งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

นายธีรเดช บุญวาศ. ที่ดิน ตาม ประมวล กม.ที่ดิน พศ.2497 มาตร 1 หมายถึง ที่ดินทั่วไป ภูเขา ห้วย หนอง คลอง บึง บาง ลำน้ำ ทะเลสาบ เกาะ ชายทะเล หมายถึง ที่ดินทั่วไป.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "นายธีรเดช บุญวาศ. ที่ดิน ตาม ประมวล กม.ที่ดิน พศ.2497 มาตร 1 หมายถึง ที่ดินทั่วไป ภูเขา ห้วย หนอง คลอง บึง บาง ลำน้ำ ทะเลสาบ เกาะ ชายทะเล หมายถึง ที่ดินทั่วไป."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 นายธีรเดช บุญวาศ

2 ที่ดิน ตาม ประมวล กม.ที่ดิน พศ.2497 มาตร 1 หมายถึง ที่ดินทั่วไป ภูเขา ห้วย หนอง คลอง บึง บาง ลำน้ำ ทะเลสาบ เกาะ ชายทะเล หมายถึง ที่ดินทั่วไป ภูเขา ห้วย หนอง คลอง บึง บาง ลำน้ำ ทะเลสาบ เกาะ ชายทะเล สิทธิในที่ดิน หมายถึง กรรมสิทธิ์ และสิทธิ์การครอบครอง ผู้มีสิทธิ์ในที่ดิน หมายถึง ผู้ที่มีเอกสารสำคัญ สำหรับที่ดิน เช่น โฉนดที่ดิน หน. รับรอง การทำประโยชน์ สิทธิในที่ดิน หมายถึง กรรมสิทธิ์ และสิทธิ์การครอบครอง ผู้มีสิทธิ์ในที่ดิน หมายถึง ผู้ที่มีเอกสารสำคัญ สำหรับที่ดิน เช่น โฉนดที่ดิน หน. รับรอง การทำประโยชน์

3 หน.สำคัญแสดง กรรมสิทธิ์ที่ดิน โฉนดที่ดิน โฉนดแผนที่ โฉนดตราจอง ตราจองที่ตราว่าได้ ทำประโยชน์แล้ว โฉนดที่ดิน โฉนดแผนที่ โฉนดตราจอง ตราจองที่ตราว่าได้ ทำประโยชน์แล้ว หน.รับรองการทำ ประโยชน์ หมายถึง หน.รับรองจาก พนง จนท ว่าได้ทำประโยชน์ในที่ดิน แล้ว หมายถึง หน.รับรองจาก พนง จนท ว่าได้ทำประโยชน์ในที่ดิน แล้ว นส 3 นส 3 ข ใบจอง ใบไต่สวน นส 3 ก

4 การแบ่งที่ดินหลวง ที่ดินของชาติ ที่ดินของศาสนา ที่ดินของ พระมหากษัตริย์ ที่ดินของรัฐ(ที่ ราชพัสดุ) ที่ดินของชาติ ที่ดินของศาสนา ที่ดินของ พระมหากษัตริย์ ที่ดินของรัฐ(ที่ ราชพัสดุ) ที่ดินของชาติ กรมที่ดินดูแล ทีดินที่ไม่มีหน่วยงานใด ดูแล อณาเขตของ ปท. ที่ดินของชาติ กรมที่ดินดูแล ทีดินที่ไม่มีหน่วยงานใด ดูแล อณาเขตของ ปท.

5 ระบบที่ดิน ที่ดินของรัฐ ไม่มีใครเป็นเจ้าของ ไม่อาจให้เป็นกรรมสิทธิแก่ผู้ใดได้ ใช้ประโยชน์ร่วมกัน มีเจ้าของแล้ว ที่ดินของรัฐ ไม่มีใครเป็นเจ้าของ ไม่อาจให้เป็นกรรมสิทธิแก่ผู้ใดได้ ใช้ประโยชน์ร่วมกัน มีเจ้าของแล้ว ที่ดินของเอกชน เอกชนเป็นเจ้าของ ที่ดินของเอกชน เอกชนเป็นเจ้าของ

