งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การสอบสวนโรคไข้เลือดออก

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การสอบสวนโรคไข้เลือดออก"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การสอบสวนโรคไข้เลือดออก
Rome Buathong, MD., FETP. Outbreak Investigation & Surveillance Section Bureau of Epidemiology Department of Disease Control Ministry of Public Health

2 ไวรัสเดงกี่ (Dengue Virus)
ไวรัสเดงกี่ (Dengue virus) จัดอยู่ในวงศ์ Flaviviridae family ประกอบด้วย 4 serotypes (DEN1-4) เป็นโรคติดต่อนำโดยแมลง ซึ่งได้แก่ ยุงลาย ยุงลาย ที่พบในเมืองไทยได้แก่ ยุงลายบ้าน (Aedes egypti) และ ยุงลายสวน (Aedes albopictus) ไวรัสเดงกี่ สามารถทำให้เกิดอาการต่าง ๆ ตั้งแต่ อาการน้อย (ไม่มีอาการเลย) พบได้มากที่สุด ไข้เดงกี่ มีอาการไข้สูง ปวดเมื่อย ปวดตามตัว ปวดเบ้าตา แต่ไม่มีภาวะซ็อก ไข้เลือดออก ซึ่งมีอาการคล้ายไข้เดงกี่ แต่มีภาวะเกร็ดเลือดต่ำและมีภาวะซ็อก

3 Dengue in Thailand Major public health problem in Thailand over the past 50 years A shift towards older age groups of severe cases has been observed over the past years Number of cases has remained roughly constant Hypothesis Decrease in transmission And even though the total number of cases that is reported has remained more or less the same, the mean age of cases has increased from about 9-10 years in the 1980’s to late adolescence around years of age during more recent years. And the reasons for this shift in the age of cases, that is also being observed in other southeast asian countries have not been fully understood. Does it mean that people are getting infected later in life? Does it mean that transmission intensity has decreased ? - Motivation for the 3 places - How to estimate R0 -What dem transition - \ Data from the ministry of public health, Thailand 3 3

4 Background Dengue and DHF have been a major public health problem in Thailand over he past 50 years. Clinical dengue (DF and DHF) has traditionally affected children with rare cases among adults. Even though the incident number of DHF cases does not seem to have decreased, a shift towards older age groups has been observed over the past years. The nature of this shift have not been elucidated.

5 Significant increase in age at infection
> 80% of children age 10 yrs old infected with more than 2Den types Proportion seropositive 1980 Never infected with dengue any type n 2010 Susceptible >2DENV DENV1 DENV2 DENV3 DENV4 Only 40% of children age 10 yrs old infected with more than 2Den types Here we have the results from the 1981 and the 2010 serosurveys. On the x axis we have the age and on the y axis we have the proportion exposed. And from looking at these plots it becomes evident that the time to seroconversion has in fact increased, because while in 1981 approximately 80% of children had been exposed by age 8, in the 2010 serosurvey we only observe 80% seroconversion at age 18. And to estimate the average force of infection what we need to do is to fit a curve through these points. This makes sense, because as I said earlier, the force of infection is the rate at which susceptibles are exposed, so if we asume that immunity is lifelong and f we fit a line through this age specific serological data we get exactly that, the average rate of seroconversion for the preceding 18 years in this case and for the preceding 11 years in this case. Our estimate of the mean force of infeciton for the period was .023, and what this means is that on average, 2.3% of susceptibles were infected by each dengue serotype during each year. This is approximately 40% lower to the estimate obtained for the period , that is an average force of infection of .038 per year. So we have a decrease of approximately 40% in the force of infection over this period of time. And here I’ve added the 1981 line to the 2010 to get a sense of the lower rate at which children are seroconverting nowdayes. And the rationale for doing this is that assuming that infection is not age dependent, it is reasonable to thing that for example, children who are 6 years old are only different from children who are five by that extra year of exposure that they have. So if we compare children who are 5 to children who are 6, it may provide some information of the rate or hazard of infection 5 to 6 years ago So to estimate forces of infection from seroprecalence data you have to asume at least two things Immunity is lifelong Infection is not age dependent And if you are willing to make these assumptions 40% decrease Proportion seropositive 5 5

