งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ไฟฟ้ากระแสตรง Direct Current

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ไฟฟ้ากระแสตรง Direct Current"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ไฟฟ้ากระแสตรง Direct Current
นายเชิดชัย พลกุล กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนวาปีปทุม

2 ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current)
1 กระแสไฟฟ้า

3 ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current)
1 กระแสไฟฟ้า (Electric Current) I หาจากความสัมพันธ์ Q เกิดจากการเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้า มีทิศเดียวกับทิศการเคลื่อนที่ของประจุบวก ไหลจากจุดที่มี Vสูง Vต่ำ

4 ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current)
1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้า เซลล์ไฟฟ้าเคมี เซลล์ปฐมภูมิ เซลล์ทุตติยภูมิ ไดนาโม คู่ควบความร้อน เซลล์สุริยะ แหล่งกำเนิดไฟฟ้าในสิ่งมีชีวิต

5 ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current)
1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้า

6 ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current)
2 กระแสไฟฟ้า (Electric Current) A L v a b - n = จำนวนของปริมาณอิเล็กตรอนในหนึ่งหน่วยปริมาตร v = ความเร็วเฉลี่ยของอิเล็กตรอน (m/s) e = ประจุไฟฟ้าของอิเล็กตรอน = 1.6 x C

7 ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current)
3  โจทย์ฝึกทักษะกระแสไฟฟ้า 1. ตัวนำไฟฟ้ามีพื้นที่หน้าตัด 3 mm2 มีประจุไฟฟ้า +600 C และ-200 C เคลื่อนที่สวนทางกันในเวลา 4 วินาที จงหากระแสไฟฟ้าที่เกิดขึ้นในตัวนำ 2. จากกราฟความสัมพันธ์ I-t จงหาประจุไฟฟ้า I(mA) 10 5 t (นาที)

8 ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current)
4  โจทย์ฝึกทักษะกระแสไฟฟ้า 3. ถ้ามีกระแสไฟฟ้าขนาด แอมแปร์ ไหลผ่าน เส้นลวดตัวนำเส้นหนึ่งนาน 2 นาที จงหาจำนวน อิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่ผ่านในเส้นลวดตัวนำนี้ 4. ลวดเส้นหนึ่งมีพื้นที่หน้าตัดเป็นวงกลมขนาด 0.2 ตารางเซนติเมตร ความยาว 1 เมตร เมื่อต่อ ลวดนี้เข้ากับแหล่งกำเนิดไฟฟ้าจะมีประจุไฟฟ้า 9 x 10-2 คูลอมบ์ เคลื่อนที่ผ่านในเวลา 10 วินาที ถ้าความเร็วเฉลี่ยของอิเล็กตรอนในเส้นลวดเป็น 2 x 10-4 เมตรต่อวินาที จงหาจำนวนอิเล็กตรอน อิสระในลวดเส้นนี้ทั้งหมด

9 ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current)
5  โจทย์ฝึกทักษะกระแสไฟฟ้า 5. แบตเตอรี่ก้อนหนึ่งสามารถจ่ายประจุไฟฟ้าได้ ทั้งหมด 5.0 x 104 คูลอมบ์ ตลอดเวลาที่ใช้ งานถ้าแบตเตอรี่นี้จ่ายกระแสไฟฟ้า 20 มิลลิ แอมแปร์ อย่างสม่ำเสมอ จะสามารถใช้งาน แบตเตอรี่ได้นานกี่ชั่วโมง 6. ลวดโลหะเส้นหนึ่งมีอิเล็กตรอนอิสระ 7 x 1030 อนุภาคต่อลูกบาศก์เมตร ลวดโลหะนี้มีพื้นที่ภาค ตัดขวาง 4 ตารางมิลลิเมตร ถ้าอิเล็กตรอน เคลื่อนที่ด้วยความเร็วลอยเลื่อน 0.1 มิลลิเมตร ต่อวินาที ปริมาณของกระแสไฟฟ้าต่อหนึ่งหน่วย พื้นที่มีค่าเท่าใด

10 ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current)
6 กฏของโอห์ม (Ohm’s Law) “ถ้าอุณหภูมิคงตัว กระแสไฟฟ้าที่ผ่านตัวนำ จะแปรผันตรงกับความต่างศักย์ระหว่างปลาย ของตัวนำนั้น” V(Volt) I (A) หาจากความสัมพันธ์ Slope = = R