6 ทรัพย์สินของแผ่นดิน ทรัพย์สินของแผ่นดิน ธรรมดา อาจโอนให่แก่กันได้ ห้ามยึดทรัพย์สิน เพื่อบังคับคดี ทรัพย์สินอันเป็น สาธารณสมบัติของ แผ่นดิน เป็นทรัพย์ชนิดใดก็ ได้(สังหา/ อสังหาริมทรัพย์) ใช้เพื่อประโยชน์ สาธารณะ หรือสงวน ไว้เพื่อประโยชน์ ร่วมกัน

7 สาธารณสมบัติของแผ่นดิน ที่ดินรกร้างว่างเปล่า ที่ดินของรัฐที่ ราชการยังไม่ เคยออกเอกสาร สิทธ์ให้ใคร ที่ไม่เคยมีใคร ครอบครองมา ก่อน ที่ดินของรัฐที่ ราชการยังไม่ เคยออกเอกสาร สิทธ์ให้ใคร ที่ไม่เคยมีใคร ครอบครองมา ก่อน ที่ดินรกร้างว่างเปล่าสามารถ นำมาใช้ประโยชน์ได้ จัดให้ ปชช.ได้ (กม.ที่ดิน ปพพ.ม 1334) อธิบดีนำไปซื้อ/ขาย/ แลกเปลี่ยน/ให้เช่า (ป.ที่ดิน ม 10,11) รมต.มหาดไทยนำมาจัดขึ้น ทะเบียนให้ทบวงการเมืองใช้ ประโยขน์ได้(ป.ที่ดิน ม 8) รมต.มหาดไทย ให้สัมปทาน เอกชนได้(ป.ที่ดิน ม 12) ที่ดินรกร้างว่างเปล่าสามารถ นำมาใช้ประโยชน์ได้ จัดให้ ปชช.ได้ (กม.ที่ดิน ปพพ.ม 1334) อธิบดีนำไปซื้อ/ขาย/ แลกเปลี่ยน/ให้เช่า (ป.ที่ดิน ม 10,11) รมต.มหาดไทยนำมาจัดขึ้น ทะเบียนให้ทบวงการเมืองใช้ ประโยขน์ได้(ป.ที่ดิน ม 8) รมต.มหาดไทย ให้สัมปทาน เอกชนได้(ป.ที่ดิน ม 12)

8 สาธารณสมบัติของแผ่นดิน พลเมืองใช้ร่วมกัน ที่ชายตลิ่ง /ชายทะเล /แม่น้ำ /ลำคลอง / ทะเลสาบ /ทุ่งเลี้ยงสัตว์สาธารณะ /ป่าช้า สาธารณะทางหลวง / ไม่จำเป็นต้องมีทะเบียนว่าอยู่ที่ใด เนื่อที่ เท่าใด มีการออก หส สำคัญ สำหรับที่หลวง เช่น ออกให้ที่ทุ่งเลี้ยงสัตว์สาธารณะ

9 สังหาริมทรัพย์ เช่น เรือรบ/อาวุธ ยุทธภัณฑ์ อสังหาริมทรัพย์ เช่น ป้อม /โรงทหาร / สำนักราชการ การเมือง/ที่ดินเป็น ที่ตั้งส่วนราชการ(ที่ ราชพัสดุ) สาธารณสมบัติของแผ่นดิน ใช้เพื่อประโยชน์ของแผ่นดิน โดยเฉพาะ

10 ที่ดินของรัฐทุกแห่ง เว้นแต่ จะได้ขอ อนุญาต (ป ที่ดิน ม 9 ) และส่วนราชการใด จะสงวนหวงห้าม ต้องประสาน คกก. จัดที่ดินแห่งชาติ เพื่อขอสงวน ที่ดินของรัฐทุกแห่ง เว้นแต่ จะได้ขอ อนุญาต (ป ที่ดิน ม 9 ) และส่วนราชการใด จะสงวนหวงห้าม ต้องประสาน คกก. จัดที่ดินแห่งชาติ เพื่อขอสงวน สาธารณสมบัติของแผ่นดิน ที่สงวนหรือหวงห้าม สงวนและพัฒนาเพื่อจัดให้ ปชช. สงวนที่ดินที่ไม่มีใครครอบครอง เพื่อจัดให้ ปชช.ใช้ประโยชน์ ร่วมกัน รมต.มหาดไทยมีกม.ให้อำนาจ - นำที่ดินรกร้าง ว่างเปล่า ขึ้น ทะเบียนเป็นของราชการได้ - ที่ประกาศในปัจจุบันมี ที่ภูเขา /เขา400ม.ทุกแห่ง / แม่น้ำลำ คลองทุกแห่ง - การหวงห้ามตาม กม. พิเศษ มี ที่สองข้างทางของ ทางหลวง

