งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โภชนะบำบัด (Dietetics)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โภชนะบำบัด (Dietetics)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โภชนะบำบัด (Dietetics)
การใช้อาหารรักษาโรค อาหารที่จะช่วยให้ผู้ป่วยหายเร็วขึ้น ตามหลักโภชนาการ

2 อาหารช่วยรักษาโรคได้เพราะ
บางโรคเกิดจากการขาดสารอาหาร บางโรคเกิดจากร่างกายใช้สารอาหารได้ผิดปกติ บางโรคเกิดจากร่างกายสูญเสียเนื้อเยื่อ ต้องรักษาด้วยการจัดอาหารให้เหมาะ กับความต้องการของร่างกาย

3 บางโรคต้องการดัดแปลงปริมาณสารอาหาร เพื่อให้อวัยวะที่เป็นโรคได้พักผ่อน
เราสามารถรักษาโรคบางอย่างให้หายได้ด้วยการจัดอาหารตามหลักโภชนาการ เช่น โรคขาดสารอาหาร โรคขาดสารอาหาร บางโรคต้องการดัดแปลงปริมาณสารอาหาร เพื่อให้อวัยวะที่เป็นโรคได้พักผ่อน เช่น โรคเบาหวาน

4 การจัดอาหารให้เหมาะกับสภาพของร่างกาย
จะช่วยให้โรคหายเร็วขึ้น ระยะพักฟื้นสั้น ความต้านทานโรคสูง เกิดโรคแทรกซ้อนน้อยลง โภชนะบำบัดจึงเป็นสิ่งสำคัญต่อการรักษาโรค

5 นักกำหนดอาหาร (Dietitians)
ผู้ทีมีความรู้ทาโภชนาการ และโภชนะบำบัด และมีหน้าที่จัดอาหาร ผู้ป่วยที่รักษาตัวที่โรงพยาบาล ต้องการอาหารเหมือนคนปกติ ผู้จัดอาหารในโรงพยาบาลต้องคำนึงถึง ๓ สิ่งต่อไปนี้ ๑.ตัวผู้ป่วยเอง ความต้องการและความรู้สึกนึกคิดของเขา ๒.ภาพทั่วๆไปในโรงพยาบาล ๓.เจ้าหน้าที่ผู้ให้การรักษาพยาบาล

6 ผู้ป่วย ผู้ป่วยจะมีความวิตกกังวลต่างๆนานา เพิ่มขึ้นจากอาการ
ป่วยทางร่างกาย บุคคลแต่ละคนจะมีความคิด ความเชื่อต่างๆ แล้วสภาพแวดล้อมทางบ้าน มีความต้องการทังทาง ร่างกาย จิตใจ สังคม แลวัฒนธรรม

7 ความต้องการทางกาย ได้แก่ความต้องการพื้นฐาน น้ำ อาหาร
ความสบาย ความปลอดภัย อาจสังเกตได้จากอายุ เพศ ลักษณะ อาการทั่วๆไป การกินอาหาร อาการของโรค ความต้องการทางจิตใจ ความวิตกกังวลเรื่องของโรค และการเปลี่ยนสถานที่ ทำให้ผู้ป่วยปฏิบัติตนต่างๆอาจจะเงียบ อาจจู้จี้ขี้บ่น อาจจะหาทางติอาหาร ฯลฯ ความต้องการทางสังคมและวัฒนธรรม คือสิ่งต่างๆที่ทำให้ผู้ป่วยปฏิบัติตนต่างๆกัน ได้แก่ครอบครัวของเขา การร่วมกิจกรรม หน้าที่การงาน ฐานะทางเศรษฐกิจ ที่อยู่อาศัย