11 ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current)
7 ความต้านทาน (Resistance) เป็นสมบัติในการต้านกระแสไฟฟ้า (I) ในวงจร สัญลักษณ์ในวงจรใช้ R มีหน่วยเป็น โอห์ม () ซึ่งอุปกรณ์ที่ใช้ต้านกระแสไฟฟ้า (I) เรียกว่า ตัวต้านทาน (Resistor) สัญลักษณ์ในวงจร R ตัวต้านทาน (Resistor)

12 ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current)
8 การอ่านค่าความต้านทานจากแถบสี แถบที่ 4 (ความผิดพลาด) แถบที่ 1 (เลขตัวแรก) แถบที่ 2 (เลขตัวที่สอง) แถบที่ 3 (เลขชี้กำลังของ 10) 9 ขาว 8 เทา 7 ม่วง 6 น้ำเงิน 5 เขียว 4 เหลือง 3 ส้ม 2 แดง 1 น้ำตาล ดำ -2 เงิน -1 ทอง ± 20% ไม่มีสี ± 10% เงิน ± 5% ทอง ± 2% แดง ± 1% น้ำตาล

13 ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current)
9 ไดโอด (Diode) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในวงจรไฟฟ้าเพื่อ - บังคับทิศการไหลของ I ในวงจร - เปลี่ยน AC เป็น DC - สัญลักษณ์ในวงจร

14 ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current)
9 ไดโอด (Diode) การต่อไดโอดในวงจรไฟฟ้า (Bias) การ Bias ตรง I  0 การ Bias กลับ I = 0

15 ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current)
10  โจทย์ฝึกทักษะกฎของโอห์ม 1. หลอดบรรจุก๊าซ มีความสัมพันธ์ระหว่าง I และ V เป็นดังรูป ช่วงที่หลอดบรรจุก๊าซนี้เป็นไป ตามกฎของโอห์ม มีความต้านทานเท่าใด V(Volt) 400 300 150 I (mA)

16 ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current)
11  โจทย์ฝึกทักษะกฎของโอห์ม 2. กราฟข้างล่างนี้ แสงความสัมพันธ์ระหว่าง I และ V ที่ไหลผ่านตัวต้านทาน 4 ตัว ตัวต้านทานที่มี ค่าความต้านทานสูงสุดคือตัวต้านทานใด I(A) A B 0.4 0.3 C 0.2 D 0.1 V (V)

17 ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current)
12  โจทย์ฝึกทักษะกฎของโอห์ม 3. ตัวต้านทานตัวหนึ่งมีแถบสี ดังรูป ค่าความ ต้านทานของตัวต้านทานนี้ มีค่าเท่าใด สีทอง สีเขียว สีส้ม 4. จากรูป ควรเลือกใช้ตัวต้านทานตัวใด A B C

18 ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current)
13  โจทย์ฝึกทักษะกฎของโอห์ม 5. ตัวต้านทาน 2 ตัว มีค่าความต้านทานตัวละ 30  ต่อเป็นวงจรกับไดโอดดังรูป จงหาว่าแอมมิเตอร์ A จะอ่านค่าได้เท่าใด 30  30  A 6 V

19 ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current)
14 สภาพต้านทาน () และความต้านทาน (R) ตัวนำชนิดเดียวกัน ยาวเท่ากัน ขนาดต่างกัน A2 A1 L R1 R2 ตัวนำชนิดเดียวกัน ยาวไม่เท่ากัน ขนาดเท่ากัน A L1 L2 R1 R2 R  R =  A1 = A2=A L1  L2 R1  R2 R  L L1=L2=L A1  A2 R1 R2 R 

20 ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current)
15  การยืด หรือรีด โลหะตัวนำ เมื่อนำโลหะมารีด หรือยืด จะพบว่า ปริมาณที่เปลี่ยนแปลง ปริมาณที่คงที่ ความยาว (L) สภาพต้านทาน () พื้นที่หน้าตัด (A) ปริมาตร (V) ความต้านทาน (R) ปริมาตรก่อนยืด= ปริมาตรหลังยืด V1 = V2 A1L1 = A2L2

