เรื่อง หลักการเขียนโปรแกรม เบื้องต้น จัดทำโดย นางสาวชาดา ศักดิ์บุญญารัตน์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
System Requirement Collection (2)
Advertisements

ชื่อผู้สอน : นางฐิติมา พิริยะ
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ Computer programming
การกำหนดปัญหาใน การวิจัย 1. แหล่งที่มาของปัญหา วิจัย 2. การวิเคราะห์ปัญหาวิจัย 3. การประเมินหัวข้อ ปัญหาที่จะทำวิจัย.
เป็นหลักสำคัญในการนำเสนอเนื้อหา ของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนก็คือ ควร นำเสนอภาพที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหา ประกอบ กับคำอธิบายสั้นๆ ง่ายๆ แต่ได้ใจความ การใช้ภาพประกอบจะทำให้ผู้เรียน.
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
หน่วยที่ 3 ภาษาคำสั่งพื้นฐานที่ใช้เขียนโปรแกรม PLC
ซอฟต์แวร์ระบบที่รู้จักกันดี คือซอฟต์แวร์ควบคุมการปฏิบัติการ ของคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการเป็นชุดคำสั่งที่ใช้ควบคุมระบบฮาร์ดแวร์และ.
การเขียนโปรแกรม ภาษาซีเบื้องต้น โดย คุณครูปวีณา แนววงศ์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
Windows Update settings.  เพื่อช่วยให้ windows ของ pc นั้น มีปลอดภัยยิ่งกว่าเดิม และทำงานได้ราบรื่น และจะได้รับการปรับปรุงความ ปลอดภัย ( Security ) ล่าสุดและแก้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
บทที่ 3 จัดทำและนำเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 หลักการทำโครงงาน
ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
ประเภทโครงงาน พัฒนาระบบ (System Development)
CD แผ่น ชื่อ File Program
โปรแกรมคำนวณคะแนน สหกรณ์ ตามเกณฑ์ดีเด่นแห่งชาติ กรมส่งเสริม สหกรณ์ กองพัฒนาสหกรณ์ด้านการเงิน และร้านค้า วิธีการใ ช้
CSIT-URU อ. กฤษณ์ ชัยวัณณคุปต์ Mathematics and Computer Program, URU บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ เทคโนโลยีสารสนเทศ Introduction to Information.
การจัดเก็บข้อมูลในแฟ้มข้อมูลธรรมดา นั้น อาจจำเป็นที่ใช้แต่ละคน จะต้องมีแฟ้มข้อมูลของตนไว้เป็นส่วนตัว จึง อาจเป็นเหตุให้มีการเก็บข้อมูล ชนิดเดียวกันไว้หลาย.
วิธีการใ ช้ โปรแกรมคำนวณคะแนน กลุ่มเกษตรกรดีเด่น กองพัฒนาสหกรณ์ด้าน การเงินและร้านค้า กรมส่งเสริม สหกรณ์
หลักการแก้ปัญหา อย่างมีขั้นตอน การแก้ปัญหาด้วย กระบวนการทาง เทคโนโลยี สารสนเทศ หลักการ แก้ปัญหา การใช้หลักการใน การแก้ปัญหา.
LOGO ภาษาซี 1.1 อ. กฤติเดช จินดาภัทร์. LOGO ตัวอย่างโค้ดภาษาซี
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
ซอร์ฟแวร์ ( Software ). Microsoft excel Microsoft excel Microsoft power point.. Link Link.
เทคนิคการสร้าง ภาพเคลื่อนไหว คอมพิวเตอร์ Computer Animation ง
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
การออกแบบและเทคโนโลยี
ผังงาน..(Flow Chart) หมายถึง...
เรื่อง กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
โครงงาน(Project) เรื่อง ระบบร้านเช่าหนังสือออนไลน์
บทที่ 1 ภาษาคอมพิวเตอร์และ การโปรแกรม
หน่วยการเรียนที่ 6 เรื่อง การจัดการฐานข้อมูลด้วย PHP Function
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
บทที่ 7 การวิเคราะห์และพัฒนาระบบ
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
การพัฒนาระบบสารสนเทศ Information System Development
อัลกอริทึม (Algorithm) และ การเขียนผังงาน (Flowchart)
บทที่ 7 การเขียนโปรแกรม แบบวนรอบทำซ้ำ (Loop)
สาระการเรียนรู้ ความหมายของอัลกอริทึม วิธีการเขียนผังงานที่ดี
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
บทที่ 3 แฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูล
โปรแกรมระบบจัดเก็บข้อมูลสถิติคดีของศาลยุติธรรม
การเขียนหัวข้อ (Proposal) ที่ดี
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ: คำสั่ง while คำสั่ง do….while
บทที่ 7 การวิเคราะห์และพัฒนาระบบ
V ระบบการจัดการฐานข้อมูล บทที่ 2 วงจรการพัฒนาระบบ (SDLC : System Development Life Cycle) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ปริญญา น้อยดอนไพร สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์
พื้นฐานการออกแบบ กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้การสื่อความหมาย ด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายของข้อมูลได้ถูกต้องตรง.
คำรับรองการปฏิบัติราชการ
บทที่ 1 ภาษาคอมพิวเตอร์และ การโปรแกรม
ความรู้พื้นฐานการเขียนโปรแกรม
ใบความรู้ (Information Sheet)
บทที่ 6 แนวคิดเทคโนโลยีเสมือนจริง
บทที่ 9 การทำซ้ำ (Loop).
SMS News Distribute Service
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาวุฒิ จันทรมาลี
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
หน่วยการเรียนรู้ การเขียนโปรแกรมภาษาขั้นพื้นฐาน เรื่อง โครงสร้างพื้นฐาน HTML 5 รหัส รายวิชา ง23102 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 6 กลุ่มสาระ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
การเขียนโปรแกรม ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
บทที่ 8 การแก้ไขข้อผิดพลาดโปรแกรม(Debugging)
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
การออกแบบสื่อการเรียนรู้
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
บทที่ 15 การติดตั้งระบบและการทบทวนระบบงาน.
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตภาคใต้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เรื่อง หลักการเขียนโปรแกรม เบื้องต้น จัดทำโดย นางสาวชาดา ศักดิ์บุญญารัตน์

