งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานพัฒนาระบบบริการ สุขภาพสาขา ตา. สถานการณ์และแนวโน้มของ ปัญหาสุขภาพในพื้นที่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "งานพัฒนาระบบบริการ สุขภาพสาขา ตา. สถานการณ์และแนวโน้มของ ปัญหาสุขภาพในพื้นที่"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 งานพัฒนาระบบบริการ สุขภาพสาขา ตา

2 สถานการณ์และแนวโน้มของ ปัญหาสุขภาพในพื้นที่

3 สถานการณ์โรค / ปัญหาสุขภาพ พื้นที่ - คัดกรองต้อกระจก คิดเป็น 67.12% - ผ่าตัดต้อกระจก กลุ่ม Blind cataract คิดเป็น 80.29% กลุ่ม Low vision cataract คิดเป็น 90.17% - คัดกรอง DR คิดเป็น 56.13%

4 ตารางตัวชี้วัด 3 ปี ย้อนหลัง ลำดั บ รายละเอียด ตัวชี้วัด เป้าหม าย ผลการดำเนินงาน 255525562557 1 ปชช. อายุ 60 ปี ขึ้นไปได้รับการ คัดกรองต้อ กระจก ร้อยละ 75 -40,037 (41.30) 45,269 (67.12) 2 ผู้ป่วย Blind cataract ได้รับ การผ่าตัดภายใน 30 วัน ร้อยละ 80 --227 (80.29) 3 ผู้ป่วย Low vision cataract ได้รับการผ่าตัด ภายใน 90 วัน ร้อยละ 80 6444280 (39.82) 6,297 (90.17) 4 ผู้ป่วยเบาหวาน ได้รับการตรวจ จอประสาทตา ร้อยละ 60 49.6514142 (37.32) 16279 (56.13) 5 ผู้ป่วย High risk DR ได้รับการ รักษาภายใน 30 วัน ร้อยละ 100 ผู้ที่ยิง เลเซอร์ 15 คน ผู้ที่ยิง เลเซอร์ 8 คน เครื่อง ชำรุด Refer 6 คน

5 อธิบายตัวชี้วัดที่ไม่ผ่านเกณฑ์ / ข้อเสนอแนะในการ พัฒนาตัวชี้วัด - ในปี พ. ศ. 2556-2558 มีการผ่าตัดทั้งเชิงรับและเชิงรุก มีการผ่าตัด โดย Out source คือ หน่วยแพทย์เคลื่อนที่ พอสว. โรงพยาบาลบ้านแพ้ว ( องค์กร มหาชน ) และ โรงพยาบาลศุภมิตร ( เมืองพล ) ปัญหาแนวทางการพัฒนาในปี 2558 1. ระบบการบริหารจัดการ ข้อมูล 1. โครงการพัฒนาบุคลากรด้าน IT 2. บูรณาการด้านการทำงานและข้อมูล กับงาน NCD 2.Fundus camera 1. วางแผนจัดหา Fundus camera ให้มี ครอบคลุมทุก รพ. ระดับ M 2. มีระบบการทดแทนเมื่อเครื่องชำรุด 3. ไม่มี Pattern Laser1. ใช้การยิง Laser โดยยืมอุปกรณ์จาก Mobile eye unit ที่ รพศ. ขอนแก่น 4. ศักยภาพและจำนวนบุคลากร ไม่เพียงพอ 1. โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากร ด้านสาธารณสุขในการดูแลผู้ป่วยต้อ กระจกและ DR 2. เพิ่มจำนวนพยาบาลเวชปฏิบัติทางตา 3. เพิ่มจำนวนจักษุแพทย์ 4. จัดหาแพทย์ Retina

6 ประเด็นสำคัญในการจัดบริการ 1. แยกทะเบียนผู้ป่วย Blinding cataract และ Low vision cataract 2. เพิ่มอุปกรณ์ผ่าตัดและเครื่องสลายต้อ กระจก 3. สร้างระบบการจัดเก็บข้อมูลที่เชื่อมโยงได้ ทั้งเขตและเชื่อมโยงได้ทุกระดับหน่วย บริการ

7 กระบวนการดำเนินงานที่พึง ประสงค์ 1. ระบบการใช้ Fundus camera ร่วมกันทั้ง จังหวัด โดยมีการกำหนดตารางการใช้ใน แต่ละพื้นที่ชัดเจน 2. ด้านบุคลกร มีการพัฒนาบุคลากร เครือข่ายทั้งแบบทางการและไม่ทางการ โดยมีโรงพยาบาลกาฬสินธุ์เป็นพี่เลี้ยง 3. ด้านระบบงาน : มีการประสานในการส่ง / รับ Refer ผู้ป่วยในทุกระดับบริการ