6 40% decrease in the force of infection over the last 30 years
And this figure shows the same data, age on the x axis and prop. Seropositive on the Y axis, but this time we’ve disregarded the serotype information and have aggregated people as And the lines show the fit of the models estimating average and time varying forces of infection It is important to take into account range of years. Our estimate of the mean force of infeciton for the period was .023, and what this means is that on average, 2.3% of susceptibles were infected by each dengue serotype during each year. This is approximately 40% lower to the estimate obtained for the period , that is an average force of infection of .038 per year. So we have a decrease of approximately 40% in the force of infection over this period of time. And here I’ve added the 1981 line to the 2010 to get a sense of the lower rate at which children are seroconverting nowdayes. And the rationale for doing this is that assuming that infection is not age dependent, it is reasonable to thing that for example, children who are 6 years old are only different from children who are five by that extra year of exposure that they have. So if we compare children who are 5 to children who are 6, it may provide some information of the rate or hazard of infection 5 to 6 years ago So to estimate forces of infection from seroprecalence data you have to asume at least two things Immunity is lifelong Infection is not age dependent And if you are willing to make these assumptions 40% decrease λ(t)=0.038 (95%CI ) λ(t)=0.019 (95%CI ) 6 6

7 No significant change in R0 or V
R0= 3.3 (95% CI ) R0 = 3.2 (95%CI ) Next we wanted to use these forces of infection to estimate the basic reproductive number for these periods of time. One would think that a decrease in transmission intensity should imply a decrease in the basic reproductive number, (less secondary cases by each primary) but this is not necessarily the case because as I said before, estimating R0 takens into account the distribution of the population and for any given R0, the relationship between the force of infection and characteristics of the population structure such as the life expectancy, is nonlinear. This figure shows the age structure of the population of Thailand in 1980 and 2010, and as we can see that there has been a significant demographic transition, characterized by drops in birth-rate and increases in life expectancy. We estimated the average R0 for the period to have been 3.3, and the average R0 for the period to have been 3.2. So essentially this sggests that even though there has been a significant drop in the force of infection, the change in age-group predominande is likely to be related more to the changes in population structure (demographic transition) than to actual changes in the basic reproductive number. This is finding is rather counter-intuitive but the intuition behind is that as the population ages, immune people live for longer, and essentially what happens is that the probability that an infected mosquito will bite an already immune person goes up, so there’s many infectious bites lost. As a result, the transmission intensity goes down, but this is idependent from the transmission potential that is measured by R0. However, what this decrease implies in terms of the basic reproductive number is more complicated because there exists a non linear relationship between the force of infection, the structure of the population, and the basic reproductive number, and thailand has undergone a demographic transition over the last 30 years, with a drop in the birth rate an an increase in the life expectancy at birth. This figure shows the structure of the population of thailand back in 1980, and the structure of the population in 2010. So, for an infectious disease with a given basic reproductive number, lets say 4, you expect a higher force of infection in a setting with low life expectancy than in a setting with high life expectancy. And, as can be seen in this figure, Thailand has been undergoing a demographic transition over the last 30 years, with a drop in the birth rate and an increase of about 10 years in the life expectancy. Life expectancy has changed from 65.5/ 73.8 Birth rate 3.9 in 1980 to 1.6 Dengue 1 รายสามารถแพร่เชื้อต่อได้ 3-4 คน ไม่เปลี่ยนแปลงจากปี 1980 และ ปี 2010 แม้ว่าโครงสร้างประชากรจะเปลี่ยนไป 7 7

8 Changes of Dengue Epidemiology in Thailand

9 อัตราป่วยตายของไข้เลือดออก ระหว่างเด็กและผู้ใหญ่ ประเทศไทย 2543-2550

10 MANIFESTATIONS OF THE DENGUE SYNDROME dengue haemorrheagic fever
dengue virus infection(10,000) Asymptomatic(9,000) Symptomatic(1,000) dengue haemorrheagic fever plasma leakage* (100) undifferentiated Fever (viral syndrome) 500 dengue fever Syndrome 400 without haemorrhage with Unusual haemorrhage no shock dengue shock syndrome (DSS) dengue fever (DF) dengue haemorrhagic fever (DHF) WHO 95629 * Prof. Prasong Tuchinda & Prof.Natth Bhamarapravati, Thailand 1961

