งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การพัฒนาบุคลิกภาพเพื่อมนุษยสัมพันธ์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การพัฒนาบุคลิกภาพเพื่อมนุษยสัมพันธ์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การพัฒนาบุคลิกภาพเพื่อมนุษยสัมพันธ์
บทที่ 3 การพัฒนาบุคลิกภาพเพื่อมนุษยสัมพันธ์

2 บุคลิกภาพ ( Personality)
การผสมผสานระบบต่างๆ ภายในตัวบุคคล

3 บุคลิกภาพ สำคัญอย่างไร นั้น ...........
มหาวิทยาลัยราชภัฎให้ความสำคัญเป็นข้อที่.. ว่าไว้อย่างไร

4 การพูดแนะนำตนเอง สั้นๆ แต่ให้ครบ มั่นใจนำเสนอตัวเอง
ไม่แนะนำจนมากเกินไป ชักจูงให้น่าสนใจ ไม่ควรใช้เวลาเกิน 2 นาที

5 บุคลิกภาพ หมายถึง

6 บุคลิกภาพ หมายถึง รูปแบบพฤติกรรมที่มีลักษณะเด่น
รวมความคิด และอารมณ์ ซึ่งเป็นตัวกำหนดให้บุคคลแต่ละบุคคลมีการปรับปรุงตนเองให้เข้ากับสภาวการณ์ในการดำเนินชีวิตได้อย่างเหมาะสม บุคลิกภาพจึงทำให้บุคคลมีความแตกต่างกัน

7 บุคลิกภาพ เช่น การแต่งกายรูปร่างหน้าตา ลักษณะการพูด
ทั้งส่วนที่มองเห็นได้ชัดเจน เช่น การแต่งกายรูปร่างหน้าตา ลักษณะการพูด ระบบภายในซึ่งเห็นได้ไม่ชัดเจน เช่น ลักษณะอารมณ์ วิธีคิด ความรู้สึก และค่านิยม

8 บุคลิกภาพ บุคลิกภาพมีส่วนที่เป็นโครงสร้าง หมายถึง
ซึ่งเป็นบุคลิกภาพของบุคคลคนใดคนหนึ่ง ส่วนนี้ เป็นส่วนที่วัดได้ทั้งทางตรงและทางอ้อม เช่น ความเฉลียวฉลาด ความถนัด นิสัยส่วนลึก

9 ความสำคัญของบุคลิกภาพ
ความมั่นใจ ผู้ที่มีบุคลิกภาพดีย่อมภาคภูมิใจและ มั่นใจ 2. สามารถวิเคราะห์พฤติกรรมบุคคลได้ 3. ยอมรับข้อแตกต่างระหว่างบุคคล 4. ตระหนักในเอกลักษณ์ของบุคคล 5. การปรับตัวให้เข้ากับผู้อื่น 6. ความสำเร็จ ของการเป็นผู้มีบุคลิกภาพดี 7. การยอมรับของกลุ่ม

10 องค์ประกอบของบุคลิกภาพ
1. ลักษณะทางกาย 2. ลักษณะทางใจ 3. ลักษณะทางสังคม 4. ลักษณะทางอารมณ์

11 ประเภทของบุคลิกภาพ 2 ประเภท
ประเภทของบุคลิกภาพ 2 ประเภท 1. บุคลิกภาพภายนอก ได้แก่ รูปร่าง หน้าตา การแต่งกาย การวางตัว การพูด เป็นสิ่งที่ปรากฏเห็นชัดสร้างความประทับใจแก่ผู้พบเห็น

12 2. บุคลิกภาพภายใน ได้แก่ ความรู้สึกภายในตัวบุคคลสังเกตได้ยาก แต่ศึกษาได้โดยการสัมพันธ์กัน เช่น ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ความยุติธรรม ความเป็นมิตร จริงใจ