11 ที่ดินที่ขอใช้ในการก่อสร้าง ที่ราชพัสดุ ที่ป่าสงวนแห่งชาติ ที่ในเขตนิคมสร้าง ตนเอง ที่ในเขตปฎิรูปที่ดิน ที่สาธารณสมบัติของ แผ่นดิน ที่นิคมสหกรณ์ ที่ดินศาสนา ที่ดินรัฐ ที่ดินส่วน พระมหากษัตริย์ ที่ดินส่วน พระมหากษัตริย์ ที่ดิน บริจาค ที่ดิน บริจาค ที่ธรณีสงฆ์

12 1. สำรวจที่ดินที่จะก่อสร้าง / สร้างแล้วเสร็จ จะเป็นที่ดินประเภทใด 2. การขอใช้ที่ดิน / รับโอน จะดำเนินการอย่างไร มี กม. / เอกสารอะไร 3. ขึ้นทะเบียนที่ราชพัสดุ ดำเนินการอย่างไร เมื่ออาคารชำรุด ไม่จำเป็นต้องใช้อาคาร การรื้อถอน ทำอย่างไร 1. สำรวจที่ดินที่จะก่อสร้าง / สร้างแล้วเสร็จ จะเป็นที่ดินประเภทใด 2. การขอใช้ที่ดิน / รับโอน จะดำเนินการอย่างไร มี กม. / เอกสารอะไร 3. ขึ้นทะเบียนที่ราชพัสดุ ดำเนินการอย่างไร เมื่ออาคารชำรุด ไม่จำเป็นต้องใช้อาคาร การรื้อถอน ทำอย่างไร

13 การพิจารณาเลือกที่ดิน อยู่ในแหล่งชุมชน การคมนาคมสะดวก ติดถนนใหญ่ ไม่เลือกในที่ลุ่ม ที่ชันมาก ที่เป็นทางน้ำไหลผ่าน ไม่เลือกที่อยู่ชิดเชิงสะพานใหญ่ข้ามแม่น้ำลำคลอง ไม่เลือกที่อยู่ใกล้สิ่งที่จะก่อให้เกิดความรำคาญ ควรเลือกที่ดินมีรูปร่างสี่เหลี่ยมผืนผ้า/สี่เหลี่ยมจัตุรัส ไม่ควรเลือกที่ดิน ที่มีรูปร่าง ผอมยาวหน้าแคบ มีพื้นที่ทำระบบกำจัดน้ำเสีย และระบบกำจัดขยะ ต้องปรากฏแน่ชัดว่าส่วนราชการเป็นกรรมสิทธิ์ในที่ดิน นั้น

14

15 ที่ดินสาธารณสมบัติของแผ่นดิน ที่รกร้างว่างเปล่า ที่พลเมืองใช้ร่วมกัน ที่ดินสาธารณสมบัติของ แผ่นดินใช้ประโยชน์ใน ราชการโดยเฉพาะ ที่ดินสาธารณสมบัติของ แผ่นดินประเภทที่สงวน หรือหวงห้าม กระทรวงมหาดไทย ดูแล

16 ส่วนราชการขอใช้ที่ดินที่ดิน สาธารณสมบัติของแผ่นดิน ให้จังหวัดสอบสวน ข้อเท็จจริง ผู้ขอใช้ต้องเป็นทบวง การเมืองตามประมวล กม ที่ดิน ทบวงการเมือง หมายถึง หน่วยราชการที่เป็นนิติ บุคคล ให้จังหวัดสอบสวน ข้อเท็จจริง ผู้ขอใช้ต้องเป็นทบวง การเมืองตามประมวล กม ที่ดิน ทบวงการเมือง หมายถึง หน่วยราชการที่เป็นนิติ บุคคล ที่ มท 0712/ว370 ลว 14 มีค 32