11 Cross very long time ---->
Primary infection mostly asymptomatic or mild symptom (less severity) Den any type such as DEN-1 Secondary infection mostly severe > 1st Disease free period Den type 3 1 3 2,4 2,3,4 2,3,4 Cross only 6-12 เดือน Cross very long time ---->

12 Clinical Presentations of Dengue Expanded dengue syndrome *
dengue virus infection symptomatic asymptomatic dengue haemorrheagic fever Expanded dengue syndrome * undifferential Fever (viral syndrome) dengue fever syndrome CNS/encephalitis hepatitis/FHF myocarditis ARF eye involvement IAHS etc. plasma leakage classical with unusual haemorrhage no shock With shock (DSS) * Severe dengue unusual manifestation isolated organopathy

13 Symptomatology of Dengue Infection
Dengue Fever DSS DHF Undifferentiated Fever No Symptom

14 Percentage of reported DF/DHF/DSS cases, Thailand, 2013
Source: Bureau of Epidemiology, Ministry of Public Health, Thailand

15 Dengue fever High fever ~ 5 - 7 days, may be biphasic
Headache, retro - orbital pain, muscle, bone and joint pain Rash : diffuse flushing, erythrematous maculopapular, infrequently petechiae (+ TT+) Nausea, vomitting, abdominal pain Leukopenia, occasionally thrombocytopenia More severe in adults (than children) with prostration and prolonged convalescence

16 MAJOR MANIFISTATIONS OF DHF
used as criteria for diagnosis at Children’s Hospital Clinical : 1. Fever : Acute onset, high continuous 2-7 days with other non-specific S/S resembling DF 2. Hemorrhagic manifestations : - mostly on skin as positive T.T., petechiae, bruisability and others, including epistaxis, hematemesis / melena 3. Enlargement of liver, usually soft and tender 4. Circulatory disturbance / shock Laboratory : 1. Thrombocytopenia (< 100,000 /mm3) 2. Hemoconcentration (> 20% increase in Hct. level) Suchitra N.

17 Evidence of Plasma Leakage
1. Hemoconcentration ≥ 20% (10%) 2. Pleural effusion CXR, Rt. Lat decubitus 3. Ascites PE, U/S Indirect evidence 4. Hypoalbuminemia

18 DHF and Secondary Infection
More than 80% DHF associated with secondary Dengue infection DHF in infant (< 12 months) all were primary Dengue infection DHF in infants may associated with maternal infection and pass their Dengue Ab to their child Number of DHF cases in each age group, Bangkok Children’s hospital 1985 30 40 50 60 70 <1 1 2 3 4 6 5 7 8 9 14 15 10 11 12 13 Primary infection Secondary infection 20 Age-Years Cases

19 Dengue Definition

20 Case Definition for Dengue Fever
Suspected DF (ผู้ป่วยสงสัย) Acute Febrile Illness 2-7 days AND Additional 2 of the following sign/symptoms Severe headache Retro-orbital pain Muscle pain Bone pain Joint Pain Rash or Flush face Petechiae Positive Tourniquets’s Test

21 Case Definition for Dengue Fever
Probable DF (ผู้ป่วยน่าจะเป็น) Met suspected case DF criteria AND one of the following Leukopenia (WBC < 5,000 cell/ml) with high Lymphocyte Epidemiological linkage with confirmed case Confirmed DF (ผู้ป่วยยืนยัน) Identify dengue virus by PCR and/or Viral isolation Positive Dengue IgM and/or IgG รายงาน 506

22 Case Definition for Dengue Hemorrhagic Fever
Suspected DHF (ผู้ป่วยสงสัย) Acute Febrile Illness 2-7 days AND Evidence of Bleeding/Hemorrhagic Manifestation (s) Positive Tourniquets’s Test Visible bleeding; subconjunctival, epistaxis, gum, lip, hematemesis, petechiae, echymosis, bruise, injection site bleeding, hematoma, malena, fresh bloody stool etc… AND Additional 1 of the following sign/symptoms Severe headache Retro-orbital pain Muscle pain Bone pain Joint Pain Rash or Flush face Hepatomegaly/Liver tenderness