13 ประโยชน์ของบุคลิกภาพ
แสดงให้เห็นถึงบุคคลประเภทต่าง ๆ แสดงให้เห็นถึงผลรวมของพฤติกรรมของบุคคลในองค์การ ชุมชน และสังคม เพื่อใช้เป็นแนวทางในการคัดเลือกบุคคลตามลักษณะ ความถนัด ความสามารถ เพื่อที่จะแบ่งงาน มอบหมายงานได้ตามความเหมาะสม

14 4. บุคลิกภาพที่ดีสามารถสร้างความชอบพอ เลื่อมใส ความยกย่อง นับถือจากบุคคลอื่น
5. บุคลิกภาพช่วยเสริมสร้างความสามารถในการติดต่อกับผู้อื่น 6. บุคลิกภาพมีความสำคัญในการสร้างมนุษยสัมพันธ์

15 ทฤษฏีบุคลิกภาพ 1.1 ระบบพลังงานทางจิต 1.2 ความสามารถทางสมอง
ซิกมันด์ ฟรอยด์ (Sigmund Freud) ทฤษฏีบุคลิกภาพ 1.1 ระบบพลังงานทางจิต 1.2 ความสามารถทางสมอง อ้างจาก จากหนังสือ จิตวิทยาอุตสาหกรรม ร.ศ.อำนวย แสงสว่าง

16 ซึ่งมีผลโดยตรงต่อพฤติกรรมของแต่ละบุคคล
ซิกมันด์ ฟรอยด์ (Sigmund Freud) นักจิตวิทยาแบบจิตวิเคราะห์ ค้นพบและเชื่อว่า จิตมนุษย์ทำงานเป็น 3 ระดับ คือ ซึ่งมีผลโดยตรงต่อพฤติกรรมของแต่ละบุคคล ระดับจิตใต้สำนึก UnConscious ระดับจิตใกล้สำนึก PreConscious ระดับจิตรู้สำนึก Conscious อ้างจาก จากหนังสือ จิตวิทยาอุตสาหกรรม ร.ศ.อำนวย แสงสว่าง

17 ระดับจิตรู้สำนึก Conscious
รู้ว่ามีอะไรเกิดขึ้น เป็นความรู้ตัว รู้ความคิดของตนเอง รู้รอบตัว ความคิด ระดับจิตรู้สำนึก Conscious /การรับรู้ บันทึก ความจำ ระดับจิตไกล้สำนึก PreConscious แหล่งสะสมความรู้ ความต้องการเห็นแก่ตัว ความกลัว แรงกระตุ้นที่ผิดศีลธรรม ระดับจิตใต้สำนึก UnConscious พฤติกรรมที่ซ่อนเร้น แรงขับที่ชอบความร้ายแรง ความปราถนาทางเพศ ที่ยอมรับไม่ได้ ความปราถนาอย่างไร้เหตุผล 93%

18 โครงสร้างบุคลิกภาพ ประกอบด้วย 3 ประเภท

19 พลังทางจิต 3 ส่วนตามทฤษฎีของฟรอยด์
อิด (Id) อีโก้ (Ego) ซูเปอร์อีโก้ (Super Ego)

20 อิด (Id) ส่วนความอยาก ความต้องการ กิเลส ตัณหา รวมไปถึงสัญชาตญาณทั้งหลายที่ติดตัวมนุษย์มาตั้งแต่เกิด

21 อีโก้ (Ego) เป็นพลังงานทางจิตส่วนที่จะแสดงออกเป็นรูปพฤติกรรมตามพลังของฝ่ายอิดหรือซูเปอร์อีโก้

