งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ขอต้อนรับคณะผู้ตรวจประเมินฯ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ขอต้อนรับคณะผู้ตรวจประเมินฯ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ขอต้อนรับคณะผู้ตรวจประเมินฯ
ในการตรวจประเมิน ครั้งที่ 2 Site Visit II

2 รายงานผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปี พ. ศ
รายงานผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ รอบ 12 เดือน

3 การเปรียบเทียบผลการประเมินปี 2549 และ ปี 2550
มิติที่ ก.พ.ร. 26 ก.ย.48 19 ก.ย.49 22 มิ.ย.50 ประเมิน ตนเอง หมายเหตุ 2547 2548 2549 2550 1. ด้านประสิทธิผล 4.3076 4.2364 4.6094 4.5752 2. ด้านคุณภาพการให้บริการ 4.3154 4.1200 3.8760 3.6667 3. ด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ 4.8310 5.0000 4.8659 4.9775 4. ด้านการพัฒนาองค์กร 4.7333 4.7950 4.3714 4.6100 รวม 4.3910 4.4129 4.5035 4.4814

4 คะแนน 4.9333 ร้อยละ 15 ตัวชี้วัด ที่ 1
มิติที่ 1 : ด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ ประเด็นการประเมินผล : การประเมินผลสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการของกระทรวง ตัวชี้วัด ที่ 1 1.1 ระดับความสำเร็จของการถ่ายทอดความรู้จากปราชญ์ชาวบ้านตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 1.2 มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภาคเกษตร 1.3 ร้อยละของพื้นที่เกษตรกรรมที่ได้รับการจัดการและฟื้นฟูทรัพยากรเพื่อการผลิต 1.4 ระดับความสำเร็จของการจัดตั้งศูนย์บริการร่วม น้ำหนักรวม ร้อยละ 15 คะแนน

5 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 เป้าหมาย 40.19 ล้านไร่
ตัวชี้วัด ที่ 1.3 ร้อยละของพื้นที่เกษตรกรรมที่ได้รับการจัดการและฟื้นฟูทรัพยากรเพื่อการผลิต น้ำหนัก ร้อยละ 4 แผนปฏิบัติราชการ กระทรวง ปีงบประมาณ พ.ศ เป้าหมาย ล้านไร่ ผลงาน ร้อยละ คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน หน่วยวัด : ร้อยละ

6 คะแนน 4.2222 ร้อยละ 15 ที่ 2 ตัวชี้วัด
มิติที่ 1 : ด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ ประเด็นการประเมินผล : การประเมินผลแผนปฏิบัติราชการของกลุ่มภารกิจ น้ำหนักรวม ตัวชี้วัด ที่ 2 2.1 จำนวนที่เพิ่มขึ้นของพื้นที่ชลประทานใหม่ที่ นำไปใช้ประโยชน์ได้จริง 2.2 จำนวนเกษตรกรที่ได้รับหนังสืออนุญาตให้ เข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน 2.3 จำนวนศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชนที่ ได้จัดตั้งขึ้นในเขตปฏิรูปที่ดิน 2.4 พื้นที่เกษตรกรรมที่ได้รับการจัดการและฟื้นฟูดิน ร้อยละ 15 คะแนน

7 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2550เป้าหมาย 0.120 ล้านไร่
ตัวชี้วัด ที่ 2.1 น้ำหนัก จำนวนที่เพิ่มขึ้นของพื้นที่ชลประทานใหม่ที่นำไปใช้ประโยชน์ได้จริง (ล้านไร่) ร้อยละ 4 แผนปฏิบัติราชการ กลุ่มภารกิจ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2550เป้าหมาย ล้านไร่ ผลงาน ล้านไร่ คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน หน่วยวัด : ล้านไร่

8 คะแนน 4.4286 ที่ 3 ร้อยละ 15 ตัวชี้วัด
มิติที่ 1 : ด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ ประเด็นการประเมินผล : การประเมินผลแผนปฏิบัติราชการของกรม ตัวชี้วัด ที่ 3 น้ำหนัก 3.1 จำนวนพื้นที่บริหารจัดการน้ำในเขต ชลประทาน ( cropping intensity ) 3.2 จำนวนที่เพิ่มขึ้นของแหล่งน้ำเพื่อชุมชน หรือชนบท 3.3 ร้อยละของมูลค่าความเสียหายของพืชเศรษฐกิจ ในเขตชลประทานจากอุทกภัย และภัยแล้ง ร้อยละ 15 คะแนน

9 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 เป้าหมาย 28 ล้านไร่
ตัวชี้วัด ที่ 3.1 น้ำหนัก จำนวนพื้นที่บริหารจัดการน้ำในเขตชลประทาน (cropping intensity) ร้อยละ 5 ปีงบประมาณ พ.ศ เป้าหมาย 28 ล้านไร่ ผลงาน ล้านไร่ คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน หน่วยวัด : ล้านไร่