23 Case Definition for Dengue Hemorrhagic Fever
รายงาน 506 Probable DHF (ผู้ป่วยน่าจะเป็น) Met suspected case DHF criteria AND one of the following Thrombocytopenia (< 100,000 cell/mL) AND Evidence of plasma leakage Hemoconcentration (> 20% of baseline) Pleural effusion in CXR Ascites in ultrasonography Epidemiological linkage with confirmed case Confirmed DHF (ผู้ป่วยยืนยัน) Identify dengue virus by PCR and/or Viral isolation Positive Dengue IgM and/or IgG

24 DHF Grading

25 สรุป ผู้ป่วยเข้าเกณฑ์ อย่างไรต้องรายงาน
Dengue fever (DF) 1. Fever + 2 symptoms + WBC < 5000 cells/cu. mm. 2. Fever + 2 symptoms + epi-linkage with confirmed case 3. Fever + 2 symptoms + positive PCR or ELISA IgM or IgG Note: NS1 and Rapid test IgM/IgG is not in the criteria

26 สรุป ผู้ป่วยเข้าเกณฑ์ อย่างไรต้องรายงาน
Dengue hemorrhagic fever (DHF) Fever + Hemorrhage at least positive TT + 1 symptoms + Thrombocytopenia (PLT<100,000) + Plasma leakage Hemoconcentration ≥ 20% (10%) OR Pleural effusion CXR, Rt. Lat decubitus OR Ascites PE, U/S

27 การรายงานไข้เดงกีและไข้เลือดออก
ก่อนวันที่ 23 มิถุนายน 2552 การรายงาน Dengue disease ทั้ง DF และ DHF เป็นการรายงานโดยสมัครใจ ในภาคเอกชน (รง. 506) แต่หลัง วันที่ 23 มิถุนายน 2552 การรายงาน Dengue ต้องรายงานตามกฎหมาย คลอบคลุมทั้ง รพ. รัฐ และเอกชน /เจ้าบ้าน และห้องปฏิบัติการ การละเว้นการรายงาน มีความผิดตามกฎหมาย

28 พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๒๓
หลักการของกฎหมาย ตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ ได้ กำหนดโรคติดต่อไว้ 3 ประเภท คือ โรคติดต่อ โรคติดต่อต้องแจ้งความ โรคติดต่ออันตราย มี 22 โรค เจ้าบ้าน/ สถานพยาบาลรัฐและเอกชน/ ห้องปฏิบัติการ ทั้งรัฐและเอกชน ต้องรายงาน (notify) ให้ กระทรวงสาธารณสุขทราบ (มาตตรา 7) มี 7 โรค ต้องแจ้งความ (มาตรา 7) แยกกัก/กักกัน/คุมไว้สังเกตุ (มาตรา 8) โดยหน้าที่เจ้าพนักงานสาธารณสุข

29 พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๒๓
โรคติดต่อที่ต้องแจ้งความ

30 Risk factors and clinical features associated with severe dengue infection in adults and children during the 2001 epidemic in Chonburi, Thailand Dr. Ole Wichmann Berlin, Germany

31

32

33 Shigeki Hanafusa, Tokyo, Japan
Clinical features and differences between child and adult dengue infections in Rayong Province, Thailand Children (N=147) Male 76, Female 71 Clinical prominent Cough Vomiting Abdominal pain Rash Conscious change Epistaxis TT positive Adults (N=154) Male 71, Female 83 Clinical prominent Headache Myalgia Gum bleeding Shigeki Hanafusa, Tokyo, Japan

34 Dengue virus isolation from Children’s Hospital (QSNICH) -AFRIMS, 1973-2006
Copyright Nimmannitya S.

35 Dengue Serotype Circulation 2516-2556 Thailand
Arbovirus, NIH, DMsC

36 Dengue Serotype Circulation 2556
สัดส่วน 1 25.00 % 2 27.25 % 3 35.67 % 4 12.08 %

37 Serology Concept

38 Diagnosis for Dengue Virus

39 Dengue Diagnosis Antigen detection Antibody detection
Viral culture by cell line DNA detection by RT-PCR : serotype identification Real time PCR : qualitative result (positive and negative) Nested PCR : qualitative result (positive and negative) very sensitive Antibody detection

40 Dengue Diagnosis Antibody detection ELISA
Captured-dengue ELISA : Unit  cut off point is in unit ( IgM >/= 40 units, IgG >/= 100 units) MAC ELISA : OD , cut off point  positive, negative 2. Hemaglutinin inhibition test or HI or HAI 3. Neutralization test Report to titer level ; 1 : 4 , 1 : 8, 1: 16 ect..