22 ซูเปอร์อีโก้ (Super Ego)
ส่วนของคุณธรรมของแต่ละบุคคล

23 ทฤษฎีพัฒนาการทางเพศของฟรอยด์
(Freud’s Psychosexual Theory) 1. ขั้นความสุขอยู่ที่ปาก แรกเกิด - 2 ขวบ 2. ขั้นความสุขอยู่ที่การใช้ทวารหนัก วัย ขวบ 3. ขั้นความสุขอยู่ที่การผูกพันกับบิดามารดา วัย ขวบ 4. ขั้นความสุขอยู่ที่การเก็บกดความแฝงเร้นทางเพศ ไปสนสิ่งแวดล้อม วัย ขวบ 5. ขั้นความสุขอยู่ที่การได้สนใจเพศตรงข้าม วัยรุ่น ขวบ

24 แฮนด์ ไอเซงค์ (Hans Eysenck)
UNSTABLE โมโหง่าย หงุดหงิด กังวลใจ กระวนกระวายใจ แข็งกร้าว ก้าวร้าว เคร่งขรึม มองโลกในแง่ร้าย ตื่นเต้น ไม่พูดมาก ไม่มั่นคง เปลี่ยนแปลงง่าย ไม่สังคม เงียบ ใจร้อน ปกปิด เปิดเผย INTROVERTED EXTROVERTED วางเฉย มองโลกในแง่ดี มีความระมัดระวัง คล่องตัว มีความคิด มั่นคง ชอบสังคม รักสันติ มีชีวิตชีวา ควบคุมตนเองได้ เชื่อถือได้ ไร้กังวล สงบ ผู้นำ STABLE อ้างจาก จากหนังสือ จิตวิทยาอุตสาหกรรม ร.ศ.อำนวย แสงสว่าง แฮนด์ ไอเซงค์ (Hans Eysenck)

25 กลไกป้องกันตนเอง การหาเหตุผลเข้าข้างตนเอง การปฏิเสธ การเก็บกด
กลไกป้องกันตนเองมักทำงานในระดับจิตใต้สำนึก เพื่อลดความกังวล หวาดกลัว รำคาญใจ สับสน การหาเหตุผลเข้าข้างตนเอง การปฏิเสธ การเก็บกด การซัดทอด การแสดงปฏิกิริยาแกล้งทำ การสับที่ การทดแทน แสดงพฤติกรรมตรงข้ามกับความรู้สึกนึกคิดจริงๆ ไปสู่บุคคลอื่นหรือเหตุการณ์อื่นที่ปลอดภัยกว่า

26 บุคลิกภาพที่ดี บุคลิกภาพที่ไม่ดี
1. การแต่งกาย………………………. 2. การมองบุคคล…………………. 3. การพูด……………………………... 4. การเดิน….………………………... 5. การยืน……………………………….. 6. การนั่ง……………………………….. 7. การไอ/จาม……………………... 8. การรับประทานอาหาร…. 9. การหยิบของหรือสิ่งต่างๆ 10. การแสดงความเคารพนับถือ 11. การทิ้งขยะมูลฝอยสิ่งปฏิกูล

27 การพัฒนาบุคลิกภาพ 1. บริหารร่างกายเป็นประจำ
2. รับประทานอาหารที่ดีมีประโยชน์ต่อการบำรุงร่างกาย 3. พักผ่อนเพียงพอ 4. บริหารจิตใจ 5. พักผ่อนในวันสุดสัปดาห์

28 การจูงใจ Motivation แรงภายในหรือกระบวนการที่พลังงานทั้งหลาย
เป็นสิ่งชี้นำพฤติกรรม การจูงใจเป็นพลังที่อยู่เบื้องหลังพฤติกรรม ลักษณะพลังของการจูงใจจะปรากฎขึ้นต่อเมื่อบุคคลถูกกระตุ้น ในอาการอย่างใดอย่างหนึ่ง แม้ว่าจะชอบหรือไม่ชอบทำก็ตาม มิใช่สิ่งง่ายที่จะกระตุ้นให้มนุษย์เคลื่อนไหวโดยให้เคลื่อนไหว ไปสู่เป้าหมายที่กำหนดไว้เฉพาะเจาะจง