การเขียนโปรแกรมเพื่อแก้ปัญหาต่างๆ จำเป็นต้องมีการวางแผนและออกแบบ โปรแกรม โดยกำหนดขั้นตอนวิธีการทำงาน ให้ชัดเจน ขั้นตอนที่ 1 การวิเคราะห์ปัญหา (Problem Analysis) ขั้นตอนที่ 2 การออกแบบโปรแกรม (Program Design) ขั้นตอนที่ 3 การเขียนโปรแกรม (Program Coding) ขั้นตอนที่ 4 การทดสอบและแก้ไขโปรแกรม (Program Testing & Verification) ขั้นตอนที่ 5 การจัดทำเอกสารและคู่มือการใช้งาน (Program Documentation) ขั้นตอนที่ 6 การใช้งานจริง (Program Implement) ขั้นตอนที่ 7 การปรับปรุงและพัฒนาโปรแกรม (Program Maintenance)

ขั้นตอนการวิเคราะห์ปัญหาสามารถจำแนก ได้ดังนี้ 1. กำหนดขอบเขตของปัญหา - กำหนดจุดประสงค์การทำงาน - กำหนดเป้าหมายให้ชัดเจน - ศึกษาวิธีการแก้ปัญหา - กำหนดข้อจำกัด 2. กำหนดผลลัพธ์ 3. กำหนดข้อมูลนำเข้า 4. วิธีการประมวลผล

1. การออกแบบโปรแกรมโดยใช้ อัลกอริธึม (Algorithm) เป็นการอธิบาย ถึงลำดับขั้นตอนการทำงานของการแก้ปัญหา 2. การออกแบบโปรแกรมโดยใช้ รหัสจำลอง (Pseudo Code) เป็นการออกแบบขั้นตอน การทำงาน ของโปรแกรมโดยการใช้ข้อความ ภาษาอังกฤษที่ใกล้เคียงกับภาษาคอมพิวเตอร์ 3. การออกแบบโปรแกรมโดยใช้ ผังงาน (Flowchart) การใช้สัญลักษณ์รูปภาพ หรือ กล่องข้อความบรรยายรายละเอียดการทำงาน และใช้ลูกศรบอกทิศทางลำดับของการทำงาน

โดยการนำแนวคิดจาก อัลกอริธึม หรือผัง งานมาแปลงให้อยู่ในรูป คำสั่งคอมพิวเตอร์ โดยอาศัยความรู้และทักษะ การเขียนโปรแกรมและใช้ ภาษาคอมพิวเตอร์รวมทั้งเครื่องมือช่วยในการ เขียนโปรแกรมต่างๆ - เลือกภาษาที่เหมาะสม - ลงมือเขียนโปรแกรม

การทดสอบและแก้ไขโปรแกรม เป็น ขั้นตอนการตรวจสอบ โปรแกรมที่เขียนได้ ว่าทำงานถูกต้องตรงตาม ความต้องการ ความผิดพลาด (Errors) ที่สามารถ เกิดขึ้นได้ มีดังนี้ - Syntax Error ความผิดพลาดที่เกิด จากการใช้คำสั่งผิดรูปแบบ การเขียนคำสั่งผิด เช่น คำสั่ง while( ) เป็น WHILE( ) - Logic Error ความผิดพลาดที่เกิดจากการ ที่โปรแกรมทำงาน ผิดไปจากขั้นตอนที่ควรจะเป็น