41 Report of Dengue Test Acute infection Recent infection
PCR/culture positive OR IgM positive Recent infection PCR/culture negative AND IgM negative AND IgG positive Primary infection IgM higher than IgG at given time period Secondary infection IgG higher than IgM at given time period

42 Acute dengue infection, secondary
Example PCR = Dengue type 2 Dengue IgM = 21 units Dengue IgG = 114 units Onset May 2012 Blood collected 23 May 2012 Acute dengue infection, secondary

43 Acute dengue infection, Primary
Example PCR = Dengue type 1 Dengue IgM = 0/80/120 units Dengue IgG = 0/2/10 units Onset May 2012 Blood collected 20/23/28 May 2012 Acute dengue infection, Primary

44 Acute dengue infection, secondary
Example PCR = Negative Dengue IgM = 116 units Dengue IgG = 72 units Onset May 2012 Blood collected 23 May 2012 Acute dengue infection, secondary

45 Dengue Screening Test

46 Serum (น้ำเหลือง ที่ไม่มี clotting factor)
Clot blood tube No EDTA or Heparin For testing 1) Biochemitry; Blood sugar, Electrolyte, BUN/Creatinine, LFT 2) Antibody Clotting factors were not available due to used to be clot.

47 Plasma (น้ำเหลือง) Heparinized blood tube
Action: Stops the formation of thrombin from prothrombin therefore stopping formation of fibrin from fibrinogen EDTA blood tube Action: chelates calcium ions to form a soluble complex For testing CBC, RBC morphology

48 การสอบสวนการระบาดของไข้เลือดออก
ข้อบ่งชี้ และวัตถุประสงค์ รายแรกของพื้นที่ (พื้นที่ ต้องได้รับการตีความ) เสียชีวิต เป็นกลุ่มก้อน/เป็นการระบาด

49 กรณีผู้ป่วยรายแรกของพื้นที่
กรณีผู้ป่วยรายแรกของพื้นที่ จุดประสงค์เพื่อให้ควบคุมโรคให้ได้อย่างรวดเร็ว ไม่ให้ขยายไปในวงกว้าง เมื่อพบผู้ป่วยสงสัยโรคติดเชื้อเดงกีรายแรกของพื้นที่ ให้รีบลงดำเนินการสอบสวนโรคและควบคุมโรค ทันที (ภายใน 24 ชั่วโมง) แต่จากประสบการณ์ในกรณีนี้ ยังพบว่ามีปัญหาและอุปสรรคที่ ทำให้การควบคุมโรคทำได้ไม่ได้ผล ซึ่งได้แก่ 1. พื้นที่ นั้นต้องได้รับการนิยามให้จำเพาะ เพราะในทางปฏิบัติเจ้าหน้าที่เข้าใจคลาดเคลื่อนไปได้หลายทาง เช่น พื้นที่หมายถึง ระแวกบ้าน ชุมชน หมู่ที่ ตำบล อำเภอ หรือบริเวณที่โรงพยาบาลส่งเสริมตำบลรับผิดชอบ การจะควบคุมโรคได้ดี พื้นที่ควรเป็นหน่วยที่เล็กที่สุด

50 กรณีผู้ป่วยรายแรกของพื้นที่
2. ผู้ป่วยรายแรก ไม่ใช่เป็นผู้ป่วยรายแรกที่แท้จริง เนื่องจากการรายงานผู้ป่วยที่ได้รับรายแรก มักจะเป็นผู้ป่วยที่มีอาการชัด มีเลือดออก มีอาการซ็อก หรือรอผลตรวจยืนยันทางห้องปฏิบัติการ เช่น PCR หรือ ELISA ซึ่งในความเป็นจริงแล้ว ผู้ป่วยรายแรกมักจะมีอาการไม่รุนแรง เช่นมีอาการไข้ หรือเป็นไข้เดงกี ทำให้การตรวจจับรายแรกล่าช้า ส่งผลให้การควบคุมโรคไม่ได้ผล 3. กระบวนการสอบสวนโรค ประเด็นนี้ยังทำไม่ครบขั้นตอน เนื่องจากเจ้าหน้าที่จะเน้นการพ่นสารเคมี และกำจัดแหล่งลูกน้ำยุงลาย ในรัศมี 100 เมตร โดยละเลยการค้นหาผู้ป่วยเพิ่มเติมในชุมชน และประเมินสถานการณ์ว่ามีเพียงผู้ป่วยรายเดียว หรือพบผู้ป่วยเป็นกลุ่มก้อน ในกรณีที่พบผู้ป่วยเป็นกลุ่มก้อน ต้องขยายพื้นที่การควบคุมโรคจากรัศมี 100 เมตร เป็นทั้งชุมชน และควรเน้นแหล่งชุมชนชน ได้แก่ ร้านขายของชำ วัด โรงเรียน ศาลากลางบ้าน และพื้นที่ ที่ไม่มีคนอยู่ เนื่องจากจะไม่มีคนดูแล