29 สามารถที่จะเป็นอะไรได้
ทฤษฎีมาสโลว์และการจูงใจในการทำงาน 5 4 ความต้องการ ความสำเร็จด้วยตนเอง ความต้องการ การยอมรับนับถือ 3 เป็นบุคคลที่รู้จัก ตนเองดีว่ามีความ สามารถที่จะเป็นอะไรได้ ความต้องการ ทางสังคม การยอมรับ 2 ความต้องการ ความปลอดภัย เพื่อน 1 อาชีพมั่นคง ความต้องการ ทางสรีระ อาหาร

30 ทฤษฎี เฮิร์ทเบิร์ก hertzberg’s Theory
ปัจจัยกระตุ้น มีโอกาสได้รับตำแหน่ง ความพอใจในงานอาชีพ ทำให้เกิดแรงจูงใจ ในการทำงานอยู่ใน ระดับสูง ความสำเร็จ เพิ่มความรับผิดชอบ โอกาสความก้าวหน้า ธรรมชาติของงานที่ทำ ได้รับการยอมรับจากผู้บริหาร

31 ความไม่พอใจในงานอาชีพ
นโยบายบริษัท การจ่ายค่าจ้าง ความไม่พอใจในงานอาชีพ การจูงใจ ในการทำงานอยู่ใน ระดับต่ำ สภาพเงื่อนไขการทำงาน ทางด้านกายภาพ ความมั่นคงในอาชีพ ความสัมพันธ์กับบุคคลอื่น คุณภาพของการนิเทศ

32 งานมอบหมาย 1 ติดตาม 1.วิเคราะห์ตนเอง บุคลิกภาพ ภายนอก ……………………..
ลักษณะนิสัย อารมณ์ ความชอบ ไม่ชอบ ……… 2.ให้ผู้อื่นวิเคราะห์……………………….. 3.วิธีการปรับปรุงตนเอง 4.วิธีการพัฒนาตนเอง ส่งสัปดาห์หน้า

33 สอบ.. การเสนอ พูด/นำเสนอ บุคลิกภาพ
งานมอบหมาย 2 สอบ.. การเสนอ พูด/นำเสนอ บุคลิกภาพ 1. แนะนำตัวเองทุกครั้ง เป็นใครเรียนสาขา อะไร ชัดๆ ไม่งัวเงีย ฉะฉาน... 2. พูดให้เสียงเข้าไมโครโฟน อย่าชิดหรือห่างเกินไป 3. อย่าพูด/นำเสนอเนิบๆ ให้พูดดูคล่องแคล่ว อักขระ ชัดเจน ไม่เอ้อ… อ้า... 4. งานอดิเรก ชอบ ทำอะไร ... สอบสัปดาห์หน้า

34 อัลเฟรด อัดเลอร์ (Adler)
กล่าวถึงทฤษฏีบุคลิกภาพว่ามนุษย์มีปมด้วยมาตั้งแต่เกิด ดังนั้น มนุษย์จึงแสดงพฤติกรรมต่าง ๆ เพื่อลบปมด้อย เพื่อพยายามปรับตัวให้เข้ากับสังคมและการได้มาซึ่งอำนาจ การเลี้ยงดูของพ่อแม่เป็นปัจจัยในการสร้างบุคลิกภาพ ที่สำคัญการเลี้ยงดูที่เข้มงวด หรือการตามใจมากเกินไป ล้วนทำให้เกิดผลเสียต่อบุคลิกภาพ การเลี้ยงดูด้วยความรัก ความเข้าใจ ให้เหตุผลและการรับฟัง

35 (ต่อ) ย่อมทำให้เกิดบุคลิกภาพที่มีความเชื่อมั่นในเองมีวุฒิภาวะ มีความรับผิดชอบ สามารถปรับตัวและดำเนินชีวิตอย่างมีสุข Adler เชื่อว่า ลำดับในการเกิดอิทธิพลต่อบุคลิกภาพ ดังนี้...