17 หลักฐานทั่วไป นำมาประกอบการอนุญาต โครงการ เหตุผล งบประมาณที่ได้รับ แผนผังการขอใช้ที่ดิน แผนที่ ที่ดิน ตาม หลักวิชาการ แบบคำขอใช้ที่ดิน โครงการ เหตุผล งบประมาณที่ได้รับ แผนผังการขอใช้ที่ดิน แผนที่ ที่ดิน ตาม หลักวิชาการ แบบคำขอใช้ที่ดิน

18 การสอบสวน ข้อเท็จจริง กรณีที่ดินรก ร้างว่างเปล่า 1.สอบสวนประวัติความ เป็นมา 2.สำเนาหนังสือจังหวัด ทหารบก ซึ่งที่ดินตั้งอยู่ พิจารณาว่าขัดข้องทาง ยุทธศาสตร์หรือไม่ 3.สำเนาหนังสือกรม พัฒนาที่ดิน พิจารณา ที่ดินอยู่ในเขตป่าไม้ ถาวรหรือไม่ 4.สำเนาหนังสือ สำนักงานผังเมือง จังหวัดที่พิจารณาให้ ความเห็นชอบด้านผัง เมือง 1.สอบสวนประวัติความ เป็นมา 2.สำเนาหนังสือจังหวัด ทหารบก ซึ่งที่ดินตั้งอยู่ พิจารณาว่าขัดข้องทาง ยุทธศาสตร์หรือไม่ 3.สำเนาหนังสือกรม พัฒนาที่ดิน พิจารณา ที่ดินอยู่ในเขตป่าไม้ ถาวรหรือไม่ 4.สำเนาหนังสือ สำนักงานผังเมือง จังหวัดที่พิจารณาให้ ความเห็นชอบด้านผัง เมือง

19 การสอบสวนข้อเท็จจริง กรณีพลเมืองใช้ร่วมกัน 1.สอบสวนประวัติความเป็นมา 2.สำเนาหนังสือหน่วยงานที่ดูแลที่ดิน พิจารณา ให้ความเห็นชอบการขอใช้ และถอนสภาพ 3.สำเนาหนังสือของอำเภอและจังหวัด เกี่ยวกับ การขอใช้ และถอนสภาพ 4.สำเนาหนังสือสำนักงานผังเมืองจังหวัดที่ พิจารณาให้ความเห็นชอบด้านผังเมือง 1.สอบสวนประวัติความเป็นมา 2.สำเนาหนังสือหน่วยงานที่ดูแลที่ดิน พิจารณา ให้ความเห็นชอบการขอใช้ และถอนสภาพ 3.สำเนาหนังสือของอำเภอและจังหวัด เกี่ยวกับ การขอใช้ และถอนสภาพ 4.สำเนาหนังสือสำนักงานผังเมืองจังหวัดที่ พิจารณาให้ความเห็นชอบด้านผังเมือง

20 การถอนสภาพที่ดิน เป็นการทำให้พ้นจาก สภาพการเป็นที่ดิน สาธารณประโยชน์ของแผ่นดิน ส่วนราชการนั้น ครอบครองที่ดิน สาธารณประโยชน์อยู่ก่อน แต่ไม่ถูกต้อง หลักการ -ขอใช้ และขอถอนสภาพ พร้อมกัน -ให้กรมที่ดินพิจารณาอนุมัติ