8 ความร่วมมือของฝ่ายที่ให้การรักษาพยาบาล
แพทย์ใหญ่ แพทย์ฝึกหัด แพทย์เวร นางพยาบาล ผู้ช่วยพยาบาล นักกำหนดอาหาร พนักงานยกอาหาร คนงาน ล้วนมีส่วนในการรักษาให้ผู้ป่วยหายเร็วหรือช้า หากมีการประชุมร่วมกัน ประสานกันเป็นทีม หาทางแก้ปัญหาอย่างสม่ำเสมอจะเป็นผลที่ดีที่ส่งถึงผู้รับการบำบัด

9 การวางแผนให้การดูแลเรื่องโภชนาการ
แพทย์และนักกำหนดอาหารควรร่วมกันวางแผนให้การดูแลเรื่องโภชนาการแก่ผู้ป่วย โดยคิดถึงความต้องการในอดีต ปัจจุบัน และอนาคต ซึ่งครอบครัวผู้ป่วยและตัวผู้ป่วยเองจะให้ข้อมูลได้อย่างดี ความสามารถในการสอบถามและการสังเกตอย่างใกล้ชิด จะช่วยให้วางแผนโภชนาการสำหรับผู้ป่วยแต่ละรายได้ดี สิ่งที่ต้องปฏิบัติคือ ถามประวัติการกินอาหารแล้วคิดเป็นปริมาณสารอาหารที่ผู้ป่วยเคยได้รับวางแผนการให้ความรู้ทางโภชนาการแก่ผู้ป่วย กำหนดอาหารในระยะป่วย และในระยะต่อไปเมื่อผู้ป่วยกลับบ้านได้แล้ว

10 พื้นฐานการกำหนดอาหาร
ผู้ป่วยและญาติผู้ป่วยควรได้รับรู้วาอาหารผู้ป่วยก็คือ อาหารปกติของคนทั่วไป มีการดัดแปลงเพียงให้เหมาะสมกับสภาพของโรคเท่านั้น การเปลี่ยนแปลงมีดังนี้คือ ๑.สารอาหาร ดัดแปลงจำนวนสารอาหารที่สำคัญๆได้แก่ โปรตีน คาร์โบไฮเดรต ไขมัน เกลือแร่ และวิตามิน ๒.พลังงาน เพิ่มหรือลดแคลอรี ๓.ลักษณะ เปลี่ยนความนุ่ม ความแข็ง และรส เช่นอาหารเหลว อาหารจืด อาหารกากน้อย

11 สิ่งที่กำหนดการจัดอาหารสำหรับผู้ป่วยแต่ละคนมี ๔อย่าง
๑.ความต้องการของผู้ป่วยแต่ละคน ๒.โรคและผลที่โรคมีต่อร่างกายและการย่อย การดูดซึมอาหาร ๓.การรักษาด้วยอาหาร จะจัดปรับอาหารอย่างไรจึงจะแก้ปัญหาของโรคได้ ๔.การจัดอาหาร การปรับอาหารจะมีผลต่อการจัด ปรุงและเสิร์พอาหารอย่างไร การจัดต่างๆนี้จะต้องคำนึงถึงตัวผู้ป่วยหากที่สุด

12 แผนกอาหารและโภชนาการในโรงพยาบาล
ต้องจัดอาหารให้ทั้งผู้ป่วยและเจ้าหน้าที่ของโรงพยาบาล อาจต้องจัดจำหน่ายแก่ญาติผู้ป่วยด้วย ความร่วมมือกับหน่วยอื่นๆในโรงพยาบาลจึงเป็นเรื่องสำคัญ แผนกนี้จะต้องมีเจ้าหน้าที่เป็นผู้รู้หลายเรื่อง อาหารทุกประเภท แม้แต่อาหารปกติก็เป็นสิ่งสำคัญที่สุดที่ช่วยรักษาโรคให้ผู้ป่วยได้ ถ้าจัดอาหารแล้วผู้ป่วยไม่กินก็ไม่สามารถทำหน้าที่รักษาโรคได้ ในบารายจะต้องช่วยป้อนให้ด้วย ผู้ป่วยจึงจะสามารถกินได้ ในระหว่างป้อนจะต้องพูดจาเอาใจบ้าง อธิบายเหตุผลบ้าง แล้วแต่ความต้องการของผู้ป่วยแต่ละราย