36 ลูกคนหัวปี มีความเป็นผู้นำสูง มีความรับผิดชอบ เป็นคนมุ่งมั่น ค่อนข้างก้าวร้าว ขี้อิจฉา เคร่งเครียด จังจังต่อชีวิต

37 ลูกคนรอง มีบุคลิกภาพ สนุกสนาน รื่นเริง มีความรับผิดชอบ ไม่ชอบหรือไม่สนใจที่จะเป็นผู้นำ ชอบแข่งขัน ค่อนข้างใจน้อย โดยเฉพาะถ้าอยู่ในครอบครัวที่พ่อแม่ ให้ความสำคัญ ต่อลูกไม่เท่ากัน ลูกคนรองจะมีความรู้สึกน้อยเนื้อต่ำใจ

38 ลูกคนสุดท้อง มีบุคลิคภาพอ่อนไหวง่าย ใจน้อยเนื่องจากคิดว่าตนเองเป็นศูนย์รวมแห่งความสนใน ของคนในครอบครัว ไม่ค่อยสนใจความรู้สึกของผู้อื่น ชอบให้ผู้อื่นตามใจ ไม่ชอบการขัดใจ ช่างประจบ

39 มีความเชื่อมั่นในตนเอง เอาแต่ใจแต่มี ความรับผิดชอบน้อย
ลูกโทน มีความเชื่อมั่นในตนเอง เอาแต่ใจแต่มี ความรับผิดชอบน้อย มักขาดระเบียบวินัย ตามใจตนเอง ไม่ค่อยเชื่อฟังถือ เหตุผลตนเองเป็นใหญ่

40 การบ้าน ทำในสมุด อ่านเรื่องบุคลิกภาพกับความสำเร็จในชีวิต หน้า 90 แลตอบคำถามต่อไปนี้ 1. เคล็ดลับในการสร้างเสน่ห์ทำได้อย่างไร 2. นักศึกษาคิดว่าอาชีพใดบ้างต้องมีการพัฒนาบุคลิกภาพเพื่อความสำเร็จ 3. คนที่มีบุคลิกภาพดีสามารถสังเกตได้จากอะไรบ้างในความคิดของนักศึกษา

41 การบ้าน ทำในสมุด อ่านเรื่องบุคลิกภาพกับความสำเร็จในชีวิต หน้า 90 และตอบคำถามต่อไปนี้ 1. เคล็ดลับในการสร้างเสน่ห์ทำได้อย่างไร 2. นักศึกษาคิดว่าอาชีพใดบ้างต้องมีการพัฒนาบุคลิกภาพเพื่อความสำเร็จ 3. คนที่มีบุคลิกภาพดีสามารถสังเกตได้จากอะไรบ้างในความคิดของนักศึกษา

42 องค์ประกอบของบุคลิกภาพ ทั้งหมดเป็น Total Message
1.1 รูปลักษณ์ทางกาย มาดต้องตา 1.2 ภูมิปัญญาดี - สื่อความหมายดี วาจาต้องใจ 1.3 การควบคุมอารมณ์ดี ใจต้องเยี่ยม 1.4 มารยาทดี เปี่ยมไปด้วยจรรยา - สร้างศรัทธา - ทรงคุณค่า - สง่างาม ทั้งหมดเป็น Total Message

43 บุคลิกภาพของมนุษย์ ให้ผู้แสดงโดดเด่น+เป็นสง่า
บุคลิกภาพของมนุษย์ ให้ผู้แสดงโดดเด่น+เป็นสง่า 1.1 รูปลักษณ์ทางกาย มาดต้องตา (Physical/Body Language) สีหน้า รูปร่างหน้าตา สายตา กิริยาท่าทาง น้ำเสียง การปรากฏตัว การแต่งกาย