21

22 มหา สมบัติ ที่ดินราชพัสดุที่กระทรวงพระคลังมหาสมบัติปกครองอยู่ มี ที่ดิน บ้านเรือน สวน นา สถานที่ว่าการกระทรวงต่างๆ ซึ่ง คงที่อยู่เดิมบ้างและได้รับ ยึดจากภาษีนายอากรแทนพระราชทรัพย์ค้างบ้าง ได้รัล โอนจากกะทรวงต่างๆ กระทรวงการคลังได้จัดการ ปกครอง ขอรับโฉนดและหนังสือหลักฐานไว้เป็นหลักฐาน มั่นคง เพื่อให้ตรงตามประกาศ พรบ.ออกโฉนดที่ดิน ที่ดินรายใดเป็นสถานที่ว่าการอยู่ แล้ว ที่ใดควรสงวน ที่ใดควรขาย เก็บเงินขึ้นงบประมาณแผ่นดิน ที่ราชพัสดุนี้เป็นพระราชทรัพย์คงพระคลัง สมควร รวบรวม บรรดาที่ดินของหลวงที่ยังกระจัดกระจายอยู่ มา ขึ้นทะเบียนราชพัสดุไว้ทางกระทรวงการคลังเสียทางเดียว ที่ดินราชพัสดุที่กระทรวงพระคลังมหาสมบัติปกครองอยู่ มี ที่ดิน บ้านเรือน สวน นา สถานที่ว่าการกระทรวงต่างๆ ซึ่ง คงที่อยู่เดิมบ้างและได้รับ ยึดจากภาษีนายอากรแทนพระราชทรัพย์ค้างบ้าง ได้รัล โอนจากกะทรวงต่างๆ กระทรวงการคลังได้จัดการ ปกครอง ขอรับโฉนดและหนังสือหลักฐานไว้เป็นหลักฐาน มั่นคง เพื่อให้ตรงตามประกาศ พรบ.ออกโฉนดที่ดิน ที่ดินรายใดเป็นสถานที่ว่าการอยู่ แล้ว ที่ใดควรสงวน ที่ใดควรขาย เก็บเงินขึ้นงบประมาณแผ่นดิน ที่ราชพัสดุนี้เป็นพระราชทรัพย์คงพระคลัง สมควร รวบรวม บรรดาที่ดินของหลวงที่ยังกระจัดกระจายอยู่ มา ขึ้นทะเบียนราชพัสดุไว้ทางกระทรวงการคลังเสียทางเดียว หนังสือกระทรวงการคลังมหาสมบัติ ที่ 205/23400 ลว 14 มีค 2464(ร6)

23 พระบรมราชโองการ ที่ 65/507 วันที่ 25 มีค 2464 เห็นสมควรจะ รวบรวมบรรดาที่ดิน ของหลวงใน กระทรวงต่างๆมาขึ้น ทะเบียนราชพัสดุไว้ ทาง กระทรวงการคลัง เสียทางเดียวเพื่อ ปกครองให้เป็น หลักฐานสืบไป ให้ ท่านจัดการกับเรื่องนี้ ต่อไป ที่ราชพัสดุ ตาม พรบ.ที่ราชพัสดุ พศ.2518 ม 4 คือ อสังหาริมทรัพย์ อัน เป็นทรัพย์สินของแผ่นดิน ทุกชนิด เว้นแต่ สาธารณสมบัติ ที่ดินรกร้างว่างเปล่า ทรัพย์สินที่ ปชช.ใช้ ร่วมกัน เช่นทางหลวง ทรัพย์สินใช้เพื่อ ประโยชน์ของแผ่นดิน เช่น กำแพงเมือง ป้อม โรงอาหาร คือ อสังหาริมทรัพย์ อัน เป็นทรัพย์สินของแผ่นดิน ทุกชนิด เว้นแต่ สาธารณสมบัติ ที่ดินรกร้างว่างเปล่า ทรัพย์สินที่ ปชช.ใช้ ร่วมกัน เช่นทางหลวง ทรัพย์สินใช้เพื่อ ประโยชน์ของแผ่นดิน เช่น กำแพงเมือง ป้อม โรงอาหาร

24 อสังหาริมทรัพย์ ตาม กม.แพ่ง ม 100, ที่ราชพัสดุหมายความถึง ทรัพย์สินที่เป็นอสังหาริมทรัพย์ทุกลักษณะ ใน ม 139 ที่ดิน อาคารสิ่งปลูกสร้างของราชการที่อยู่ในที่ดินซึ่งเป็นที่ราชพัสดุ อาคารสิ่งปลูกสร้างของราชการที่อยู่ในที่ดินอื่นมิใช่ที่ราชพัสดุ เช่น ที่ดินของวัด ที่ดินของสำนักงานทรัพย์สินพระมหากษัตริย์ ม 1304 ที่ดินรกร้างว่างเปล่า/เวนคืน พลเมืองใช้ร่วมกัน เช่น ทางหลวง ใช้เพื่อประโยชน์ของแผ่นดินโดยเฉพาะเช่น โรงทหาร ม 1306 ห้ามมิให้ยกอายุความขึ้นต่อสู้กับแผ่นดินในเรื่องสมบัติแผ่นดิน

