งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
1. เข้าใจความหมายและลักษณะของเครื่องชี้วัดในแง่มุมต่างๆ 2. เข้าใจแนวทางการคัดเลือกเครื่องชี้วัด เลือกเครื่องชี้วัดที่เหมาะสม 3. เข้าใจข้อจำกัดของเครื่องชี้วัด รู้วิธีแก้ไขข้อจำกัด 4. กำหนดเครื่องชี้วัดที่เหมาะสมสำหรับ รพ.และหน่วยงาน สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล Indicator:01

2 เครื่องชี้วัดคุณภาพ ใช้วัด คัดกรอง ส่งสัญญาณในการเฝ้าติดตาม ประเมิน ปรับปรุงคุณภาพ ปัจจัยนำเข้า กระบวนการ ผลลัพธ์ ผลกระทบ คน เครื่องมือ ข้อมูลข่าวสาร มี? ทำ? ทำถูก? ทำดี? ทำทัน? ถูกที่? โดยคนทึ่ควร? หาย, ตาย แทรกซ้อน วันนอน ค่าใช้จ่าย ความรู้ เจตคติ พฤติกรรม พึงพอใจ คุณภาพชีวิต สถานะสุขภาพ สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล Indicator:02

3 มิติของเครื่องชี้วัดคุณภาพ
กระบวนการ ปัจจัยนำเข้า ผลลัพธ์ เป็นที่ยอมรับของผู้ป่วย  การเข้าถึง   ความถูกต้องเหมาะสม  ศักยภาพ  ความต่อเนื่อง  ผลลัพธ์ดี  ใช้ทรัพยากรคุ้มค่า  มีความเสี่ยงน้อย    พิทักษ์สิทธิและศักดิ์ศรี   สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล Indicator:03

4 เครื่องชี้วัดตามวัตถุประสงค์ต่างๆ
สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล Indicator:04

5 ความสัมพันธ์ระหว่างผู้รับผลงาน กระบวนการ เครื่องชี้วัด
สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล Indicator:05

6 หาเครื่องชี้วัดของกระบวนการ
ผู้รับผลงาน ความต้องการ เครื่องชี้วัดคุณภาพ มิติของคุณภาพ สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล Indicator:06

7 การคัดเลือกเครื่องชี้วัด
ง่าย วัดได้ง่าย วัดสิ่งสำคัญ ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลง มีความไวต่อการเปลี่ยนแปลง วัดสิ่งสำคัญ 10 วัดง่าย 1 5 10 1 สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล Indicator:07

8 การใช้ประโยชน์จากเครื่องชี้วัด
ตัวเลขของคนอื่นเป็นอย่างไร ตัวเลขในอดีตของเราเป็นอย่างไร ทำไมตัวเลขของเราจึงอยู่ในระดับนั้น ตัวเลขควรเป็นเท่าไร เรื่องใดที่ควรปรับปรุง ที่ผ่านมาทำอะไรสำเร็จไปแล้วบ้าง สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล Indicator:08

9 เครื่องชี้วัดในระดับ รพ.
การดูแลทางคลินิก การบริการ การจัดองค์กร เครื่องชี้วัดแต่ละตัวมีข้อจำกัด -ต้องเข้าใจและยอมรับ -หาวิธีการวิเคราะห์เพิ่มเติม พรพ. Indicator:09

10 อัตราตาย ผู้ป่วยใน 10,000 ราย ผู้ป่วยผ่าตัด 1,000 ราย
ผู้ป่วยใน 10,000 ราย ผู้ป่วยผ่าตัด ,000 ราย ทารกแรกเกิด ราย ผู้ป่วยในเสียชีวิต ราย ผู้ป่วยเสียชีวิตจากการผ่าตัด ราย ทารกแรกเกิดเสียชีวิตใน 28 วัน 5 ราย มารดาเสียชีวิตจากการคลอด ราย อัตราตายรวม อัตราตายระหว่างผ่าตัด อัตราตายของทารกแรกเกิด อัตราตายของมารดาเนื่องจากการคลอด ข้อมูลเหล่านี้หายากหรือไม่ พรพ. Indicator:10