21 ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current)
16  โจทย์ฝึกทักษะสภาพต้านทาน 1. ลวดตัวนำขนาดสม่ำเสมอเส้นหนึ่งยาว 1 เมตร วัดความต้านทานได้  ถ้ามีลวดตัวนำ ชนิดเดียวกัน แต่ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเล็ก กว่าเป็นครึ่งหนึ่งให้มีความต้านทาน 1.6  จะต้องใช้ลวดยาวเท่าใด 2. ลวดเส้นหนึ่งมีความต้านทาน 6  เมื่อนำมารีด ให้เส้นลวดมีขนาดเล็กลง จนมีความยาวเป็น 3 เท่า ของตอนเริ่มต้น ถ้าคุณสมบัติต่าง ๆ ของ สารที่ทำเส้นลวดไม่เปลี่ยนแปลงความต้านทาน ของลวดตอนสุดท้ายจะเป็นกี่โอห์ม

22 ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current)
17 การต่อความต้านทาน แบบอนุกรม การต่อ R แบบอนุกรม จะพบว่า 1. I = I1 = I2 = I3 2. Vรวม = V1 + V2 + V3 3. Rรวม = R1 + R2 + R3

23 ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current)
18 การต่อความต้านทาน แบบขนาน 1. Vรวม = V1 = V2 = V3 2. I = I1 + I2 + I3 3.

24 ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current)
19 การต่อความต้านทาน แบบ Wheatstone Bridge เป็นวงจร Wheatstone Bridge เมื่อ ตัด R5 ทิ้ง

25 ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current)
20 โจทย์ฝึกทักษะการต่อตัวต้านทาน 1. ถ้าต้องการนำลำโพงที่มีความต้านทาน 8  2 ตัว และ 16  1 ตัว มาต่อเข้าด้วยกัน โดยให้มีความ รวมเท่ากับ 8  จะต้องต่อตัวต้านทานตามข้อใด 1.1 8  16  8  16  1.2 8  16  1.3 8  16  1.4

26 ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current)
21 โจทย์ฝึกทักษะการต่อตัวต้านทาน 2. จากรูป จงหาความต้านทานระหว่าง A และ B 40  20  12  A B 10 30  3. จากรูป จงหาความต้านทานระหว่าง A และ B 3  A B X Y

27 ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current)
22 โจทย์ฝึกทักษะการต่อตัวต้านทาน 4. จากรูป จงหาความต้านทานระหว่าง X และ Y 50  75  a 25  100  X Y b 150  5. จากรูป จงหาความต้านทานระหว่าง A และ B 4  9  6  A B 2  3 

28 ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current)
24 วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย จากความสัมพันธ์ W = qV จะได้ว่า qE = qVR + qVr E = IR + Ir พลังงานที่ประจุได้รับจากเซลล์ = พลังงานที่ใช้ในการเคลื่อนที่ผ่าน ตัวต้านทานภายนอก(R ) + พลังงานที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของประจุ ผ่านเซลล์ (r )

29 ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current)
25  โจทย์ฝึกทักษะวงจรไฟฟ้าอย่างง่าย 1. แบตเตอรี่ตัวหนึ่งต่ออนุกรมกับความต้านทาน 148  ปรากฏว่ามีกระแสไฟฟ้าไหลในวงจร 0.05 A แต่เมื่อเพิ่มความต้านทานเป็น 248  จะมีกระแสไหลในวงจรเพียง 0.03 A จงหาว่า แบตเตอรี่นี้มีแรงเคลื่อนไฟฟ้าเท่าใด 2. แบตเตอรี่ตัวหนึ่งเมื่อต่อเป็นวงจรไฟฟ้าพบว่ามี กระแสไฟฟ้า 5 A และความต่างศักย์ระหว่างขั้ว แบตเตอรี่ 50 V แต่ถ้ามีกระแสไฟฟ้าไหลผ่าน แบตเตอรี่ 1.8 A จะมีความต่างศักย์ไฟฟ้า ระหว่างขั้ว 56.4 V จงหา E , r ของแบตเตอรี่

30 ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current)
26 การต่อเซลล์ไฟฟ้า (แบตเตอรี่) แบบอนุกรม R I E I

31 ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current)
27 การต่อเซลล์ไฟฟ้า (แบตเตอรี่) แบบขนาน R R E E E r r r R E r

