งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

บทที่ 6 สถิติที่ใช้ในการ วัดผลการศึกษา. การวิเคราะห์ข้อสอบ ก่อนนำไปใช้  จุดมุ่งหมาย เพื่อนำผลการวิเคราะห์ ไปเป็นข้อมูลในการ ปรับปรุงแก้ไขข้อสอบ ก่อนที่จะนำข้อสอบไปใช้

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "บทที่ 6 สถิติที่ใช้ในการ วัดผลการศึกษา. การวิเคราะห์ข้อสอบ ก่อนนำไปใช้  จุดมุ่งหมาย เพื่อนำผลการวิเคราะห์ ไปเป็นข้อมูลในการ ปรับปรุงแก้ไขข้อสอบ ก่อนที่จะนำข้อสอบไปใช้"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 บทที่ 6 สถิติที่ใช้ในการ วัดผลการศึกษา

2 การวิเคราะห์ข้อสอบ ก่อนนำไปใช้  จุดมุ่งหมาย เพื่อนำผลการวิเคราะห์ ไปเป็นข้อมูลในการ ปรับปรุงแก้ไขข้อสอบ ก่อนที่จะนำข้อสอบไปใช้  ผู้ดำเนินการ ผู้ออกข้อสอบ ผู้ชำนาญทางด้านเนื้อหา ผู้ชำนาญทางด้านการวัด และประเมินผล

3 การวิเคราะห์ข้อสอบ ก่อนนำไปใช้รายข้อ  ความสอดคล้องของข้อสอบ กับจุดประสงค์การเรียนรู้  ความถูกต้องของเนื้อหา  ความยากของข้อสอบ เหมาะสมกับระดับชั้นของ ผู้เรียน  ความยากของข้อสอบแต่ละ ข้อ  ความเหมาะสมของภาษาที่ใช้  การเขียนข้อสอบให้เป็นไป ตามหลักการเขียนข้อสอบ

4 การวิเคราะห์ข้อสอบ ก่อนนำไปใช้ทั้งฉบับ  เลือกประเภทของ ข้อสอบให้เหมาะสมกับ เนื้อหาและพฤติกรรม  เลือกประเภทของ ข้อสอบให้เหมาะสมกับ การตรวจให้คะแนนและ การดำเนินการสอบ

5  ความชัดเจนของ ภาษาและการสื่อความ ในการเขียนคำสั่ง / คำ ชี้แจง  ความตรงเชิงเนื้อหา และความตรงเชิง โครงสร้างของ ข้อสอบ  จำนวนข้อของ ข้อสอบทั้งฉบับต้อง เหมาะสมกับเวลาที่ใช้ สอบ

6 การวิเคราะห์ ข้อสอบหลัง นำไปใช้  จุดมุ่งหมาย เพื่อหา ประสิทธิภาพและ ข้อบกพร่องของ ข้อสอบรายข้อและ ทั้งฉบับ หลังจากที่ นำข้อสอบไปใช้

7 ประโยชน์ของการ วิเคราะห์ข้อสอบหลัง นำไปใช้  ได้รับทราบข้อมูลพื้นฐานของ ตัวข้อสอบและคำตอบ  ในกรณีข้อสอบเลือกตอบจะ ทำให้ทราบประสิทธิภาพของ ตัวเลือก  ได้แนวทางในการสร้าง ข้อสอบที่ดี  ได้รับทราบข้อมูลในการ ปรับปรุงการเรียนการสอน  ได้ข้อสอบที่มีคุณภาพเก็บไว้ เพื่อสร้างคลังข้อสอบและ พัฒนาแบบสอบมาตรฐาน ต่อไป

8 การวิเคราะห์ข้อสอบ หลังนำไปใช้รายข้อ  การประเมินผลแบบ อิงกลุ่ม  ระดับความยากของ ข้อสอบ : p (Level of difficulty of the items)  อำนาจจำแนกของ ข้อสอบ : r (Discrimination of the items)  ประสิทธิภาพของตัว ลวง

9 ระดับความยากของ ข้อสอบ : p  ความหมาย สัดส่วนของคนที่ตอบ ข้อสอบข้อนั้นได้ถูก มีค่าอยู่ระหว่าง 0 ถึง + 1  สูตร p =  เกณฑ์ 0.20 < p < 0.80 จำนวนคนที่ตอบ ข้อสอบถูก จำนวนคนที่เข้า สอบทั้งหมด

10 การแปลความหมาย ค่า p ( ตัวถูก ) p ความหมาย 0.00 – 0.19 ยาก มาก 0.20 – 0.39 ค่อนข้างยาก 0.40 – 0.59 ปาน กลาง 0.60 – 0.79 ค่อนข้างง่าย 0.80 – 1.00 ง่าย มาก

11 อำนาจจำแนกของ ข้อสอบ : r  ความหมาย ความสามารถของ ข้อสอบในการจำแนก นักเรียนเก่งออกจาก นักเรียนกลุ่มอ่อน มีค่าอยู่ระหว่าง – 1 ถึง + 1  เกณฑ์ r > 0.20

12  สูตร r = หรือ เมื่อ H = จำนวนคนที่ตอบ ถูกในกลุ่มสูง L = จำนวนคนที่ตอบ ถูกในกลุ่มต่ำ Nh = จำนวนคน ทั้งหมดในกลุ่มสูง Nl= จำนวนคน ทั้งหมดในกลุ่มต่ำ H – L Nh H – L Nl

13 การแปลความหมาย ค่า r ( ตัวถูก ) r ความหมาย r < 0.00 กลุ่มสูงตอบผิด กลุ่มต่ำตอบถูก r = 0.00 กลุ่มสูงและ กลุ่มต่ำตอบถูกเท่ากัน 0.01 – 0.90 จำแนกได้ต่ำ มาก ควรปรับปรุง 0.20 – 0.39 พอใช้ได้ 0.40 – 0.59 ดี 0.60 – 1.00 ดีมาก

14 ประสิทธิภาพของตัว ลวง  สัดส่วนของผู้เลือกตัว ลวง : p w สัดส่วนของคนที่เลือกตัว ลวงนั้นได้ถูก มีค่าอยู่ระหว่าง 0 ถึง + 1  สูตร p w =  เกณฑ์ p w > 0.05 จำนวนนักเรียนที่ เลือกตัวลวง จำนวนนักเรียน ทั้งหมด

15 อำนาจจำแนกของ ตัวลวง :r w  ความหมาย ผลต่างระหว่างสัดส่วน ของจำนวนคนในกลุ่มต่ำที่ เลือกตัวลวงนั้นกับสัดส่วน ของคนในกลุ่มสูงที่เลือกตัว ลวงนั้น มีค่าอยู่ระหว่าง -1.0 ถึง + 1.0  สูตร r w = หรือ  เกณฑ์ r w > 0.05 L – H Nh L – H Nl

16


ดาวน์โหลด ppt บทที่ 6 สถิติที่ใช้ในการ วัดผลการศึกษา. การวิเคราะห์ข้อสอบ ก่อนนำไปใช้  จุดมุ่งหมาย เพื่อนำผลการวิเคราะห์ ไปเป็นข้อมูลในการ ปรับปรุงแก้ไขข้อสอบ ก่อนที่จะนำข้อสอบไปใช้

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google