเพื่อให้บรรลุ เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์
วิสัยทัศน์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ แผนที่ยุทธศาสตร์ตัวชี้วัด / ค่าเป้าหมายแผนปฏิบัติการ ประสิทธิภาพ พัฒนาองค์กร เป้าประสงค์เป้าหมายตัวชี้วัดงบประมาณ แผนงาน / โครงการ เป้าประสงค์เชิง ยุทธศาสตร์ ประสิทธิผล คุณภาพ ประสิทธิภาพ พัฒนาองค์กร พันธกิจ เป้าประสงค์ กลยุทธ์ ตัวชี้วัด
วิสัยทัศน์พันธกิจเป้าประสงค์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัด เป้าประสงค์เชิง ยุทธศาสตร์ เป้าหมายกลยุทธ์ ……….… โครงการ 2……….… 3……….… 4……….… 1……….… 2……….… 3……….… 4……….… 5……….… 1……….… 2……….… 3……….… 4……….… 5……….… 1……….… 2……….… 3……….… 4……….… 5……….… 1…… 2…… 3…… 4…… 5…… 6…… 7…… 1…… 2…… 3…… 4…… 5…… 6…… 7…… 1…… 2…… 3…… 4…… 5…… 6…… 7…… 6……….… แผนยุทธศาสตร์ แผน ปฏิบัติการ ผลผลิต ผลลัพธ์ บรรลุตามแผน มีประสิทธิภาพ มีประสิทธิผล
57 วิสัยทัศน์ พันธกิจ ( ทำ ) เป้าประสงค์หลัก สภาพแวดล้อมภายใน จุดอ่อน / จุดแข็ง สภาพแวดล้อมภายนอก โอกาส / อุปสรรค กลยุทธ์ระดับหน่วยงาน ( ทำอะไร ) SWOT ทิศทางของจังหวัด / กลุ่มจังหวัด ประเด็นยุทธศาสตร์ ( ทำด้าน ) ภารกิจหลัก 2. ภารกิจสนับสนุน 1.1 ภารกิจหลัก 1.2 ภารกิจหลัก 2.1 ภารกิจสนับสนุน - จุดมุ่งหมาย เกิดผลมากชัดเจน กว่าเดิม สร้างผลประโยชน์ ให้ได้ - หลายพื้นที่เพิ่ม มากขึ้น -คนเพิ่มมากขึ้น -หลากหลายกลุ่ม
58 ถาม / ตอบ
59 จบ สวัสดี ครับ