13 “คน” จะประกอบไปด้วย ๕ ธาตุ
๑.ธาตุดิน ๒.ธาตุน้ำ ๓.ธาตุลม ๔.ธาตุไฟ ๕.ธาตุทอง สังเกต ป้องกัน ดูแลสุขภาพเบื้องต้นให้สอดคล้องกับธรรมชาติ ก่อนพึ่ง “ยา”

14 ๒.ธาตุน้ำ เลือด ดำ-แดง น้ำเหลือง น้ำลาย น้ำมูก น้ำตา น้ำย่อย ระดู อสุจิ ของเหลวทั้งหมด ๒๐% มองด้วยตาเปล่า ตาไม่ชุ่มชื้น ตาแห้ง หน้าแห้ง มีฝ้า ปากแห้ง ซีด แตก ร้อนใน เจ็บคอ คอแห้ง ลิ้นขม ไอมีเสหะ ทอนซิน ไทย์ลอยด์ ปวดประจำเดือน เลือดน้อย ริดสิดวง ท้องผูก ฉี่เหลือง ผิวแห้ง ดื่มน้ำให้ได้ ๑๔ แก้วต่อวัน (แก้วละ ๑๕๐ซีซี) ตื่นเช้าทุกๆ ๑๕ นาที ให้ได้ ๑ แก้ว = ๔ แก้ว ก่อนมื้อและหลังมื้อ อาหารเช้า กลางวัน เย็น ๑ แก้ว = ๖ แก้ว ๑๐ โมงเช้า ๑ แก้ว บ่ายสองโมง๑ แก้ว สี่โมงเย็น ๑ แก้ว ก่อนนอน ๑แก้ว

15 ๓.ธาตุลม ลมหายใจเข้าออก ผายลม เลอลม ลมแน่นจุกเสียด ลมต่างๆในร่างกาย
๒๐% ผายลม เลอลม จุกเสียด แน่น หิว-อิ่ม ก็แน่น เลี่ยงอาหารที่เกิดลม น้ำอัดลม กล้วยหอม ถั่วต้ม มันต้ม ขนุน ทุเรียน กิอาหารให้เป็นเวลา เคี้ยวให้นาน ละเอียด ลดของหมักดอง

16 เส้นประสาท ทั่วร่างกาย ๗๒,๐๐๐ เส้น
๔.ธาตุไฟ เส้นประสาท ทั่วร่างกาย ๗๒,๐๐๐ เส้น ๒๐% ไม่กระฉับกระเฉง ง่วงนอน หาว ปวดหัว มึนหัว เมื่อยคอ ไหล่ หลัง เอว เข่า สะโพก ก้นกบ ชา ตะคริว อัมพฤกต ตึง ฉีก พักผ่อนให้เพียงพอ ออกกำลังกายให้ถูกวิธี จี้กง ไทเก็ก นวดตัว อบ ประคบ นวดกดจุดสะท้อนเท้า

17 ๑.ธาตุดิน เนื้อ หนัง กระดูก ขน ผม เอ็น เล็บ อวัยวะต่างๆ ๒๐%
มองด้วยตาเปล่า อ้วน ผอม สูง แก้ไขโดยธรรมชาติ เลี่ยงอาหาร มัน กินครบหมู่ ข้าวกล้อง ชีวจิต อาหารแมคโค ฯลฯ สมุนไพร อาหารเสริม

18 ๕.ธาตุทอง อารมณ์ต่างๆทั้ง ดี-ร้าย ๒๐% มี ๓ ระดับ
ระดับที่ ๑. น้อยไป เครียด หงุดหงิด โกรธง่าย ขี้บ่น ขี้หึง ระดับที่๒. พอดี อารมณ์เย็น ใจดี พูดเพาะ มองโลกในแง่ดี ระดับที่๓. มากไป ประสาท บ้า นั่งสมาธิ ฟังธรรม พูดคุยกับคนที่พูดในเชิงบวก หลีกเลี่ยง คนที่มีอารมณ์ อิจฉา ริษยา พูดแต่เรื่องที่ทำให้จิตตกต่ำ