25 ที่มาที่ราชพัสดุ รัฐบาลซื้อด้วยเงิน งบประมาณ ประกาศไว้ใช้ในราชการ เอกชนบริจาคหรือยกให้ รัฐบาล ตกเป็นของรัฐ เนื่องจาก ค้างชำรพภาษีอากร โบราณสถาน กำแพง เมือง คูเมือง ถือเป็นสิ่งที่ รัฐสร้างขึ้น เพื่อประโยชน์ ของรัฐในการป้องกัน ข้าศึก ศัตรู โดยผลของ กม เช่น กรณี ที่งอกออกจากที่ราชพัสดุ รัฐบาลซื้อด้วยเงิน งบประมาณ ประกาศไว้ใช้ในราชการ เอกชนบริจาคหรือยกให้ รัฐบาล ตกเป็นของรัฐ เนื่องจาก ค้างชำรพภาษีอากร โบราณสถาน กำแพง เมือง คูเมือง ถือเป็นสิ่งที่ รัฐสร้างขึ้น เพื่อประโยชน์ ของรัฐในการป้องกัน ข้าศึก ศัตรู โดยผลของ กม เช่น กรณี ที่งอกออกจากที่ราชพัสดุ โดยคำสั่ง นายกรัฐมนตรีตาม ธรรมนูญการปกครอง เช่น ทรัพย์สินที่ยึดมา จากจอมพลสฤษดิ์ รัฐจัดทำขึ้นโดยเงิน งบประมาณ เช่น ท่าเรือ ตกเป็นของแผ่นดินโดย คำสั่งศาล โดยประการอื่นๆ โดยคำสั่ง นายกรัฐมนตรีตาม ธรรมนูญการปกครอง เช่น ทรัพย์สินที่ยึดมา จากจอมพลสฤษดิ์ รัฐจัดทำขึ้นโดยเงิน งบประมาณ เช่น ท่าเรือ ตกเป็นของแผ่นดินโดย คำสั่งศาล โดยประการอื่นๆ

26 ผู้ถือกรรมสิทธิที่ราชพัสดุ ม 5 ให้กระทรวงการคลังเป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์ใน ที่ราชพัสดุ “บรรดที่ราชพัสดุ กระทรวง ทบวง กรมใด ได้มา โดยการเวนคืนหรือการแลกเปลี่ยน หรือโดย ประการอื่น ให้ กค เข้าถือกรรมสิทธิ์ในที่ราชพัสดุ นั้นยกเว้น ได้มาโดยการเวนคืน ตาม กม ปฎิรูป ที่ดินเพื่อการเกษตรกรรม” ม 11 บรรดาที่ราชพัสดุกระทรวง ทบวง กรม ได้มาโดย กม เวนคืน หรือโดยการแลกเปลี่ยน กรรมสิทธิ์กับเอกชน ให้โอนมาเป็นของ กระทรวงการคลัง ตาม พรบ.ที่ราชพัสดุ พศ.2518 ม 4

27 การเปลี่ยนประเภทที่ราชพัสดุ ที่ราชพัสดุที่เป็นสาธารณะแผ่นดินใช้ ประโยชน์ของแผ่นดินเมื่อเลิกใช้ประโยชน์หรือ เมื่อสิ้นสภาพการเป็นสาธารณะสมบัติของ แผ่นดินแล้วหรือที่ราชพัสดุที่ราชการหวงห้าม ไวและราชการไม่ประสงค์จะหวงห้ามแล้ว ให้ถอนสภาพการเป็นสาธารณะสมบัติของ แผ่นดิน / ถอนการหวงห้าม โดยตราเป็น พรฎ. ให้มีแผนที่แสดงเขตที่ดินแนบ พรฎ นั้นด้วย ที่ราชพัสดุที่เป็นสาธารณะแผ่นดินใช้ ประโยชน์ของแผ่นดินเมื่อเลิกใช้ประโยชน์หรือ เมื่อสิ้นสภาพการเป็นสาธารณะสมบัติของ แผ่นดินแล้วหรือที่ราชพัสดุที่ราชการหวงห้าม ไวและราชการไม่ประสงค์จะหวงห้ามแล้ว ให้ถอนสภาพการเป็นสาธารณะสมบัติของ แผ่นดิน / ถอนการหวงห้าม โดยตราเป็น พรฎ. ให้มีแผนที่แสดงเขตที่ดินแนบ พรฎ นั้นด้วย ตาม พรบ.ที่ราชพัสดุ พศ.2518 ม 4