51 กรณีผู้ป่วยโรคติดเชื้อเดงกีเสียชีวิต
สิ่งที่ต้องเน้นในการสอบสวนสงสัยผู้ป่วยเสียชีวิตด้วยเดงกี ได้แก่ การยืนยันการวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการในผู้ป่วยที่เสียชีวิต ได้แก่ 1. พยายามหาตัวอย่างเลือดของผู้ป่วยเสียชีวิตที่เหลืออยู่ ส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ไม่ว่าจะเป็นศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์เขต หรือสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข 2. ยืนยันทางห้องปฏิบัติการทางอ้อม ได้แก่ การส่งตัวอย่างเลือดของผู้ป่วยที่มีอาการเข้าได้กับไข้เดงกีในครัวเรือนเดียวกันหรือระแวกเดียวกัน ส่งตรวจยืนยันทางห้องปฏิบัติการยืนยัน ปัญหาที่พบบ่อยในผู้ป่วยเสียชีวิตที่สงสัยการติดเชื้อเดงกี คือ ไม่สามารถยืนยันการติดเชื้อไวรัสเดงกีได้ ส่วนใหญ่จะอนุมานจากอาการทางคลินิกและการตรวจทางห้องปฏิบัติการทั่วไป โดยไม่ได้ส่งเลือดตรวจยืนยันการติดเชื้อเดงกี่ทางห้องปฏิบัติการมาตรฐาน ได้แก่ PCR, Viral culture, serology ได้แก่ Dengue-IgM และ –IgG (หมายเหตุ: ชุดตรวจคัดกรอง Rapid test ที่นิยมใช้ ได้แก่ NS1 Antigen, Dengue IgM และ IgG โดยวิธี Immunochromotographic testเป็นเพียงชุดคัดกรอง ไม่ใช่ชุดตรวจวินิจฉัยยืนยัน)

52 กรณีผู้ป่วยโรคติดเชื้อเดงกีเสียชีวิต
การสอบสวนหาปัจจัยที่ทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิต ซึ่งควรพิจารณาไปยัง 3 ประการได้แก่ ปัจจัยด้านตัวผู้ป่วย เช่น ผู้ป่วยมีภาวะเสี่ยงของการเสียชีวิตหรือไม่ เช่น อายุ การตั้งครรภ์ โรคประจำตัวบางชนิด ได้แก่โรคเลือด หรือโรคเรื้อรังต่าง ๆ รวมทั้งการติดเชื้อร่วมกัน (co-infection) การติดเชื้อไวรัสเดงกี ชนิด 2 และ 3 เป็นต้น ปัจจัยด้านระบบบริการ เช่น การวินิจฉัยล่าช้าทำให้ผู้ป่วยไม่ได้รับการบริการอย่างทันท่วงที เกิดภาวะซ็อกนาน ระบบการให้บริการ รวมทั้งการให้สุขศึกษาประชาสัมพันธ์ให้กับผู้ป่วย เป็นต้น ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม เช่น สถานการณ์การระบาดในพื้นที่ มีการระบาดในวงกว้างหรือไม่ การควบคุมโรคในพื้นที่เป็นอย่างไร รวมทั้งความตระหนักของชุมชน การมีส่วนร่วมของชุมชนเป็นต้น การสอบสวนหาปัจจัยที่ทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิต ต้องอาศัยการรวมมือจากทุกภาคส่วน ทำการวิเคราะห์แบบบูรณาการ ซึ่งการเสียชีวิตจะไม่ได้เกิดจากปัจจัยใด ปัจจัยหนึ่งเพียงอย่างเดียว แต่เกิดจากปัจจัยหลาย ๆ อย่างร่วมกัน