19 “น้ำ” (Water) น้ำเป็นส่วยหนึ่งของร่างกายมนุษย์ แต่เรามักไม่ให้ความสำคัญจนกว่าเราจะขาดมันไป เราจะมีชีวิตอยู่ได้แม้จะขาดสารอาหารอื่นๆเป็นเวลานาน สารอาหารบางชนิดแม้ไม่ได้รับก็ยังมีชีวิตอยู่ได้เป็นเดือนหรือเป็นปี แต่เราจะมีชีวิตอยู่ได้เพียงไม่กี่วันหากปราศจากน้ำ ในเลือดมีน้ำอยู่ ๘๐% ในสมองมีน้ำอยู่ ๗๕% ผู้ใหญ่มีความต้องการน้ำชดเชย ๖%ของน้ำที่ใช้ในแต่ละวัน เด็กทารกต้องการน้ำชดเชยถึง ๑๕%

20 น้ำในร่างกายมี ๒ ส่วนหลักๆคือ
๑.น้ำภายในเซลล์ ๒ใน๓ของน้ำในร่างกายเป็นน้ำที่อยู่ภายในเซลล์ ๒.น้ำภายนอกเซลล์ ๑ใน๓ของน้ำในร่างกายเป็นน้ำที่อยู่ภายนอกเซลล์ น้ำสองส่วนนี้จะแยกออกจากกันโดยผนัง Semi permeable membrane ที่อนุญาตให้น้ำผ่านอย่างง่ายดาย นอกจากนี้อิเล็กโตรไลท์บางชนิดหรือธาตุเหล็กโดยเฉพาะโซเดียม โพแทสเซียม และคลอไรด์ก็สามารถผ่านเยื่อหุ้มเซลล์นี้ได้

21 หน้าที่ของน้ำภายในร่างกาย
น้ำเป็นองค์ประกอบที่สำคัญต่อการทำงานของเอนไซม์ เผาผลาญพลังงานและการใช้เอนไซม์เสริม เอนไซม์ทุกชนิดเป็นไฮโดรคลอลิค ซึ่งมีความหมายว่า ต้องทำงานในน้ำ น้ำมีหน้าที่หลักในกระบวนการทำงานของร่างกายดังนี้ ๑.เป็นแหล่งของแร่ธาตุ แม้ว่าน้ำจะประกอยไปด้วยองค์ประกอกคือไฮโดรเจนและออกซิเจน แต่น้ำดื่มก็ยังเป็นแหล่งของแร่ธาตุสำคัญเช่น คลอรีน สังกะสี ทองแดง แมกนีเซียมและโซเดียม

22 ๒.เป็นตัวทำละลาย ผู้มีน้ำหนักตัวประมาณ ๑๕๐ ปอนด์ จะมีเลือดประมาณ ๕ ควอต(ประมาณ ๕.๖ลิตร)น้ำระหว่างเซลล์จะเป็นตัวทำละลายให้กับคาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน วิตามินและเกลือแร่ สารอาหารเหล่านี้และฮอร์โมนอีกหลายชนิดจะต้องถูกขนถ่ายไปส่วนต่างๆของร่างกายเพื่อให้มีสารอาหารที่เพียงพอและให้เกิดการทำงานอย่างเหมาะสม น้ำเป็นตัวขนถ่ายสารอาหารทั้งหมด ๓.เป็นสารหล่อล่น คุณลักษณะอีกอย่างหนึ่งของน้ำที่สำคัญคือไม่สามารถอัดตัวกันได้ โมเลกุลของน้ำจะต้านการเกาะกลุ่มรวมกัน จากคุณสมบัตินี้ น้ำจึงมีหน้าที่เป็นสารหล่อลื่นที่บริเวณรอบข้อต่อของกระดูก