32 ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current)
28  โจทย์ฝึกทักษะการต่อเซลล์ไฟฟ้า 1. เซลล์ไฟฟ้า 2 เซลล์ มีแรงเคลื่อนไฟฟ้า 2 และ 2.4 V มีความต้านทานภายในเท่ากันคือ 1  ถ้าต่อเซลล์ที่มีแรงเคลื่อนไฟฟ้า 2 V เข้ากับ ความต้านทาน R  จะได้กระแสค่าหนึ่ง หาก ต่อเซลล์ที่ 2 อนุกรมกับเซลล์แรกจะได้กระแส เป็น 2 เท่าของครั้งแรก ค่า R มีค่ากี่โอห์ม 2. เซลล์ไฟฟ้า 3 เซลล์ มีแรงเคลื่อนไฟฟ้าเซลล์ละ 2 V และมีความต้านทานภายในเซลล์ละ 4  ปรากฏว่าถ้าต่อเซลล์ทั้งหมดแบบอนุกรมแล้วต่อ กับหลอดไฟ หลอดจะสว่างเท่ากับเมื่อต่อหลอด ไฟกับเซลล์ทั้งหมดที่ต่อแบบขนาน จงหาค่า ความต้านทานของหลอดไฟ

33 ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current)
29  โจทย์ฝึกทักษะการต่อเซลล์ไฟฟ้า 3. นักเรียนคนหนึ่งนำแบตเตอรี่ 2 ตัว ซึ่งมี แรงเคลื่อนไฟฟ้า 6 V และ 8 V มาเรียงต่อกัน แล้วต่อกับความต้านทาน 48  ถ้าในตอนแรก นักเรียนต่อผิด (นำขั้วลบต่อกับขั้วลบหรือ ขั้วบวกต่อกับขั้วบวก) ปรากฏว่ามีกระแสใน วงจรเพียง 0.04 A ถ้านักเรียนต่อแบตเตอรี่ ใหม่ให้ถูกต้อง (นำขั้วบวกต่อกับขั้วลบ) จะมี กระแสไหลในวงจรกี่แอมแปร์

34 ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current)
30  โจทย์ฝึกทักษะการต่อเซลล์ไฟฟ้า 4. จากวงจรไฟฟ้าดังรูป จงหากระแสไฟฟ้าที่ไหล ผ่านตัวต้านทานในวงจร 1.5 V 1  1.5 V 0.5  1.5 V 1  9 

35 ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current)
31 แอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์

36 ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current)
32 แอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์ แอมมิเตอร์ - เป็นเครื่องมือที่ใช้วัดกระแสไฟฟ้าในวงจร - เวลาใช้ต่ออนุกรม (แทรก)ในวงจร - สัญลักษณ์ในวงจร A - แอมมิเตอร์ที่ดี ควรมีความต้านทาน (R) ต่ำ โวลต์มิเตอร์ - ใช้วัดความต่างศักย์ระหว่างจุด 2 จุดในวงจร - เวลาใช้ต่อขนาน(คร่อมระหว่าง 2 จุด)ในวงจร - สัญลักษณ์ในวงจร V - โวลต์มิเตอร์ที่ดี ควรมีความต้านทาน (R) มาก

37 ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current)
32 การดัดแปลงโวลต์มิเตอร์ Rm Iv ก่อนดัดแปลง V หลังดัดแปลง V R a b E r I R E r a b โวลต์มิเตอร์ที่ ดัดแปลงแล้ว

38 ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current)
33  โจทย์ฝึกทักษะแอมมิเตอร์ 1. แกลแวนอมิเตอร์เครื่องหนึ่งมีความต้านทาน  และกระแสไฟฟ้าสูงสุด 0.01 A ถ้าต้องการดัดแปลงให้ สามารถวัดกระแสไฟฟ้าได้สูงสุด 0.03 A จะต้องต่อ ชันต์ที่มีค่าความต้านทานกี่โอห์มในวงจร 2. กระแสไฟฟ้าสูงสุดของแกลแวนอมิเตอร์มีค่า 50 A เมื่อ นำความต้านทาน 119,000  มาต่ออนุกรมกับแกลแวนอ มิเตอร์ สามารถวัดความต่างศักย์ได้สูงสุด 6 V ถ้าต้อง การดัดแปลงแกลแวนอมิเตอร์นี้เป็นแอมมิเตอร์ เพื่อให้วัด กระแสไฟฟ้าได้สูงสุด 50 mA จะต้องใช้ความต้านทาน กี่โอห์มมาต่อกับแกลแวนอมิเตอร์ และต่อในลักษณะใด