8 เป้าหมายในระยะสั้นและระยะยาว 1. เพิ่มการเข้าถึงบริการผ่าตัดต้อกระจก / ลด ระยะเวลารอคอยผ่าตัดต้อกระจก blinding cataract ใน ๓๐ วัน low vision ใน ๙๐ วัน ( นอก เวลาราชการ ) 2. เพิ่มการเข้าถึงบริการ / ลดอัตราป่วยภาวะเบาหวาน เข้าจอตา 3. บุคลากรด้านทีมแพทย์เฉพาะทางมีศักยภาพ ใน การดูแลผู้ป่วยต้อกระจกและผู้ป่วย DR / อบรม พยาบาลเวชปฏิบัติทางตาเพิ่มเติม

9 ผลลัพธ์ของการดำเนินงาน และแนวทางในการแก้ไขปรับปรุง - เน้นการบริการเชิงรุก ในปี 2558

10 ปัญหาการดำเนินงานและ ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย 1. ด้านสารสนเทศ : ระบบการบริหารจัดการข้อมูล การ บันทึกและเก็บรวบรวมข้อมูล ที่ยังไม่เป็นระบบ เดียวกัน และยังไม่บูรณาการกับงานการดูแลผู้ป่วย โรคเรื้อรัง ( สาขา NCD) 2. ด้านอุปกรณ์เครื่องมือ : เครื่องมือในการคัดกรอง DR ไม่เพียงพอ (Fundus camera) โดยเฉพาะเมื่อชำรุด และ ไม่มี Pattern Laser 3. ด้านบุคลากร : ศักยภาพและจำนวนบุคลากรไม่ เพียงพอ ควรเพิ่มจำนวนจักษุแพทย์ และยัง ไม่มี แพทย์ Retina ในส่วนพยาบาลเวชปฏิบัติทางตายังมี ไม่ครบทุกอำเภอ 4. ด้านระบบงาน : ข้อมูลการผ่าตัดต้อกระจกไม่สามารถ ระบุ Blinding cataract และ Low vision Cataract ได้ ( ยกเว้นของ รพ. กาฬสินธุ์ ) ดังนั้นต้องมีการแยก ทะเบียนผู้ป่วย Blinding cataract และ Low vision Cataract อย่างชัดเจนครอบคลุมทั้งจังหวัด

11 Best Practice และผลการดำเนินงานใน สาขาที่สำคัญ 1. การดำเนินงานด้าน โครงการ O&M ที่สามารถ ดำเนินการได้ตามเป้าหมาย ( ตั้งแต่ปี ๒๕๕๔ - ปัจจุบัน ) โดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ทำให้ผู้รับบริการ ได้รับประโยชน์สูงสุด ตั้งแต่การเข้าถึงบริการจนถึง การดูแลตนเองในชีวิตประจำวัน ลดภาระของ ครอบครัวและสังคม นอกจากนี้จากการได้รับการฝึก อาชีพทำให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น 2. ลดระยะเวลารอคอยการผ่าตัดต้อกระจก โดยเพิ่ม การผ่าตัดในระบบและใช้ Out Source ซึ่งในปี ๒๕๕๗ มีการแยกทะเบียนผู้ป่วย Blinding cataract และ Low vision Cataract อย่างชัดเจน ใน รพ. กาฬสินธุ์ ทำให้ ขณะนี้ผู้ป่วย Blinding cataract และ Low vision Cataract ได้รับการผ่าตัด ภายในระยะเวลา ๓๐ – ๖๐ วัน ตามเกณฑ์กำหนด 3. ใช้ระบบพี่เลี้ยงและการสื่อสารทาง Social media ใน การพัฒนาบุคลากรเครือข่าย ทำให้ลดงบประมาณเกิด การประสานงานที่รวดเร็ว ผู้รับบริการได้รับการดูแลที่ เหมาะสม ( นำร่องในเขตอำเภอเมืองกาฬสินธุ์ )

12 ด้วยความขอบคุณยิ่ง คณะกรรมการ งานพัฒนาระบบบริการสุขภาพสาขา ตา


ดาวน์โหลด ppt งานพัฒนาระบบบริการ สุขภาพสาขา ตา. สถานการณ์และแนวโน้มของ ปัญหาสุขภาพในพื้นที่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google