23 ๔.เป็นตัวควบคุมอุณหภูมิ เพราะน้ำมีคุณสมบัติในการควบคุมความร้อน น้ำจึงมีบทบาทสำคัญในการกระจายความร้อนไปทั่วร่างกาย ดังนั้นจึงเป็นตัวควบคุมอุณหภูมิในร่างกาย ร่างกายต้องการความร้อนบางอย่างที่เกิดจากการเผาผลาญพลังงานของคาร์โบไฮเดรต ไขมันและโปรตีนเพื่อรักษา อุณหภูมิให้อยู่คงที่ที่ระดับ ๙๘.๖ องศาฟาเรนไฮน์ซึ่งเป็นระดับอุณหภูมิที่เอนไซม์ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากที่สุด ๕.ช่วยส่งเสริมการเจริญเติบโต เพื่อการเจริญเติบโต ร่างกายจะต้องมีน้ำอยู่ในเซลล์ ในไกลโคเจนมีน้ำประมาณ ๒ ใน ๓ ในเนื้อเยื่อไขมันมีน้ำประมาณ ๑ ใน ๕ และในกล้ามเนื้อมีน้ำประมาณเกือบ ๓ ใน ๔ การเจริญเติบโตจะเกิดขึ้นไม่ได้หากมีน้ำไม่เพียงในร่างกาย

24 ๖.เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา น้ำเป็นตัวเร่งปฏิกิริยาทางชีววิทยาภายในเซลล์น้ำเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับการทำปฏิกิริยาแยกสลายโมเลกุลสารอาหารที่ซับซ้อนให้กลายเป็นสารประกอบเดียว ๗.ช่วยรักษาสมดุล กรด-ด่าง ค่า pH ของเลือดจะอยู่ที่ระหว่าง 7.35 และ 7.45 ซึ่งจะใกล้ค่าที่เป็นด่างเล็กน้อย ด้วยคุณสมบัติข้อนี้ ร่างกายจะใช้น้ำในการเจือจางและช่วยในการทำงานของปอด ไตและโปรตีนในเลือด

25 ร่างกายของเราต้องการน้ำเท่าไหร่ในแต่ละวัน
ผู้ใหญ่ต้องการน้ำประมาณ ๑ มิลลิลิตรต่อปริมาณแคลอรี่ในอาหารคือประมาณ ๑๐ แก้วต่อพลังงานที่ได้รับ ๒,๔๐๐ แคลอรี่ เพื่อสุขภาพที่ดีต้องได้รับน้ำเท่ากับปริมาณน้ำที่ใช้ออกไป นักโภชนาการแนะนำว่าควรดื่มในแต่ละวันไม่ต่ำกว่า ๒ ลิตรถึง ๒.๕ ลิตร ผลกระทบที่เกิดจากการขาดน้ำ หากร่างกายขาดน้ำเกิน ๒% ของน้ำหนักร่างกาย จะทำให้รู้สึกกระหายน้ำ ถ้าขาดน้ำเกิน ๔% กล้ามเนื้อจะหมดแรง ในเวลาที่ร่างกายเสียน้ำ ๑๐-๑๒%ความอดทนต่อความร้อนจะลดลงและรู้สึกอ่อนเพลียอย่างรุนแรง หากขาดน้ำลดลงถึง ๒๐% ร่างกายจะอยู่ในขั้นที่ไม่รู้สึกตัวและเสียชีวิตในที่สุดเราจึงควรดื่มน้ำอย่างน้อยที่สุด ๘ แก้วต่อวัน