39 ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current)
34  โจทย์ฝึกทักษะแอมมิเตอร์ 3. แกลแวนอมิเตอร์เครื่องหนึ่งมีความต้านทาน 900 โอห์ม กระแสไฟฟ้าผ่านสูงสุด 10 ไมโครแอมแปร์ ถ้าต้องการ ให้กระแสไฟฟ้า 100 ไมโครแอมแปร์ผ่านต้องใช้ความ ต้านทานเท่าไร และต่ออย่างไรกับแกลแวนอมิเตอร์นี้ โอห์ม ต่อขนาน โอห์ม ต่อขนาน โอห์ม ต่ออนุกรม โอห์ม ต่ออนุกรม 4. เมื่อนำแกลแวนอมิเตอร์ตัวหนึ่งมาสร้างเป็นแอมมิเตอร์ เพื่อใช้วัดกระแสได้สูงสุด 75 มิลลิแอมแปร์ ต้องใช้ ความต้านทาน 1 โอห์มเป็นชันต์ ถ้ากระแสสูงสุดของ แกลแวนอมิเตอร์มีค่า ไมโครแอมแปร์ ค่าความ ต้านทานของแกลแวนอมิเตอร์มีค่ากี่โอห์ม

40 ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current)
35 การดัดแปลงโวลต์มิเตอร์ หลังดัดแปลง V Rm Iv I = IR + IV IV = IRm โวลต์มิเตอร์ที่ ดัดแปลงแล้ว ก่อนดัดแปลง V R a b E r I R E r a b Rm= multiplier = ค.ต.ท.ที่ต่ออนุกรมกับโวลต์มิเตอร์ I = IR + IV

41 ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current)
36  โจทย์ฝึกทักษะโวลต์มิเตอร์ 1. แกลแวนอมิเตอร์ตัวหนึ่งมีความต้านทาน 4  เข็มเบน เต็มสเกลเมื่อมีกระแสไฟฟ้าผ่าน 1 mA ถ้าต้องการใช้ งานเป็นโวลต์มิเตอร์ ซึ่งวัดค่าได้เต็มสเกลได้ 10 V จะต้องใช้ความต้านทานขนาดกี่โอห์มมาต่อลักษณะใด กับแกลแวนอมิเตอร์นี้ 1. 4 x10-4 , ต่อขนาน  ,ต่อขนาน 3. 6 ,ต่ออนุกรม , ต่ออนุกรม 2. แกลแวนอมิเตอร์มีความต้านทาน 25  เมื่อมีกระแส ไฟฟ้าผ่าน 1 mA เข็มจะเบนไป 1 ช่องสเกล ถ้าต้อง การนำไปใช้เป็นโวลต์มิเตอร์วัดความต่างศักย์ไฟฟ้า ได้ 1 โวลต์ต่อ 1 ช่องสเกล จะต้องนำความต้านทาน กี่โอห์มมาต่อ และต่อลักษณะใด , ต่อขนาน  , ต่ออนุกรม , ต่อขนาน  ,ต่ออนุกรม

42 ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current)
37  โจทย์ฝึกทักษะโวลต์มิเตอร์ 3. โวลต์มิเตอร์ตัวหนึ่งแบ่งสเกลไว้ระหว่าง โวลต์ มี ความต้านทาน 500  ถ้าต้องการดัดแปลงให้วัดความ ต่างศักย์ได้ 220 V จะต้องใช้ความต้านทานขนาดกี่โอห์ม มาต่อลักษณะใดกับโวลต์มิเตอร์นี้  ต่อขนาน  ต่ออนุกรม  ต่อขนาน  ต่ออนุกรม 4. แกลแวนอมิเตอร์เครื่องหนึ่งเข็มกระดิกเต็มสเกล เมื่อมี กระแสไหลผ่าน แอมแปร์ เมื่อดัดแปลง โดย เพิ่มความต้านทานต่ออนุกรมเข้าไป 49,993 โอห์ม จะสามารถวัดความต่างศักย์ไฟฟ้าได้สูงสุดเท่าไร ถ้า แกลแวนอมิเตอร์มีความต้านทาน 7 โอห์ม โวลต์ โวลต์ โวลต์ โวลต์