28 การใช้ที่ราชพัสดุ ผู้ขอใช้ที่ราชพัสดุ – กระทรวง ทบวง กรม หน่วยงานของรัฐ ผู้ใช้ที่ราชพัสดุ - กระทรวง ทบวง กรม หน่วยงานของรัฐ หรือองค์กรอื่นของรัฐที่ เป็นผู้ดูแล หรือใช้ประโยชน์ในที่ราชพัสดุ ผู้ขอใช้ที่ราชพัสดุ – กระทรวง ทบวง กรม หน่วยงานของรัฐ ผู้ใช้ที่ราชพัสดุ - กระทรวง ทบวง กรม หน่วยงานของรัฐ หรือองค์กรอื่นของรัฐที่ เป็นผู้ดูแล หรือใช้ประโยชน์ในที่ราชพัสดุ ก)เราเป็นเจ้าของ - ขอใช้บางส่วน - ขอใช้ทั้งหมด ข)ผู้อื่นเป็นเจ้าของ ค)ไม่มีส่วนราชการใด ครอบครอง ก)เราเป็นเจ้าของ - ขอใช้บางส่วน - ขอใช้ทั้งหมด ข)ผู้อื่นเป็นเจ้าของ ค)ไม่มีส่วนราชการใด ครอบครอง

29 กรณี ขอตกลง กค. - ที่ดินทั่วไป ให้ขอใช้ ที่ต่อ ผวจ. เมื่อ ผวจ.ให้ ความยินยอม ให้ตกลง กค - ผู้ขอใช้ ต้องเข้าทำ ประโยชน์ในที่ดินตาม วัตถุประสงค์ที่ขอภายใน 3 ปีนับแต่วันที่ได้รับ อนุญาต กรณี ขอตกลง กค. - ที่ดินทั่วไป ให้ขอใช้ ที่ต่อ ผวจ. เมื่อ ผวจ.ให้ ความยินยอม ให้ตกลง กค - ผู้ขอใช้ ต้องเข้าทำ ประโยชน์ในที่ดินตาม วัตถุประสงค์ที่ขอภายใน 3 ปีนับแต่วันที่ได้รับ อนุญาต การขอใช้ที่ราช พัสดุ กรณี ไม่ต้องขอตกลง กค. - ขอใช้ชั่วคราว มีความ จำเป็นเร่งด่วนเพื่อ ประโยชน์ป้องกันสาธารณ ภัยต่างๆ - เพื่อก่อสร้าง ที่ทำการ บ้านพัก กิจการ สาธารณูปโภค - ให้ ผวจ.อนุญาต แล้ว แจ้ง กค ทราบ กรณี ไม่ต้องขอตกลง กค. - ขอใช้ชั่วคราว มีความ จำเป็นเร่งด่วนเพื่อ ประโยชน์ป้องกันสาธารณ ภัยต่างๆ - เพื่อก่อสร้าง ที่ทำการ บ้านพัก กิจการ สาธารณูปโภค - ให้ ผวจ.อนุญาต แล้ว แจ้ง กค ทราบ ที่ราชพัสดุอยู่ที่จังหวัด

30 การเปลี่ยนวัตถุประสงค์ ในการใช้ประโยชน์ ผู้ใช้ประโยชน์ ประสงค์จะเปลี่ยนการ ใช้ประโยชน์ในที่ราช พัสดุ ที่แตกต่างไป จากที่ได้รับอนุมัติไว้ เดิม ถ้าที่ดินอยู่ใน จังหวัด ให้ขออนุมัติ ผวจ.