26 น้ำ RO ไม่ควรดื่ม น้ำที่ดี
น้ำ อาร์ โอ เป็นน้ำที่กรองเอา แร่ธาตุต่างๆที่มีความจำเป็นต่อร่างกาย แต่มีการกรองเอาสารต่างๆนี้ออกจนหมด จึ่งไม่เหมาะสมในการที่เราจะนำมาดื่มเขาสู่ร่างกาย เพราะจะไม่ค่อยมีประโยชน์ น้ำที่ดี ช่วยนำของเสียในเลือดออกมาทิ้งทางปัสสาวะ การดื่มน้ำสะอาดจะเข้าไปช่วยล้างเซลล์เม็ดเลือดให้สะอาด ลดน้ำหนัก ขับของเสียออกจากร่างกาย

27 น้ำอัดลม สารตัวสำคัญในน้ำอัดลม คือกรดกำมะถัน (Phosphoric acid)จะมีความเป็นกรดสูงพอที่จะละลายตะปูได้ภายใน ๔ วัน กรดที่สะสมอยู่ในร่างกาย ทำให้ยากที่จะทำให้น้ำหนักตัวลดลงได้ น้ำโซดาจะเป็นตัวชะล้างแคลเซียมออกจากกระดูกของท่าน ช่วยทำให้เกิดโรคกระดูกพรุน ในน้ำอัดลมหนึ่งกระป๋อง จะมีน้ำตาลที่ไม่ให้พลังงานอยู่ประมาณ ๑๒ ช้อนชา ในน้ำอัดลมที่ช่วยลดน้ำหนักตัว(Diet soda)ที่ใช้น้ำตาลเทียมสังเคราะห์(Artificial sweetener)เพิ่มความหวาน จะทำให้ร่างกายของท่านกระหายน้ำตาลมากยิ่งขึ้น เพราะว่า น้ำตาลสังเคราะห์เหล่านี้มีความหวานมากกว่าน้ำตาลธรรมดามาก สีที่ใช้เติมในน้ำอัดลม เป็นสารเคมีก่อมะเร็ง เราเรียกน้ำอัดลมว่า น้ำตาลเหลว มีน้ำตาลสูงมากเท่ากับช็อกโกเล็ตน้ำตาลเหลว

28 กาแฟ เป็นสารก่อมะเร็ง
เม็ดกาแฟต้องมีการคั่วโดยที่จริงแล้วระบุว่าอุณหภูมิต้องไม่เกิน ๙๔ องศาการคั่วจนกระทั่งอุณหภูมิมากเกินจะก่อให้เกิดสารก่อมะเร็ง น้ำมันในเม็ดกาแฟรวมตัวกับกลิ่นไหม้ยิ่งเป็นสารก่อมะเร็งมากขึ้น

29 ไขมัน กรดไขมัน Fatty Acid
ไขมันมีทั้งคลอเลสตอรอล LDL และ HDL LDL Cholesterol เป็นไขมันตัวร้าย กรดไขมันอิ่มตัว (Saturated Fatty Acid) อิ่มจะไปนอน HDL Cholesterol เป็นไขมันตัวดี กรดไขมันไม่อิ่มตัว (Unsaturated fatty Acid) ไม่อิ่มจะไปกวาดบ้าน

30 กรดไขมันอิ่มตัว (Saturated Fatty Acid) “อิ่มจะไปนอน”
***** กรดไขมัน ที่คาร์บอนมีไฮโดรเจนจับเกาะอยู่เต็มทีแล้ว ไม่สามารถจะรับไฮโดรเจนเข้าไปในโมเลกุลได้อีก กรดไขมันอิ่มตัวเป็นไขมันที่ได้จากสัตว์ เหม็นหืนง่าย มีมากใน น้ำมันหมู น้ำมันไก่ น้ำมันวัว น้ำมันแกะ เป็นต้น เป็นกรดไขมันที่ร่างกายสามารถสร้างขึ้นได้เอง จึงไม่มีความจำเป็นต้องกินเข้าไปเพิ่ม