53 Laboratory Confirmation for Dengue
Antigen detection by standard and accredited method (ISO 15189) Viral culture PCR NAT Antibody detection by standard and accredited method ELISA – IgM / IgG Neutralization Test : titer Heamagglutinin Inhibition Test : titer

54 การสอบสวนไข้เลือดออก อำเภอกงไกรลาศจังหวัดสุโขทัย 2549

55 ความเป็นมา ในเดือนเมษายน มีผู้ป่วยไข้เดงกี่และไข้เลือดออกมารักษา ณ โรงพยาบาลกงไกรลาศ จังหวัดสุโขทัย จำนวน 2 ครอบครัว ครอบครัวแรกประกอบด้วยสมาชิก 4 คน ป่วย 3 คน และครอบครัวที่สองมีสมาชิก 4 คน ป่วยทั้งหมดสี่คน สองครอบครัวอาศัยอยู่ต่างตำบลที่มีพื้นที่ห่างไกลกัน ทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็วของอำเภอกงไกรลาศลงสอบสวนและควบคุมโรคในสองหมู่บ้าน ร่วมกับองค์กรปกครองท้องถิ่น

56 วัตถุประสงค์ เพื่อทราบขนาดของปัญหา (ทราบจำนวนผู้ติดเชื้อไข้เลือดออกในหมู่บ้านที่แท้จริง) เพื่อทราบปัจจัยเสี่ยงของการติดเชื้อ เพื่อควบคุมและป้องกันการระบาดที่จำเพาะต่อไป

57 วิธีการสอบสวน ค้นหาผู้ป่วยเพิ่มเติมในชุมชน
สอบถามอาการป่วยตามนิยามที่ตั้งไว้ เจาะเลือดผู้ที่สัมภาษณ์ทุกราย ที่อาศัยอยู่ในสองหมู่บ้าน ศึกษาระบาดวิทยาเชิงวิเคราะห์ เพื่อหาปัจจัยเสี่ยง สำรวจยุงและสภาพแวดล้อมของทั้งสองหมู่บ้าน

58 ผลการสอบสวน ณ วันที่สอบสวนพบผู้ที่อาศัยในสองหมู่บ้านจำนวน 107 คนจากจำนวนทั้งหมด 137 คน (78.1%) พบผู้ที่ติดเชื้อทั้งหมด 26 ราย จาก 107 คน (24.3%) หมู่บ้านแห่งที่หนึ่ง 19 รายจาก 54 คน (35.2%) หมู่บ้านแห่งที่สอง 7 รายจาก 53 8o (13.2%) อายุเฉลี่ยจากค่ามัธยฐาน หมู่บ้านแห่งที่หนึ่ง 20 ปี (ต่ำสุด 2 ปี - สูงสุด 74 ปี) หมู่บ้านแห่งที่สอง 18 ปี (ต่ำสุด 12 ปี – สูงสุด 33 ปี )

59 ประเภทของการติดเชื้อในหมู่บ้านทั้งสองแห่ง
ไข้เลือดออกซ็อก ร้อยละ 4 ไม่มีอาการ ร้อยละ 46 ไข้เดงกี่ ร้อยละ 38 ไข้เลือดออก ร้อยละ 12 ไข้เลือดออกซ็อก ร้อยละ 4 ไข้เลือดออก ร้อยละ 12 ไข้เดงกี่ ร้อยละ 38 ไม่มีอาการ ร้อยละ 46

60 เปรียบเทียบอัตราป่วยระหว่างเด็กและผู้ใหญ่

61 ปัจจัยเสี่ยงของการติดเชื้อไข้เลือดออก

62 การสำรวจลูกน้ำยุงลาย

63 สรุปและวิจารณ์ พบการระบาดของไข้เลือดออกในทั้งสองหมู่บ้าน เนื่องจากมียุงลายชุกชุม พบผู้ป่วยมากในชุมชนที่มีความหนาแน่นและมีลูกน้ำยุงลายมาก พบผู้ป่วยอีกมากในชุมชน จำนวนผู้ป่วยที่มาโรงพยาบาลเป็นเพียงส่วนน้อย การลงมือทำลายลูกน้ำยุงและพ่นหมอกควันฆ่ายุงตัวเต็มวัยอย่างเข้มข้นจะช่วยให้การระบาดลดลงได้อย่างรวดเร็ว ความร่วมมือขององค์กรท้องถิ่น เป็นสิ่งจำเป็นมาก (ต้องร่วมมือกันทำ)