44 บุคลิกภาพและการสมาคม
การสมาคมเป็นการพัฒนาบุคลิกภาพ บุคลิกภาพเป็นพื้นฐานของศาสตร์และศิลปะ ในวิชามนุษย์สัมพันธ์ สมาคมที่จะกล่าว รวมทั้ง บุคลิกภาพของ บุคคลในที่ร่วมงานพิธีการ และการรับรอง

45 บุคลิกภาพและการสมาคม
การสมาคมเป็นการพัฒนาบุคลิกภาพ บุคลิกภาพเป็นพื้นฐานของศาสตร์และศิลปะ ในวิชามนุษย์สัมพันธ์ สมาคมที่จะกล่าว รวมทั้ง บุคลิกภาพของ บุคคลในที่ร่วมงานพิธีการ และการรับรอง

46 ารพัฒนาตนเอง ส. 10 ก เสน่ห์ สติ สงบ สง่า สมอง การพัฒนาตนเอง สะอาด
ารพัฒนาตนเอง ส. 10 สร้างคุณค่า สมอง สะอาด เสน่ห์ สมดุล สติ สง่า สัญญา/ สัจจะ สงบ การพัฒนาตนเอง สู่ความสำเร็จ สำเร็จ

47 1.2 ภูมิปัญญาดี - สื่อความหมายดี วาจาต้องใจ
1.2 ภูมิปัญญาดี - สื่อความหมายดี วาจาต้องใจ 1) พูดกับ “ใคร” ใครคือผู้ฟัง/ลูกค้า - นึกถึงกาละเทศะ สภาพแวดล้อม ผู้ฟังมีข้อมูลอะไรแล้ว - เป็นรัฐมนตรี ผู้บังคับบัญชา ข้าราชการ นักเรียน ชาวบ้านทั่วไป ???

48 2) พูดในโอกาส “อะไร””” - การนำเสนอในที่ประชุมสั้นๆ การบรรยาย โอวาท ปราศรัย กล่าวต้อนรับ - งานแต่งงาน สอน 3) พูดที่ “”“ไหน””” - ในที่ประชุมคณะกรรมาธิการ ส.ส./สว. - ห้องประชุม เวทีห้องประชุมใหญ่ โรงเรียน วัด สนามกีฬา - ที่ร้อน แออัด ไม่มีไมโครโฟน ฯลฯ

49 ข้อฝากในการนำเสนอ พูด/นำเสนอ “อย่างไร”
ข้อฝากในการนำเสนอ พูด/นำเสนอ “อย่างไร” 1. แนะนำตัวเองทุกครั้ง เป็นใครเรียนสาขา อะไร ชัดๆ ไม่งัวเงีย ฉะฉาน 2. พูดให้เสียงเข้าไมโครโฟน อย่าชิดหรือห่างเกินไป 3. อย่าพูด/นำเสนอเนิบๆ ให้พูดดูคล่องแคล่ว อักขระ ชัดเจน ไม่เอ้อ… อ้า... 4. งานอดิเรก ชอบ ทำอะไร

50 5. ดูที่เหตุการณ์ ความเหมาะสม + เวลา (หากงานสำคัญควรเตรียม ด้วยตัวเอง) 6. อย่าใช้เวลานำเสนอนานเกินไป 7. อย่าแสดงความอวดรู้ การข่มท่าน การกระทบ/ กระแทกผู้ฟังหรือบุคคลอื่น ให้ผู้ฟังเขาวิเคราะห์เอง

51 8. บอกหัวข้อผู้ฟังก่อน ควรมีประเด็น ลำดับตาม
ประเด็น จะได้ฟังแล้วเข้าใจง่าย ๆ

52 9. มีข้อมูล/ตัวเลข ปลีกย่อยคอยเสริม หรืออธิบาย
ความ แยกแยะบางจุด และต้องแม่น 10. พยายามให้มีการเชื่อมโยง - ให้เห็นภาพ 11. หยิบเหตุการณ์ปัจจุบัน หรือกรณีที่อยู่ในความ สนใจมากล่าวถึงประกอบด้วยก็ดี