31 กรดไขมันไม่อิ่มตัว (Unsaturated Fatty Acid) “ไม่อิ่มจะไปกวาดบ้าน”
*****กรดไขมัน ที่คาร์บอนในโมเลกุลมีไฮโดรเจนจับเกาะไม่เต็มที่ สามารถรับไฮโดรเจนเข้าไปในโมเลกุลได้อีก กรดไขมันดังกล่าวเช่น กรดโอเลอิค ไลโนเลอิค ไลโนเลนิค และอราคิโดนิค ซึ่งที่มีกรดไขมันไม่อิ่มตัวอยู่มาก ได้แก่ น้ำมันพืชต่างๆโดยสังเกตได้ว่า ลักษณะจะเป็นของเหลวที่อุณหภูมิห้อง

32 กรดไขมันอิ่มตัว และ กรดไขมันไม่อิ่มตัว แบ่งย่อยออกไปได้อีก ๒ ชนิด คือ Mono และ Poly

33 Monounsaturated Fat เป็นกรดไขมันไม่อิ่มตัวตำแหน่งเดียว ในด้านสุขภาพ กรดไขมันไม่อิ่มตัวนี้มีคุณสมบัติในการลกระดับคอเลสเตอรอลทั้งหมด(Total Cholesterol) และ LDL Cholesterol แต่ไม่สามารถเปลี่ยนแปลง HDL Cholesterol

34 Polyunsaturated Fat เป็นกรดไขมันไม่อิ่มตัวหลายตำแหน่งมีข้อสรุปทาลวิชาการว่า สามารถลดระดับคลอเลสเตอรอลทั้งหมด ลดLDL และลดHDL ด้วย แต่HDLเป็นคลอเลสเตอรอลที่มีประโยชน์ หากHDLลดต่ำลง เป็นปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจได้ ส่วนใหญ่เรารู้จักกันนรูปของโอเมกา-3 (Omega 3)และโอเมกา-6 (Omega 6)ซึ่งเป็นไขมันที่ดีและจำเป็นต่อร่างกายและร่างกายไม่สามารถผลิตขึ้นได้เอง ประโยชน์ของไขมันนี้คือลดคอเลสเตอรอลซึ่งเป็นสาเหตุหนึ่งของโรคหัวใจ

35 นอกจากนี้ไขมันยังช่วยให้อาหารมีรสชาติอร่อยและน่ารับประทานขึ้น แต่การนำน้ำมันหรือไขมันมาประกอบอาหารนั้น สิ่งที่เราควรรู้คืออุณหภูมิที่จะทำให้ไขมันเป็นควัน หรือจุดเดือดของน้ำมัน (Smoke Point)ไขมันประเภทPolyunsaturated หลายชนิด เช่น พวกถั่วและธัญพืชจะสลายตัวง่ายที่อุณหภูมิระดับหนึ่ง และถูกทำลายโดยแสงและความร้อนในขณะที่อีกหลายตัวยังคงสภาพได้ ดังนั้นเราควรรู้จักประเภทของไขมันละน้ำมันด้วย

36 น้ำมันมะกอก เป็นที่รู้จักกันดีและใช้กันอย่างแพร่หลาย โดนเฉพาะอาหารฝรั่ง เช่นอาหารตาเลียนจะใช้น้ำมันมะกอกกันมาก ประกอบด้วย Monounsaturated Fat มากถึง76 % จากศึกษาพบว่าน้ำมันมะกอกช่วยลดอัตราการเกิดโรคหัวใจ ทนความร้อนได้ดี จึงเหมาะสำหรับนำมาผัด แต่ไม่เหมาะสำหรับทอด เพราะการทอดใช้อุณหภูมิสูงมากกว่าการผัด

37 น้ำมัน MonoUnsaturared(%) Poly Unsaturated(%) Saturated(%) Smoke Point ˚F
น้ำมันถั่วอัลมอนด์ น้ำมันเมล็ดแฟลกซ์ น้ำมันเมล็ดองุ่น น้ำมันมะกอก น้ำมันเมล็ดฟักทอง น้ำมันรำข้าว น้ำมันงา น้ำมันถั่ววอลนัต

