งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แมกนีเซียม (Magnesium).

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แมกนีเซียม (Magnesium)."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แมกนีเซียม (Magnesium)

2 เป็นส่วนประกอบสำคัญของ
เซลล์ต่างๆ กล้ามเนื้อ สมอง เนื้อเยื่อเกี่ยวพันต่างๆ 60-70%พบในกระดูก 30% พบในเนื้อเยื่ออ่อนและของเหลวในร่างกาย มักอยู่ในของเหลวที่อยู่ภายในเซลล์ ประมาณ 35% ในเลือดจะรวมอยู่กับโปรตีน

3 ข้าวผลไม้เปลือกแข็ง ให้แมกนีเซียมสูงสุด
แหล่งที่พบ พบในธรรมชาติ ได้แก่ เนื้อสัตว์ อาหารทะเล ปลาน้ำจืด นม โมลาสหรือกากน้ำตาล ข้าว ข้าวกล้อง ข้าวสาลี ข้าวบาร์เล่ย์ ข้าวโพด จมูกข้าวสาลี เมล็ดพืช ถั่วลิสง มะม่วงหิมพานต์ อัลมอนด์ งา ข้าวผักสีเขียวจัด ข้าวผลไม้เปลือกแข็ง ให้แมกนีเซียมสูงสุด

4 หน้าที่และประโยชน์ มีส่วนควบคุมการทำงานของระบบประสาทและกล้ามเนื้อเช่นเดียวกับแคลเซียม โดยจำเป็นสำหรับการส่งสัญญาณประสาทและการหดตัวของกล้ามเนื้อ ช่วยกระตุ้นการทำงานของเอ็นไซม์ที่จำเป็นสำหรับการเผาผลาญสารอาหาร และการสังเคราะห์โปรตีน ช่วยในการควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย เกี่ยวข้องกับการต้านทานความหนาว ช่วยในการสร้างกระดูกและฟัน สำคัญในการนำมาใช้ให้เป็นประโยชน์ของวิตามิน บี ซี และ อี

5 จำเป็นสำหรับการเผาผลาญแคลเซียม ฟอสฟอรัส โซเดียม และโพแทสเซียม
ป้องกันโรคทางหลอดเลือดหัวใจ และการแข็งตัวของเลือด ช่วยในการควบคุมกรดด่างในร่างกาย อาจทำหน้าที่เป็นตัวสงบประสาทตามธรรมชาติ ช่วยบรรเทาอาการปวดไมเกรนและลดความถี่ในการเกิดได้ ลดอาการซึมเศร้าและช่วยในการหลับเพราะเป็นตัวที่ช่วยในการสร้าง เมลาโตนิน ป้องกันไม่ให้แคลเซียมจับตัวอยู่กับอวัยวะต่างๆ เช่นไต จำเป็นต่อการรวมตัวของ parathyroid hormone ซึ่งมีบทบาทในการดึงเอาแคลเซียมออกจากกระดูก

6 ลดอาการปวดเค้นหน้าอกในผู้ป่วยโรคหัวใจ
ป้องกันและรักษาโรคหอบหืด เกี่ยวข้องกับการคายตัวของกล้ามเนื้อ บรรเทาและป้องกันอาการ ปวดประจำเดือน ลดการเกิดตะคริวในหญิงมีครรภ์ที่มีระดับแมกนีเซียมต่ำ เปลี่ยนน้ำตาลในเลือด คือ กลูโคสให้เป็นพลังงาน เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ DNA และ RNA ในระหว่างที่เซลล์แบ่งตัว และการสังเคราะห์โปรตีน

7 อาหารโดยทั่วไป มีแมกนีเซียมประมาณ 300-800 มก.
ขนาดรับประทาน อาหารโดยทั่วไป มีแมกนีเซียมประมาณ มก. ต้องการวันละ เด็กทารก 50-70 มิลลิกรัม ต้องการวันละ เด็กโต มิลลิกรัม ต้องการวันละ ผู้ใหญ่ มิลลิกรัม หญิงมีครรภ์ และระยะให้นมบุตร ต้องการวันละ มิลลิกรัม

8 การดูดซึม ถูกดูดซึมประมาณร้อยละ 50 ลำไส้เล็กตอนต้น บริโภคน้อย อัตรา
การดูดซึมสูงถึง ร้อยละ75 บริโภคมาก อัตรา การดูดซึมต่ำ ร้อยละ 25 แข่งกับ ปริมาณ ไฟเตต แคลเซียม ฟอสฟอรัส ในการจับตัวของโปรตีน ขัดขวางการดูดซึมแมกนีเซียม ปัสสาวะ

9 ปัจจัยที่ทำให้เกิดการสูญเสีย แมกนีเซียมมากขึ้น ใช้ยาขับปัสสาวะ
อันโดสเทอโรน ฮอร์โมน ขับแมกนีเซียมผ่านไต ให้เป็นไปตามปกติ ต่อมหมวกไต ปัจจัยที่ทำให้เกิดการสูญเสีย แมกนีเซียมมากขึ้น ใช้ยาขับปัสสาวะ ดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอลล์ การอาเจียน(น้ำย่อย)

10 ผลของการขาดแมกนีเซียม
การขาดแมกนีเซียมจะเกิดกับคนไข้ที่เป็น 1.โรคเบาหวาน 2.ตับอักเสบ(pancreatitis) 3.พิษสุราเรื้อรัง 4.ไตพิการ 5.ควาชิออร์กอร์ 6.การบริโภคอาหารที่มีคาร์โบไฮเดรตสูง 7.การดูดซึมหรือการผิดปกติร้ายแรงเนื่องจากท้องเดินเรื้อรังหรืออาเจียน

11 เกี่ยวข้องกับโรคหัวใจขาดเลือด(coronaryheard disease)
กล้ามเนื้อบิด สั่น สับสน ไม่สามารถจดจำสถานที่หรือเพื่อนฝูงได้ (disorientation) เกิดความผิดปกติของระบบประสาท กล้ามเนื้อ ไต หัวใจ และหลอดเลือด ทำให้ภูมิคุ้มกันของร่างกายลดต่ำลง ระบบกล้ามเนื้อและระบบการย่อยอาหารทำงานผิดปกติ ระบบประสาทถูกทำลายและประสาทรับรู้อาการเจ็บปวดจะไวขึ้น กระดูกอ่อนจนร่างกายรับน้ำหนักไม่ไหว และร่างกายสร้างโปรตีนทดแทนไม่ได้ ร่างกายสะสมพลังงานไว้ไม่ได้ เลือดแข็งตัวช้า สังเคราะห์ฮอร์โมนเพศไม่ได้

12 ภาคเรียนที่ 3 ปีการศึกษา 2549
จัดทำโดย 1.นายกฤษณพงศ์ นาทิพย์ รหัสประจำตัวนักศึกษา 2.นายจิรศักดิ์ เอมละออ รหัสประจำตัวนักศึกษา 3.นางสาวยุพาพร แก้วดำ รหัสประจำตัวนักศึกษา กระบวนวิชา ภาคเรียนที่ 3 ปีการศึกษา 2549


ดาวน์โหลด ppt แมกนีเซียม (Magnesium).

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google