งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ภาพรวมและความเชื่อมโยงการดำเนินการ ตามตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จของการพัฒนา คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 ส่วนราชการระดับกรม.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ภาพรวมและความเชื่อมโยงการดำเนินการ ตามตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จของการพัฒนา คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 ส่วนราชการระดับกรม."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ภาพรวมและความเชื่อมโยงการดำเนินการ ตามตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จของการพัฒนา คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 ส่วนราชการระดับกรม

2 แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ. 2551- พ.ศ. 2555) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 : มุ่งสู่การเป็นองค์การที่มีขีดสมรรถนะสูง บุคลากรมีความพร้อมและความสามารถในการเรียนรู้ คิดริเริ่ม เปลี่ยนแปลง และปรับตัวได้อย่างเหมาะสมต่อสถานการณ์ต่างๆ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 : มุ่งสู่การเป็นองค์การที่มีขีดสมรรถนะสูง บุคลากรมีความพร้อมและความสามารถในการเรียนรู้ คิดริเริ่ม เปลี่ยนแปลง และปรับตัวได้อย่างเหมาะสมต่อสถานการณ์ต่างๆ เป้าประสงค์ : ส่วนราชการและหน่วยงานของรัฐ สามารถพัฒนาขีดสมรรถนะและมีความพร้อมในการดำเนินงาน สามารถพัฒนาขีดสมรรถนะและมีความพร้อมในการดำเนินงาน ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จของส่วนราชการและหน่วยงานของรัฐ ในการปรับปรุงและยกระดับคุณภาพการบริหารงาน ตามแผนพัฒนาองค์การ (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 โดยเฉลี่ย) ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จของส่วนราชการและหน่วยงานของรัฐ ในการปรับปรุงและยกระดับคุณภาพการบริหารงาน ตามแผนพัฒนาองค์การ (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 โดยเฉลี่ย)

3 การกำหนดตัวชี้วัด PMQA ปี 2552 มุ่งเน้นให้ส่วนราชการปรับปรุงองค์การ โดยการวัดความสำเร็จของ การดำเนินการและผลลัพธ์ของ แผนพัฒนาองค์การ (Improvement Plan)มุ่งเน้นให้ส่วนราชการปรับปรุงองค์การ โดยการวัดความสำเร็จของ การดำเนินการและผลลัพธ์ของ แผนพัฒนาองค์การ (Improvement Plan) ส่งเสริมให้ส่วนราชการมีความเข้าใจ และนำเครื่องมือการบริหาร จัดการที่เหมาะสม มาใช้เพื่อปรับปรุงและพัฒนาองค์การอย่าง ต่อเนื่องส่งเสริมให้ส่วนราชการมีความเข้าใจ และนำเครื่องมือการบริหาร จัดการที่เหมาะสม มาใช้เพื่อปรับปรุงและพัฒนาองค์การอย่าง ต่อเนื่อง มุ่งเน้นให้ส่วนราชการสามารถดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการได้ อย่างเป็นระบบมุ่งเน้นให้ส่วนราชการสามารถดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการได้ อย่างเป็นระบบ พัฒนาเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Fundamental Level) เพื่อเป็นกรอบการประเมินความสำเร็จของ แผนพัฒนาองค์การ ซึ่งถือว่าเป็นกรอบแนวทางในการประเมิน องค์กรเบื้องต้นและเป็นแนวทาง “การเปลี่ยนแปลงทีละขั้น”พัฒนาเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Fundamental Level) เพื่อเป็นกรอบการประเมินความสำเร็จของ แผนพัฒนาองค์การ ซึ่งถือว่าเป็นกรอบแนวทางในการประเมิน องค์กรเบื้องต้นและเป็นแนวทาง “การเปลี่ยนแปลงทีละขั้น” มุ่งเน้นให้ส่วนราชการปรับปรุงองค์การ โดยการวัดความสำเร็จของ การดำเนินการและผลลัพธ์ของ แผนพัฒนาองค์การ (Improvement Plan)มุ่งเน้นให้ส่วนราชการปรับปรุงองค์การ โดยการวัดความสำเร็จของ การดำเนินการและผลลัพธ์ของ แผนพัฒนาองค์การ (Improvement Plan) ส่งเสริมให้ส่วนราชการมีความเข้าใจ และนำเครื่องมือการบริหาร จัดการที่เหมาะสม มาใช้เพื่อปรับปรุงและพัฒนาองค์การอย่าง ต่อเนื่องส่งเสริมให้ส่วนราชการมีความเข้าใจ และนำเครื่องมือการบริหาร จัดการที่เหมาะสม มาใช้เพื่อปรับปรุงและพัฒนาองค์การอย่าง ต่อเนื่อง มุ่งเน้นให้ส่วนราชการสามารถดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการได้ อย่างเป็นระบบมุ่งเน้นให้ส่วนราชการสามารถดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการได้ อย่างเป็นระบบ พัฒนาเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Fundamental Level) เพื่อเป็นกรอบการประเมินความสำเร็จของ แผนพัฒนาองค์การ ซึ่งถือว่าเป็นกรอบแนวทางในการประเมิน องค์กรเบื้องต้นและเป็นแนวทาง “การเปลี่ยนแปลงทีละขั้น”พัฒนาเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Fundamental Level) เพื่อเป็นกรอบการประเมินความสำเร็จของ แผนพัฒนาองค์การ ซึ่งถือว่าเป็นกรอบแนวทางในการประเมิน องค์กรเบื้องต้นและเป็นแนวทาง “การเปลี่ยนแปลงทีละขั้น”