43 ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current)
38 พลังงานไฟฟ้า และ กำลังไฟฟ้า จากความสัมพันธ์ และ จะได้ กำลังไฟฟ้า เป็นอัตราส่วนของพลังงานไฟฟ้าต่อหนึ่งหน่วย เวลา มีค่าตามสมการ ดังนั้น จะได้

44 ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current)
39  โจทย์ฝึกทักษะพลังงานไฟฟ้า กำลังไฟฟ้า 1. เตาปิ้งขนมปังอันหนึ่งใช้พลังงานไฟฟ้า 800 วัตต์ เมื่อใช้กับไฟฟ้า 200 โวลต์ ขดลวดความร้อนทำ ด้วยลวดนิโครม มีพื้นที่หน้าตัด 0.2 ตารางมิลลิ เมตร และมีสภาพต้านทาน 1 x 10-6 โอห์ม .เมตร จงหาว่าจะต้องใช้ลวดนิโครมยาวกี่เมตร 2. เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้านชนิด W 220 V เมื่อนำมาใช้ขณะที่ไฟตกเหลือ 200 V เครื่องใช้ ไฟฟ้านั้นจะใช้กำลังไฟฟ้าเท่าใด 1. 78 W W 3. 88 W W

45 ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current)
40  โจทย์ฝึกทักษะพลังงานไฟฟ้า กำลังไฟฟ้า 3. หลอดไฟธรรมดาขนาด 40 W ใช้กับไฟฟ้า 220 V จำนวน 2 ดวง นำมาต่ออนุกรมกันแล้ว นำไปต่อกับไฟฟ้า 110 V จงหาว่าดวงไฟ แต่ละดวงจะให้กำลังไฟฟ้าออกมากี่วัตต์ 4. จากวงจรไฟฟ้าในรูป กำลังไฟฟ้าที่สูญเสียใน ความต้านทาน 1 โอห์ม มีค่า 4 วัตต์ จงหา แรงเคลื่อนไฟฟ้าของแบตเตอรี่ 2 1  2 V 2. 8 V E  4  2  V 4. 12 V

46 ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current)
41 การคำนวณค่าไฟฟ้า 1. หาพลังงานไฟฟ้าที่สิ้นเปลืองไปของเครื่องใช้ไฟฟ้า ทุกชนิด ซึ่งมีหน่วย เป็น ยูนิต พลังงานไฟฟ้า 1 ยูนิต (กิโลวัตต์-ชั่วโมง) คือ พลังงานไฟฟ้าที่เกิดขึ้นเนื่องจากการใช้ไฟฟ้า 1000 วัตต์ ในเวลา 1 ชั่วโมง จำนวนยูนิต หาจาก ค่าไฟฟ้า = จำนวนยูนิต x ค่าไฟฟ้า 1 ยูนิต 2. คำนวณค่าไฟฟ้า ดังนี้

47 ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current)
42  โจทย์ฝึกทักษะการคำนวณค่าไฟฟ้า 1. ครอบครัวหนึ่งใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าเท่ากันทุกวัน โดยมี รายการต่อไปนี้ ใช้หม้อหุงข้าวขนาด 1000 วัตต์ วันละ 1 ชั่วโมง ใช้หลอดไฟ 40 วัตต์ 5 ดวง วันละ 4 ชั่วโมง ใช้โทรทัศน์ขนาด 150 วัตต์ วันละ 4 ชั่วโมง ใช้เตารีดไฟฟ้าขนาด 750 วัตต์ วันละ 1 ชั่วโมง ถ้าไฟฟ้าที่ใช้มีความต่างศักย์ 220 โวลต์ และเสีย ค่าไฟฟ้ายูนิตละ บาท ในช่วงเวลา 1 เดือน จะต้องเสียค่าไฟฟ้าเท่าใด บาท บาท บาท บาท


ดาวน์โหลด ppt ไฟฟ้ากระแสตรง Direct Current

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google