64 สรุปและวิจารณ์ การลงควบคุมโรคอย่างทันท่วงที และเป็นระบบ โดยเฉพาะผู้ป่วยรายแรกของชุมชุน ต้องลงสอบสวนโรคทันที แต่ผู้ป่วยรายแรกของชุมชน จะเป็นผู้ป่วยรายแรกจริงหรือไม่นั้น ต้องหาคำตอบให้ได้ จากการสอบสวน และการตระหนักของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขทั้งจากสถานีอนามัย และโรงพยาบาล ผู้ป่วยรายแรกมักเป็นผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรง เช่นเป็นไข้เลือดออก หรือมีภาวะซ็อกหรือมีการเสียชีวิต แต่ส่วนใหญ่จะไม่ใช่รายแรกของชุมชน หากต้องการป้องกันการระบาดในพื้นที่ได้สำเร็จ ต้องนึกถึงโรคไข้เดงกี่ด้วยเสมอและลงควบคุมโรคทันทีเลย ในช่วง มกราคม – มีนาคม ของทุกปีต้องเฝ้าระวังและควบคุมโรคอย่างเข้มข้น ควรทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายก่อนฤดูฝน

65 การสอบสวนไข้เลือดออก ณ แขวงบ่อแก้ว ประเทศลาว
ได้รับรายงานและสอบสวน ณ วันที่ 10 มิถุนายน

66 แผนที่แขวงบ่อแก้ว สปป.ลาว
Meung แผนที่แขวงบ่อแก้ว สปป.ลาว 18-Sep-18

67

68

69

70

71

72 Container Index(CI) Survey House index (HI) survey
Entomological Study Container Index(CI) Survey House index (HI) survey 18-Sep-18

73 สรุปแนวทางการควบคุม รักษา และป้องกันโรค
Prevent exposure คน – ป้องกันยุงกัด เช่น มายากันยุง นอนในมุ้ง ใส่เสื้อผามิดชิด สุขศึกษา สิ่งแวดล้อม – ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุง แมลงนำโรค – ฆ่าตัวเต็มวัยที่มีเชื้อ If exposed, Prevent disease developed วัคซีน – กำลังพัฒนา Chemoprophylaxis- ไม่มีบทบาทในไข้เลือดออก If disease developed, Prevent complication รักษาอย่างถูกต้อง รักษาอย่างทันท่วงที ลดอัตราตาย ลดความพิการ

74 ปัจจัยของการระบาดของไข้เลือดออกในประเทศกำลังพัฒนา
แมลงนำโรค โดยเฉพาะยุงลายบ้านที่อาศัยอยู่กับมนุษย์ มีมากมาย จำนวนประชากรที่เพิ่มขึ้นมากอย่างรวดเร็ว มีการเคลื่อนที่หรืออพยพของคนจากชนบทสู่เมืองใหญ่ ระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานไม่เพียงพอ เช่นน้ำทำให้คนต้องสำรองน้ำใช้ มีจำนวนขยะที่เป็นภาชนะสำหรับการวางไข่ของยุง มีการเดินทางที่สะดวกมากขึ้น โดยเฉพาะทางอากาศ การควบคุมยุงพาหะที่หย่อนความเข้มข้นลง

75 สรุป โรคไข้เลือดออกในประเทศไทย ยังเป็นภัยสุขภาพของคนไทยทุกปี
โรคไข้เลือดออก เป็นได้ทุกกลุ่มอายุ จำนวนผู้ติดเชื้อยังมีอีกมาก เป็นโรคที่ป้องกันได้ ด้วยตัวเอง และชุมชนเข้มแข็ง คอยติดตามสถานการณ์ของโรคไข้เลือดออกในชุมชนอย่างเข้มข้น อย่าบิดเบือนข้อมูลเพื่อผลประโยชน์อย่างอื่น

76 ขอบคุณครับ


ดาวน์โหลด ppt การสอบสวนโรคไข้เลือดออก

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google