การจัดทำเอกสารและคู่มือการใช้งาน จัดทำเอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง กับระบบหรือการเขียนโปรแกรม ได้แก่ - คู่มือสำหรับผู้ใช้โปรแกรม - คู่มือสำหรับผู้เขียนโปรแกรม

การใช้งานจริง เป็นขั้นตอนสำคัญ หลังจากทำการทดสอบและ แก้ไขโปรแกรมให้มีความถูกต้องเรียบร้อยแล้ว โดยการนำโปรแกรมไปใช้ งานจริงด้วยการป้อนข้อมูลต่างๆ สภาวะแวดล้อม และสถานการณ์ต่างๆ โดยผู้ใช้งานโปรแกรมสามารถทำงานตามฟังก์ชั่น และทำตามจุดประสงค์ ของโปรแกรมที่เขียนไว้ ขั้นตอนการใช้งานจริง ของโปรแกรม หากพบ ข้อผิดพลาดก็สามารถปรับปรุง แก้ไข โปรแกรม ให้ถูกต้องได้

การเขียนโปรแกรมที่ดีต้องมีขั้นตอน การปรับปรุงและพัฒนา โปรแกรมให้มีความถูกต้อง ทันสมัย และตรงกับ ความต้องการของผู้ใช้ มากที่สุด โดยทั่วไปโปรแกรมที่ใช้งานจะ ประกอบด้วยหลายๆรุ่น เช่นรุ่น ทดสอบ (Beta Version) และ รุ่นที่ใช้งานจริง (Release Version) และต้องมี การปรับเปลี่ยนโปรแกรมให้ดีขึ้น ดังตัวอย่างเช่น โปรแกรมเวอร์ชัน 1 มี การเพิ่มเติม ปรับปรุง แก้ไขโปรแกรมเป็นเวอร์ชัน 1.2 เป็นต้น

ปัญหาที่ 1 จงคำนวณหาพื้นที่ของรูป สี่เหลี่ยมผืนผ้าที่มีด้านกว้าง 3 นิ้ว ด้านยาว 5 นิ้ว 1. กำหนดวัตถุประสงค์ของงาน เพื่อคำนวณหาพื้นที่รูป สี่เหลี่ยมผืนผ้า แล้วออกเป็นรายงาน 2. พิจารณาข้อมูลนำออก ให้มีการแสดงผลทางจอภาพดังนี้ การคำนวณพื้นที่รูป สี่เหลี่ยมผืนผ้า ด้านกว้าง = 3 ด้านยาว = 5 พื้นที่ (C)

3. พิจารณาข้อมูลนำเข้า 3.1 ตัวเลขขนาดความยาวของด้านกว้าง = ตัวเลขขนาดความยาวของด้านยาว = 5 4. พิจารณาวิธีการประมวลผล 4.1 เริ่มต้นทำงาน 4.2 กำหนดค่า A = กำหนดค่า B = กำหนดค่า C = คำนวณ C = AxB 4.6 แสดงผลการคำนวณ 4.7 หยุดการทำงาน

Start A= 3,B=5,C= 0 C= AxB C Stop

ปัญหาที่ 2 จงคำนวณค่าแรงของพนักงานคน หนึ่งในโรงงานแห่งหนึ่ง โดย ค่าแรงได้จากอัตราค่าแรงคูณด้วยชั่วโมง และหัก ภาษี 10% ได้ค่าแรงสุทธิ 1. กำหนดวัตถุประสงค์ของงาน เพื่อคำนวณค่าแรงของพนักงาน แล้ว ออกเป็นรายงาน 2. พิจารณาข้อมูลนำออก ให้มีการรายงานดังนี้

3. พิจารณาข้อมูลนำเข้า

4. พิจารณาวิธีการประมวลผล 4.1 เริ่มต้นทำงาน 4.2 อ่านเลขประจำตัว ชื่อ ชั่วโมงทำงาน อัตราค่าแรง 4.3 ค่าแรง = ชั่วโมงทำงาน คูณ อัตรา ค่าแรง 4.4 ภาษี = ค่าแรง คูณ 10% 4.5 ค่าแรงสุทธิ = ค่าแรง - ภาษี 4.6 พิมพ์หัวข้อรายงาน 4.7 พิมพ์ เลขประจำตัว ชื่อ ค่าแรง ภาษี ค่าแรงสุทธิ 4.8 หยุดการทำงาน

ปัญหาที่ 3 จงคำนวณหาพื้นที่ของรูป สามเหลี่ยม (Area) ที่มีด้านกว้าง (width) 8 เมตร ด้านยาว (Length) 3 เมตร 1. กำหนดวัตถุประสงค์ของงาน 2. พิจารณาข้อมูลนำออก 3. พิจารณาข้อมูลนำเข้า 4. พิจารณาวิธีการประมวลผล