11 ประเด็นอภิปราย 1. เราควรสนใจข้อมูลการเสียชีวิตเมื่อไร
2. เราควรทบทวนเวชระเบียนของผู้ป่วยที่เสียชีวิต ในกรณีใดบ้าง 3. ข้อมูลอัตราตายรวมสะท้อนคุณภาพการดูแลผู้ป่วย ได้เพียงใด 4. เราควรทำอะไรเมื่อทารกแรกเกิดเสียชีวิต 5. อัตราตายระหว่างผ่าตัด กับจำนวนผู้ป่วยที่เสียชีวิต ระหว่างผ่าตัด อันไหนสำคัญกว่ากัน สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล Indicator:11

12 อัตราการติดเชื้อใน รพ.
ผู้ป่วยในที่จำหน่าย 10,000 ราย ผู้ป่วยผ่าตัด ,000 ราย การติดเชื้อใน รพ. ทั้งหมด ครั้ง การติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะ ครั้ง การติดเชื้อระบบทางเดินหายใจ ครั้ง การติดเชื้อแผลผ่าตัด ครั้ง อัตราการติดเชื้อใน รพ. สัดส่วนการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ สัดส่วนการติดเชื้อแผลผ่าตัด อัตราการติดเชื้อแผลผ่าตัด ข้อมูลเหล่านี้หายากหรือไม่ สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล Indicator:12

13 ประเด็นอภิปราย 1. ข้อมูลอัตราการติดเชื้อใน รพ. และสัดส่วนการติดเชื้อ
ในระบบต่างๆ บอกอะไรแก่เรา 2. ข้อมูลการติดเชื้อใน รพ.ที่จะสะท้อนคุณภาพ การดูแลผู้ป่วย และมีส่วนชี้ให้เห็นโอกาสพัฒนา ควรเป็นอย่างไร 3. ข้อมูลอัตราการติดเชื้อแผลผ่าตัดที่มีประโยชน์ สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล Indicator:13

14 ความคลาดเคลื่อนด้านยา (Medication Error)
Indicator:14

15 ประเด็นอภิปราย 1. ใครควรเป็นผู้เก็บข้อมูลและประมวลผล
2. จะทำอย่างไรให้เกิดระบบข้อมูลชุดนี้ 3. เหตุใดจึงต้องจำแนกผลกระทบของความคลาดเคลื่อน 4. เหตุใดตัวหารของความคลาดเคลื่อนแต่ละกลุ่มจึง ไม่เหมือนกัน 5. ข้อมูลใดควรเก็บทั้งหมด ข้อมูลใดควรใช้วิธีสุ่มตัวอย่าง สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล Indicator:15

16 เลือกเครื่องชี้วัดระดับ รพ.
ก) อัตราตายรวม ข) อัตราตายระหว่างผ่าตัด ค) อัตราตายทารกแรกเกิด ง) อัตรการติดเชื้อใน รพ. จ) อัตราการแพ้ยา ฉ) อัตราปฏิกิริยาจากเลือด ช) อัตรา readmit ใน 28 วัน ซ) อัตราผ่าตัดซ้ำ ฌ) อัตราเด็กเกิด นน.น้อย ญ) ความสมบูรณ์ของเวชระเบียน ฎ) วันนอนเฉลี่ยในสิบโรคแรก ฏ) อัตราผ่าตัดคลอด ฐ) CT scan ผิดปกติ วัดสิ่งสำคัญ 10 วัดง่าย 1 5 10 1 สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล Indicator:16

17 เลือกเครื่องชี้วัดระดับหน่วยงาน
นำตัวอย่างเครื่องชี้วัด ในเอกสารประกอบการประชุม มาคัดเลือก วัดสิ่งสำคัญ 10 วัดง่าย 1 5 10 1 สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล Indicator:17


ดาวน์โหลด ppt เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google