10 ที่ 3.2 ตัวชี้วัด จำนวนที่เพิ่มขึ้นของแหล่งน้ำเพื่อชุมชนหรือชนบท
น้ำหนัก จำนวนที่เพิ่มขึ้นของแหล่งน้ำเพื่อชุมชนหรือชนบท ร้อยละ 5 ปีงบประมาณ พ.ศ เป้าหมาย 167 แห่ง ผลงาน 155 แห่ง คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน หน่วยวัด : แห่ง

11 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 เป้าหมายร้อยละ 0.19
ตัวชี้วัด ที่ 3.3 น้ำหนัก ร้อยละของมูลค่าความเสียหายของพืชเศรษฐกิจในเขตชลประทานจากอุทกภัยและภัยแล้ง ร้อยละ 5 แผนปฏิบัติ ราชการ กรมชลประทาน ปีงบประมาณ พ.ศ เป้าหมายร้อยละ 0.19 ผลงาน ร้อยละ คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน หน่วยวัด : ร้อยละ

12 น้ำหนัก ตัวชี้วัด ที่ 4 ความสำเร็จของการดำเนิน การจัดหาน้ำสนับสนุนศูนย์พัฒนาโครงการหลวง ร้อยละ 5 ปีงบประมาณ พ.ศ เป้าหมาย 17 แห่ง ผลสำเร็จตามพันธกิจของกรม ผลงาน 17 แห่ง คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน หน่วยวัด : แห่ง

13 มิติที่ 2 : ด้านคุณภาพการให้บริการ
ตัวชี้วัด ที่ 5 ตัวชี้วัด ที่ 7 5. ร้อยละของระดับความพึงพอใจของ ผู้รับบริการ 6. ระดับความสำเร็จในการเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้า มามีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ 7. ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตาม มาตรการป้องกันและปราบปรามการทุจริต และประพฤติมิชอบ น้ำหนักรวม ร้อยละ 15 คะแนน

14 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2550เป้าหมาย ร้อยละ 85
ตัวชี้วัด ที่ 5 น้ำหนัก ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ ร้อยละ 5 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2550เป้าหมาย ร้อยละ 85 ปี2547 ร้อยละ สวนดุสิตโพลล์ ปี2548 ร้อยละ สวนดุสิตโพลล์ ปี 2549 ร้อยละ เอแบคโพลล์ ปี 2550 สำรวจโดย ม.ธรรมศาสตร์ เกณฑ์การให้คะแนน หน่วยวัด : ร้อยละ

15 ตัวชี้วัด ที่ 6 ระดับความสำเร็จในการเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ น้ำหนัก ร้อยละ 4 ผลงาน ระดับ 5 คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน หน่วยวัด : ระดับ

16 ระดับความสำเร็จในการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการ
ตัวชี้วัด ที่ 7.1 น้ำหนัก ระดับความสำเร็จในการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการ ร้อยละ 3 ผลงาน ระดับ 5 คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน หน่วยวัด : ระดับ

17 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการป้องกันและปราบปรามการทุจริต
น้ำหนัก ตัวชี้วัด ที่ 7.2 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ร้อยละ 3 ประเด็นย่อย 3 ประเด็น ผลงาน ระดับ 5 คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน หน่วยวัด : ระดับ

18 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการป้องกันและปราบปรามการทุจริต
น้ำหนัก ตัวชี้วัด ที่ 7.2 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ร้อยละ 3 ประเด็นย่อย ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการ /แผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระดับความสำเร็จของการจัดทำข้อมูลการทุจริต และประพฤติมิชอบ ร้อยละของจำนวนสำนวนการสอบสวนที่ดำเนินการ ได้ครบถ้วนสมบูรณ์ภายในระยะเวลาที่กำหนด

19 มิติที่ 3 : ด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ
ตัวชี้วัด ที่ 8 ตัวชี้วัด ที่ 11 น้ำหนัก 8. ร้อยละของอัตราการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน 9. ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการ ประหยัดพลังงานของส่วนราชการ 10. 1 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการลดรอบระยะเวลา ของขั้นตอนการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ 10.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการดำเนินการตาม ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงด้านขั้นตอนและวิธีปฏิบัติงานของส่วนราชการ 11. ระดับความสำเร็จของการจัดทำต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต ร้อยละ 10 คะแนน

20 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 เป้าหมาย ร้อยละ 77 ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง 78.10%)
น้ำหนัก ตัวชี้วัด ที่ 8 ระดับความสำเร็จของร้อยละ เฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของอัตราการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน ร้อยละ 3 ปีงบประมาณ พ.ศ เป้าหมาย ร้อยละ 77 ผลงาน เบิกจ่าย % (ครุภัณฑ์ 68.10% ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง 78.10%) คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน หน่วยวัด : ร้อยละ