4 ความเชื่อมโยงการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประเมินองค์กรตามแนวทาง การบริหารจัดการแบบ ADLI เพื่อ ตรวจสอบการดำเนินการในแต่ละ ข้อคำถามตามเกณฑ์ PMQA ประเมินผลการดำเนินงานจาก มาตรฐานที่กำหนดไว้ (Check List) ประเมินองค์กรตามแนวทาง การบริหารจัดการแบบ ADLI เพื่อ ตรวจสอบการดำเนินการในแต่ละ ข้อคำถามตามเกณฑ์ PMQA ประเมินผลการดำเนินงานจาก มาตรฐานที่กำหนดไว้ (Check List) รายงานผลการประเมินองค์กรด้วย ตนเองตามมาตรฐาน (Check List) การแสดงผลกราฟระดับคะแนน การประเมินองค์กร ฯ รายหัวข้อ รายงานจุดแข็ง/ OFIs พร้อม การจัดลำดับความสำคัญ แผนปรับปรุงองค์กร 2 แผน หลักฐานสำคัญ 40 หลักฐาน (รอตรวจที่ส่วนราชการ) รายงานผลการประเมินองค์กรด้วย ตนเองตามมาตรฐาน (Check List) การแสดงผลกราฟระดับคะแนน การประเมินองค์กร ฯ รายหัวข้อ รายงานจุดแข็ง/ OFIs พร้อม การจัดลำดับความสำคัญ แผนปรับปรุงองค์กร 2 แผน หลักฐานสำคัญ 40 หลักฐาน (รอตรวจที่ส่วนราชการ) ประเมินระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพ ของส่วนราชการ ตามเกณฑ์ PMQA ระดับพื้นฐาน รายหมวด (หมวดภาคบังคับ,หมวดสมัครใจ และหมวด 7) จัดทำแผนพัฒนาองค์การรายหมวด ปรับปรุงองค์การตามแผนที่กำหนด ประเมินองค์การตามเกณฑ์ฯระดับพื้นฐาน เพื่อจัดทำแผนพัฒนาองค์การปี 53 ประเมินระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพ ของส่วนราชการ ตามเกณฑ์ PMQA ระดับพื้นฐาน รายหมวด (หมวดภาคบังคับ,หมวดสมัครใจ และหมวด 7) จัดทำแผนพัฒนาองค์การรายหมวด ปรับปรุงองค์การตามแผนที่กำหนด ประเมินองค์การตามเกณฑ์ฯระดับพื้นฐาน เพื่อจัดทำแผนพัฒนาองค์การปี 53 แผนพัฒนาองค์การปี 52 (30 ม.ค.52) รายงานแสดงตัวชี้วัดผลลัพธ์ แผนพัฒนา องค์การปี 52 (30 ม.ค.52) รายงานผลการดำเนินการ เทียบกับเกณฑ์ PMQA ระดับพื้นฐาน รายงานผลลัพธ์การดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การ รายงานผลการจัดทำลักษณะสำคัญขององค์กร รายงานผลการประเมินองค์กรด้วยตนเอง ตามเกณฑ์ PMQA ระดับพื้นฐาน แผนพัฒนาองค์การปี 53 (หมวดภาคบังคับ,หมวดสมัครใจ) แผนพัฒนาองค์การปี 52 (30 ม.ค.52) รายงานแสดงตัวชี้วัดผลลัพธ์ แผนพัฒนา องค์การปี 52 (30 ม.ค.52) รายงานผลการดำเนินการ เทียบกับเกณฑ์ PMQA ระดับพื้นฐาน รายงานผลลัพธ์การดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การ รายงานผลการจัดทำลักษณะสำคัญขององค์กร รายงานผลการประเมินองค์กรด้วยตนเอง ตามเกณฑ์ PMQA ระดับพื้นฐาน แผนพัฒนาองค์การปี 53 (หมวดภาคบังคับ,หมวดสมัครใจ) ปี 2551 ปี 2552