53 1.3 การควบคุมอารมณ์ ใจต้องเยี่ยม EQ

54 ร้างเสน่ห์ด้วย รรมะ พรหมวิหาร 4 เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา ส ธ
ร้างเสน่ห์ด้วย รรมะ พรหมวิหาร 4 เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา หนังสือหน้า 87

55 1.4 ตัวอย่างปุจฉาด้านมารยาทและการวางตัว
1.4 ตัวอย่างปุจฉาด้านมารยาทและการวางตัว ไปร้านหนังสือ โทรศัพท์มือถือดังขึ้น คนรับพูดโทรศัพท์เหมือนอยู่ในบ้าน

56 เกร็ดมารยาททางสังคมที่พึงปฏิบัติ

57 1. ช่วยเหลือผู้อื่นบ้าง โดยเฉพาะสุภาพสตรี และ
ผู้สูงอายุ เพื่อทำให้คนอื่นพึงพอใจ ทั้งการแนะนำ ชวนสนทนา 2. มีความสำรวม และสำรวจตัวเอง ก่อนไปงานสังคม ระดับสูง ทั้งกริยา ท่วงทำนอง การรับประทาน

58 3. การโทรศัพท์ไปถึงบุคคลอื่นหรือผู้ใหญ่ โปรด
แนะนำตัวเองก่อนเสมอ (เป็นใคร ตำแหน่งอะไร) หลักสำคัญไม่ควรใช้ความสะดวกของผู้พูด ไปทึกทักว่าคู่สนทนาที่เราพูดอยู่ด้วย สะดวก เหมือนผู้ติดต่อโทรศัพท์ไปหา

59 . 4.ถ้าผู้โทรศัพท์เป็นผู้ใหญ่/ผู้บริหาร ต้องขอโทษและ
เรียนถามว่ามีธุระหรือสะดวกที่จะอนุญาตพูดได้ หรือไม่ โดยเฉพาะโทรศัพท์มือถือ โปรดระลึกว่า เราสะดวก เราจึงโทรไปหา แต่ผู้รับอาจไม่พร้อม หรือสะดวกที่จะพูด ควรต้องสอบถามก่อน เป็น การให้เกียรติกัน 5 เวลาพูด (โทรศัพท์) และพบแขก หรือพบในงาน ควรแนะนำตัวเอง พึงอย่าพูดทักว่า “จำหนู/ผมได้ไหม”

60 6. ไม่ควรเอยอ้างถึงผู้มีชื่อเสียง หรือผู้โด่งดัง
เพื่อทำให้ตนเป็นผู้สำคัญขึ้นมา 7 ไม่ควรซุบซิบนินทาท่ามกลางวงสนทนา สาธารณะ หรือพูดเรื่องข่าวลือ อย่างซ้ำซาก ไม่ควรตั้งคำถามๆ ว่า “ทำไม” 8 . ไม่ควรนำแขกสนทนาถึงเรื่องตำแหน่งหน้าที่ ทางสังคม หรือการแต่งตั้งโยกย้าย ถ้าไม่ได้ถูก ขอร้องให้ทำเช่นนั้น

61 9. เวลาพูดอย่าเสียงดังจนกลายเป็นการตะโกน
แต่ให้พูดพอจะได้ยินหรือเข้าใจ อยู่ท่ามกลาง ผู้อื่น มิควรใช้เสียงจากการใช้โทรศัพท์มือถือ ไปรบกวนผู้อื่น และอย่ามีกิริยาซุบซิบประเจิด ประเจ้อเช่นกัน 10. ฝึกระดับเสียงตนเองให้มีระดับ ต่ำ นุ่มนวลใช้ ไวยากรณ์ออกเสียงอักขรวิธีให้ถูกต้อง คำที่อ่านและ ขานผิดบ่อยๆ ต้องระวัง โดยเฉพาะการกล่าวรายงาน การกล่าวรายงาน การกล่าวเปิดงาน ต้องตรวจสอบคำ ที่อ่านผิดบ่อยๆ ไว้กันผิดพลาด