21 เป้าหมาย ร้อยละ 10-15 ขึ้นไป
น้ำหนัก ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ ตัวชี้วัด ที่ 9 ร้อยละ 2 เป้าหมาย ร้อยละ ขึ้นไป ผลงาน ไฟฟ้า 37.76% น้ำมัน 41.76% คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน หน่วยวัด : ระดับ

22 เป้าหมาย ลดรอบระยะเวลาร้อยละ 50
ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการลดรอบระยะเวลาของขั้นตอนการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ น้ำหนัก ตัวชี้วัด ที่ 10.1 ร้อยละ 1.5 เป้าหมาย ลดรอบระยะเวลาร้อยละ 50 ผลงาน ร้อยละ การเบิกจ่ายเงินตามข้อผูกพัน % การคืนหลักประกันซอง % และสัญญา % คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน หน่วยวัด : ร้อยละ

23 น้ำหนัก ตัวชี้วัด ที่ 10.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการดำเนินการตามข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงด้านขั้นตอนและวิธีการปฏิบัติงานของส่วนราชการ ร้อยละ 1.5 เป้าหมาย ระดับ 5 ผลงาน คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน หน่วยวัด : ระดับ

24 ระดับความสำเร็จของการจัดทำต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต
ตัวชี้วัด ที่ 11 น้ำหนัก ระดับความสำเร็จของการจัดทำต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต ร้อยละ 2 ผลงาน ระดับ 5 คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน หน่วยวัด : ระดับ

25 มิติที่ 4 : ด้านการพัฒนาองค์กร
ตัวชี้วัดที่ 12 ตัวชี้วัดที่ 16 12. ระดับความสำเร็จของแผนการจัดการความรู้เพื่อสนับสนุนประเด็นยุทธศาสตร์ 13.1 ระดับความสำเร็จในการพัฒนาระบบบริหารทรัพยากรบุคคล 13.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการดำเนินงานตาม ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงด้านบุคลากรของส่วนราชการ 13.3 ระดับความสำเร็จของการถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายของระดับองค์กรสู่ระดับบุคคล 14. ระดับคุณภาพการบริหารจัดการระบบฐานข้อมูลสารสนเทศของส่วนราชการ 15.1 ระดับความสำเร็จของการจัดทำแผนพัฒนากฎหมาย 15.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการดำเนินงานตามแผนพัฒนา กฎหมายของส่วนราชการ 16. ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานตามขั้นตอนการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ น้ำหนัก ร้อยละ 25 คะแนน

26 ระดับความสำเร็จของแผนการจัดการความรู้เพื่อสนับสนุนประเด็นยุทธศาสตร์
น้ำหนัก ตัวชี้วัด ที่ 12 ระดับความสำเร็จของแผนการจัดการความรู้เพื่อสนับสนุนประเด็นยุทธศาสตร์ ร้อยละ 3 ผลงาน ระดับ 5 คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน หน่วยวัด : ระดับ

27 ระดับความสำเร็จในการพัฒนาระบบบริหารทรัพยากรบุคคล
น้ำหนัก ตัวชี้วัด ที่ 13.1 ระดับความสำเร็จในการพัฒนาระบบบริหารทรัพยากรบุคคล ร้อยละ 2 ผลงาน ระดับ 5 คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน หน่วยวัด : ระดับ

28 น้ำหนัก ตัวชี้วัด ที่ 13.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการดำเนินงานตามข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง ร้อยละ 3 ผลงาน ระดับ 4 คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน หน่วยวัด : ระดับ

29 น้ำหนัก ตัวชี้วัด ที่ 13.3 ระดับความสำเร็จของการถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายของระดับองค์กรสู่ระดับบุคคล ร้อยละ 3 ผลงาน ระดับ 4 คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน หน่วยวัด : ระดับ

30 น้ำหนัก ตัวชี้วัด ที่ 14 ระดับคุณภาพของการบริหารจัดการระบบฐานข้อมูลสารสนเทศของกรมชลประทาน ร้อยละ 4 ประเมินผล 10 ประเด็นย่อย ผลงาน ประเมินในเชิงคุณภาพ คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน หน่วยวัด : ระดับ

31 ระดับความสำเร็จในการจัดทำแผนพัฒนากฎหมายของส่วนราชการ
ได้รับการยกเว้น น้ำหนัก ตัวชี้วัด ที่ 15.1 ระดับความสำเร็จในการจัดทำแผนพัฒนากฎหมายของส่วนราชการ ร้อยละ 1.5 น้ำหนัก ตัวชี้วัด ที่ 15.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการดำเนินการตามแผนพัฒนากฎหมายของส่วนราชการ ร้อยละ 3.5

32 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
น้ำหนัก ตัวชี้วัด ที่ 16 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ร้อยละ 5 ผลงาน ระดับ 5 คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน หน่วยวัด : ระดับ

33

34 คะแนนรวม 4.4814

35 จบการนำเสนอ


ดาวน์โหลด ppt ขอต้อนรับคณะผู้ตรวจประเมินฯ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google