38 น้ำมันถั่วเหลือง น้ำมันจากถั่วส่วนใหญ่เป็น Polyunsaturated Fat วอลนัตและน้ำมันอัลมอนด์ ช่วยลดคลอเลสเตอรอล LDL และเพิ่มคลอเลสเตอรอลHDL

39 น้ำมันจากธัญพืช น้ำมันจากเมล็ดงา ซึ่งมีกลิ่นหอมเป็นเอกลักษณ์ นิยมใช้ในอาหารจีนและอาหารญี่ปุ่น ประกอยด้วยอัตราส่วนของMonounsaturated Fat และ Polyunsaturtated Fat อย่างละครึ่ง จากการวิจัยพบว่าน้ำมันงาช่วนรักษามะเร็ง และทำให้การทำงานของหัวใจดีขึ้น นอกจากนี้ยังค้นพบว่าในน้ำมันจากเมล็ดฟักทองซึ่งเต็มไปด้วย Polyunstaturated นั้นยังมีสารต้านอนุมูลอิสระอยู่ด้วย

40 น้ำมันที่ทนความมร้อนสูง
สำหรับการปรุงอาหารที่ต้องใช้ความร้อนสูง เช่น การทอด ลองใช้น้ำมันจากเมล็ดองุ่นหรือน้ำมันรำข้าว ซึ่งน้ำมันสองชนิดนี้สามารถทนความร้อนได้สูง และไม่ทำให้อาหารดูดซับน้ำมันมาก อาหารจึงไม่ชุ่มไปด้วยน้ำมัน จึงลดปริมาณคอเลสเตอรอลได้ดี อีกทั้งน้ำมันจากเมล็ดองุ่นยังมีวิตามินอีสูงและไขมันอิ่มตัวต่ำ

41 Trans Fatty Acid Trans Fatty Acid เกิดจากการที่ไขมันโดนความร้อน เช่นอาหารฟาสต์ฟูด้ ที่ใช้ความร้อยในการปรุงประกอบเป็นเวลานานๆ จะเกิดเป็นสารก่อมะเร็ง และเป็นตัวการเพิ่มความเสี่ยงให้เกิดการสกัดกั้นอินซูลิน

42 ไข่ ต้มเพื่อสุขภาพที่ดี
ไข่ ต้มเพื่อสุขภาพที่ดี กินไข่ต้ม มีประโยชน์ ใน ๑ ฟองประกอบไปด้วยเลซิติน (Lecithin)ที่มีสรรพคุณช่วยควบคุมระดับคลอเลสเตอรอล(Cholesterol)ทำหน้าที่เป็นตัวละลายไขมันในเส้นเลือด ให้แตกตัวเป็นอนุภาคเล็กๆและหลเวียนได้ดี ป้องกันการเกาะตัวที่อาจทำให้หลอดเลือดหัวใจตีบ และยังมีสารโคลีน(Choline)ซึ่งมีส่วนในเรื่องความจำและการเรียนรู้ ในไข่จะมีคลอลเลสเตอรอล ตัวที่ดีคือHDL Cholesterol ที่ดีต่อร่างกาย และมีเลซิติน(Lecithin)ดีกว่าในถั่วเหลือง ซึ่งในผู้สูงอายุต้องการอย่างสูง และพบว่ามีอยู่ในสมองผู้สูงอายุถึง ๓๐% การใช้น้ำมันเจียวไข่จะทำให้มีไขมันLDLสูงเป็นอันตรายต่อร่างกาย

43 ใช้ระบบ สาม แปด ดูแลสุขภาพ
ใช้ระบบ สาม แปด ดูแลสุขภาพ แปดชั่วโมง ที่ ๑ นอน แปดชั่วโมง ที่ ๒ ทำงาน แปดชั่วโมง ที่ ๓ พักผ่อน


ดาวน์โหลด ppt โภชนะบำบัด (Dietetics)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google