62 11. ฝึกพูดคำว่าได้โปรด ขอบคุณ ยินดี ขอโทษ
ให้ติดปากเป็นธรรมชาติ คำเหล่านี้เป็น เครื่องสำอางทางสังคม เรียกคำว่า “คุณ” ลอยๆ ดูจะแข็งเกินไป ควรบอกด้วยชื่อของท่านเหล่า นั้นด้วย จะทำให้ดูให้เกียรติมากขึ้น 12. ไม่ควรผูกขาดการสนทนาแต่เพียงผู้เดียว ดูแวดวงว่าสาระของการสนทนาเขารับได้ และสามารถร่วมคุยได้ด้วยหรือไม่

63 13. ปฏิบัติต่อคนอื่น อย่างที่คุณหวังจะได้รับการ
ปฏิบัติอย่างนั้นกับตัวเอง การรับไหว้พึงระวัง อย่าให้เป็นแบบขอไปที และหากไม่รับไหว้เลย จะดูไม่งาม ไม่ได้มวลชน 14. ควรปฏิบัติต่อหู จมูก และส่วนอื่นๆ ของร่างกาย ในที่ลับตาคน (ให้มือของคุณอยู่ห่างจากหน้า และทรงผม)

64 15. ไม่เคี้ยวหมากฝรั่ง ระหว่างงานพิธีการ การ
ประชุม การฟังบรรยาย ลดการนั่งไขว่าห้างใน งานพิธี และนั่งกับผู้ใหญ่ โดยเฉพาะแถวหน้า การนั่งสนทนากับผู้ใหญ่พึงระวังความสำรวม 16. โปรดงดวิจารณ์รูปร่างหน้าตาของใคร ไม่ว่า ทางดีหรือร้าย 17. ต้องไม่ตำหนิใครต่อหน้าบุคคลที่สาม หาก กระทำโดยเฉพาะกับผู้ใต้บังคับบัญชาให้ทำ เป็นส่วนตัว สองต่อสอง

65 18. “4” คำ ที่มิควรใช้ในการเจรจา… ไม่ใช่ ใช่ ไม่เคย
ไม่ทราบ… คำว่า “มิได้” “ขอประทานโทษ” เป็นคำที่ ไพเราะ 18. มารยาทการเข้าคิว เป็นเสน่ห์ของคนตะวันตก อย่าเร่งคนที่อยู่หน้าเรา ไม่ว่าจะใช้คำพูดหรือ อากัปกิริยาก็ตาม 20. ระมัดระวังการสูบบุหรี่พร่ำเพรื่อ และในที่ห้ามสูบ โปรดสำนึกว่าเป็นการรบกวนภาวะแวดล้อมบุคคลอื่น และลดความสง่างามของผู้สูบเอง โดยเฉพาะในโต๊ะ อาหารที่มีสุภาพสตรีนั่งร่วมด้วย หรือในวงสนทนา ควรขออนุญาตผู้ร่วมสนทนาก่อน

66 21. ควรมีนามบัตรติดตัวไปในงานสำคัญๆ การ
เก็บนามบัตรไว้ในกระเป๋ากางเกงไม่สุภาพ ควรบันทึกไว้ในนามบัตรที่ได้รับว่าผู้มอบเป็นใคร พบปะกันที่ไหน มีอะไรเป็นจุดเด่น และวันที่ เท่าไรเพื่อการเตือนความจำ

67 The end


ดาวน์โหลด ppt การพัฒนาบุคลิกภาพเพื่อมนุษยสัมพันธ์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google