5 Roadmap การพัฒนาองค์การ 2552 2554 กรมด้านบริการ กรมด้านนโยบาย 1 เน้นความสำคัญกับผู้รับบริการ โดยออกแบบกระบวนงานและพัฒนาบุคลากรให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เน้นความสำคัญของยุทธศาสตร์และการนำไปปฏิบัติ โดยมีระบบการวัดผลการดำเนินการที่เป็นระบบ 2553 3 5 6 2 4 1 2 4 6 3 5 ตัวอย่าง

6 ตัวชี้วัดที่ 14 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ น้ำหนัก ร้อยละ 20) ตัวชี้วัดที่ 14 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ( น้ำหนัก ร้อยละ 20) ตัวชี้วัดน้ำหนัก (ร้อยละ) ตัวชี้วัดน้ำหนัก (ร้อยละ) 14.1ระดับความสำเร็จของการ ดำเนินการตามแผนการพัฒนา องค์การ แผนที่14.3ระดับความสำเร็จเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของ การจัดทำแผนพัฒนาองค์การ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 12 14.1.1 ร้อยละของการผ่านเกณฑ์คุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ ระดับพื้นฐาน 44 1 ความครบถ้วนของการจัดทำรายงานลักษณะ สำคัญขององค์กร (15 คำถาม) 1 14.1.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ย ถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมาย ความสำเร็จของผลลัพธ์ในการ ดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การ 22 2 ความครบถ้วนของการจัดทำรายงานการ ประเมินองค์กรด้วยตนเองหมวด 1-7 ตาม เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ระดับพื้นฐาน 1 66 3 ความครบถ้วนของแผนพัฒนาองค์การ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 (2 แผน) 2 124 14.2ระดับความสำเร็จของร้อยละ เฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุ เป้าหมายความสำเร็จของ ผลลัพธ์ในการดำเนินการของ ส่วนราชการ ตามเกณฑ์ คุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐระดับพื้นฐาน (หมวด 7) 4

7 แบบฟอร์มรายงาน แบบฟอร์มรายงานมีจำนวน 8 แบบฟอร์ม แบบฟอร์มที่ 1: แบบฟอร์มแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 แบบฟอร์มที่ 2: แบบฟอร์มแสดงตัวชี้วัดความสำเร็จของการดำเนินการ ตามแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 แบบฟอร์มที่ 3: แบบฟอร์มรายงานผลการดำเนินการเมื่อเทียบกับเกณฑ์คุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน การบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน แบบฟอร์มที่ 4: แบบฟอร์มรายงานผลลัพธ์การดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การ แบบฟอร์มที่ 5: แบบฟอร์มรายงานผลการจัดทำลักษณะสำคัญขององค์กร แบบฟอร์มที่ 6: แบบฟอร์มรายงานผลการประเมินองค์กรด้วยตนเองตามเกณฑ์ คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน แบบฟอร์มที่ 7: แบบฟอร์มแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 แบบฟอร์มที่ 8: แบบฟอร์มรายงานผลระดับคะแนนระดับความสำเร็จของการ พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ แบบฟอร์มรายงานมีจำนวน 8 แบบฟอร์ม แบบฟอร์มที่ 1: แบบฟอร์มแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 แบบฟอร์มที่ 2: แบบฟอร์มแสดงตัวชี้วัดความสำเร็จของการดำเนินการ ตามแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 แบบฟอร์มที่ 3: แบบฟอร์มรายงานผลการดำเนินการเมื่อเทียบกับเกณฑ์คุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน การบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน แบบฟอร์มที่ 4: แบบฟอร์มรายงานผลลัพธ์การดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การ แบบฟอร์มที่ 5: แบบฟอร์มรายงานผลการจัดทำลักษณะสำคัญขององค์กร แบบฟอร์มที่ 6: แบบฟอร์มรายงานผลการประเมินองค์กรด้วยตนเองตามเกณฑ์ คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน แบบฟอร์มที่ 7: แบบฟอร์มแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 แบบฟอร์มที่ 8: แบบฟอร์มรายงานผลระดับคะแนนระดับความสำเร็จของการ พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ

8 การส่งรายงาน กำหนดส่งรายงาน 2 ช่วงเวลากำหนดส่งรายงาน 2 ช่วงเวลา ช่วงที่ 1 : วันที่ 30 มกราคม 2552ช่วงที่ 1 : วันที่ 30 มกราคม 2552 - แบบฟอร์มที่ 1 - แบบฟอร์มที่ 2 ช่วงที่ 2 : วันที่ 30 ตุลาคม 2552ช่วงที่ 2 : วันที่ 30 ตุลาคม 2552 - แบบฟอร์มที่ 3- แบบฟอร์มที่ 8 กำหนดส่งรายงาน 2 ช่วงเวลากำหนดส่งรายงาน 2 ช่วงเวลา ช่วงที่ 1 : วันที่ 30 มกราคม 2552ช่วงที่ 1 : วันที่ 30 มกราคม 2552 - แบบฟอร์มที่ 1 - แบบฟอร์มที่ 2 ช่วงที่ 2 : วันที่ 30 ตุลาคม 2552ช่วงที่ 2 : วันที่ 30 ตุลาคม 2552 - แบบฟอร์มที่ 3- แบบฟอร์มที่ 8 การดำเนินการตามแบบฟอร์มที่ 1 และ 2 จะต้องได้รับความเห็นชอบจากหัวหน้าส่วนราชการ และส่งให้สำนักงาน ก.พ.ร. ภายในวันที่ 30 มกราคม 2552 ทั้งนี้ หากส่วนราชการไม่สามารถส่งได้ทันภายในระยะเวลาที่กำหนด จะหักคะแนนจากคะแนนรวมของตัวชี้วัดนี้ 0.5000 คะแนน การดำเนินการตามแบบฟอร์มที่ 1 และ 2 จะต้องได้รับความเห็นชอบจากหัวหน้าส่วนราชการ และส่งให้สำนักงาน ก.พ.ร. ภายในวันที่ 30 มกราคม 2552 ทั้งนี้ หากส่วนราชการไม่สามารถส่งได้ทันภายในระยะเวลาที่กำหนด จะหักคะแนนจากคะแนนรวมของตัวชี้วัดนี้ 0.5000 คะแนน

9 การสนับสนุนจากสำนักงาน ก.พ.ร. ที่ปรึกษาในการพัฒนาองค์การให้คำปรึกษาเชิงลึก รายส่วนราชการ จำนวน 3 ครั้งที่ปรึกษาในการพัฒนาองค์การให้คำปรึกษาเชิงลึก รายส่วนราชการ จำนวน 3 ครั้ง ครั้งที่ 1 : การจัดทำแผนพัฒนาองค์การปี 2552ครั้งที่ 1 : การจัดทำแผนพัฒนาองค์การปี 2552 (ประมาณเดือนธันวาคม 2551) ครั้งที่ 2 : เทคนิคการปรับปรุงองค์กรครั้งที่ 2 : เทคนิคการปรับปรุงองค์กร (ประมาณเดือนกุมภาพันธ์- มีนาคม 2552) ครั้งที่ 3 : ติดตามผลการปรับปรุง และแนะนำการจัดทำครั้งที่ 3 : ติดตามผลการปรับปรุง และแนะนำการจัดทำ แผนพัฒนาองค์การปี 2553 แผนพัฒนาองค์การปี 2553 (ประมาณเดือนกรกฎาคม – สิงหาคม 2552) ที่ปรึกษาในการพัฒนาองค์การให้คำปรึกษาเชิงลึก รายส่วนราชการ จำนวน 3 ครั้งที่ปรึกษาในการพัฒนาองค์การให้คำปรึกษาเชิงลึก รายส่วนราชการ จำนวน 3 ครั้ง ครั้งที่ 1 : การจัดทำแผนพัฒนาองค์การปี 2552ครั้งที่ 1 : การจัดทำแผนพัฒนาองค์การปี 2552 (ประมาณเดือนธันวาคม 2551) ครั้งที่ 2 : เทคนิคการปรับปรุงองค์กรครั้งที่ 2 : เทคนิคการปรับปรุงองค์กร (ประมาณเดือนกุมภาพันธ์- มีนาคม 2552) ครั้งที่ 3 : ติดตามผลการปรับปรุง และแนะนำการจัดทำครั้งที่ 3 : ติดตามผลการปรับปรุง และแนะนำการจัดทำ แผนพัฒนาองค์การปี 2553 แผนพัฒนาองค์การปี 2553 (ประมาณเดือนกรกฎาคม – สิงหาคม 2552)

10 รายละเอียดและข้อมูลเพิ่มเติม Download ข้อมูลได้ที่ Website http//: www.opdc.go.th Download ข้อมูลได้ที่ Website http//: www.opdc.go.th 0 – 2356 9999 ต่อ 8848 8841 8806 8916 0 – 2356 9999 ต่อ 8848 8841 8806 8916


ดาวน์โหลด ppt ภาพรวมและความเชื่อมโยงการดำเนินการ ตามตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จของการพัฒนา คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 ส่วนราชการระดับกรม.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google