31 หน้าที่ของผู้ขอใช้ที่ราชพัสดุ 1.สำรวจรายการที่ดิน /อาคาร ขึ้นทะเบียน (กฎกระทรวง พศ. 2545 ข้อ 5,6) 2.ร่วมนำ ทำการสำรวจ ให้ถ้วยคำ ระวังชี้แนว เขต ทำความตกลงในการสอบสวน ไกล่เกลี่ย (กฎกระทรวง พศ. 2545 ข้อ 8) 3.ขอทำความตกลง เปลี่ยนแปลงการใช้ที่ราช พัสดุ (กฎกระทรวง พศ. 2545 ข้อ 17) 4.ดูแลบำรุงรักษาที่ราชพัสดุ (กฎกระทรวง พศ. 2545 ข้อ 18) ถ้าไม่ดูแลจนเป็นเหตุให้ เสียหาย อาจให้ส่งที่คืนได้ 1.สำรวจรายการที่ดิน /อาคาร ขึ้นทะเบียน (กฎกระทรวง พศ. 2545 ข้อ 5,6) 2.ร่วมนำ ทำการสำรวจ ให้ถ้วยคำ ระวังชี้แนว เขต ทำความตกลงในการสอบสวน ไกล่เกลี่ย (กฎกระทรวง พศ. 2545 ข้อ 8) 3.ขอทำความตกลง เปลี่ยนแปลงการใช้ที่ราช พัสดุ (กฎกระทรวง พศ. 2545 ข้อ 17) 4.ดูแลบำรุงรักษาที่ราชพัสดุ (กฎกระทรวง พศ. 2545 ข้อ 18) ถ้าไม่ดูแลจนเป็นเหตุให้ เสียหาย อาจให้ส่งที่คืนได้

32 5. แจ้งขอรื้อถอนอาคาร และสิ่งปลูกสร้าง (กฎกระทรวง พศ. 2545 ข้อ 19) - มี 4 กรณีที่ไม่ต้องขออนุญาต รื้อถอน ก) อาคาร/สิ่งปลูกสร้าง มีอายุ มากกว่า 25 ปี ข) อาคาร/สิ่งปลูกสร้าง ที่ชำรุดจนใช้ใน ราชการไม่ได้ ค) อาคาร/สิ่งปลูกสร้าง ที่เกี่ยวกับราชการลับ ทางทหาร ง) อาคาร/สิ่งปลูกสร้าง ในที่เดิม เมื่อได้รับ งบประมาณใหม่สร้างทดแทน 5. แจ้งขอรื้อถอนอาคาร และสิ่งปลูกสร้าง (กฎกระทรวง พศ. 2545 ข้อ 19) - มี 4 กรณีที่ไม่ต้องขออนุญาต รื้อถอน ก) อาคาร/สิ่งปลูกสร้าง มีอายุ มากกว่า 25 ปี ข) อาคาร/สิ่งปลูกสร้าง ที่ชำรุดจนใช้ใน ราชการไม่ได้ ค) อาคาร/สิ่งปลูกสร้าง ที่เกี่ยวกับราชการลับ ทางทหาร ง) อาคาร/สิ่งปลูกสร้าง ในที่เดิม เมื่อได้รับ งบประมาณใหม่สร้างทดแทน หน้าที่ของผู้ขอใช้ที่ราชพัสดุ(ต่อ)

33 - อาคารที่มีคุณค่าทางประวัติศาสตร์ ศิลปกรรม สถาปัตยกรรม ที่ควรอนุรักษ์ไว้ หรือ อาคารยังใช้ ประโยชน์ได้ ก่อนการรื้อถอน ให้ตั้ง คกก.ไม่น้อยกว่า 3 คน พิจารณาเหตุผล ความ จำเป็นเสนอความเห็นประกอบการพิจารณาของผู้ใช้ที่ราช พัสดุ(กฎกระทรวง พศ. 2545 ข้อ 21) - อาคารที่มีคุณค่าทางประวัติศาสตร์ ศิลปกรรม สถาปัตยกรรม ที่ควรอนุรักษ์ไว้ หรือ อาคารยังใช้ ประโยชน์ได้ ก่อนการรื้อถอน ให้ตั้ง คกก.ไม่น้อยกว่า 3 คน พิจารณาเหตุผล ความ จำเป็นเสนอความเห็นประกอบการพิจารณาของผู้ใช้ที่ราช พัสดุ(กฎกระทรวง พศ. 2545 ข้อ 21) วัสดุที่รื้อถอนแล้วนำไปทำอะไรได้บ้าง การจำหน่ายอาคาร /ต้นไม้ / ดิน /วัสดุอื่นๆ /จาก การรื้อถอน ให้นำส่งเงินส่งคลังเป็นรายได้กรมธนารักษ์ ถ้าต้องนำวัสดุที่รื้อถอนไปใช้ประโยชน์ราชการ / สาธารณประโยชน์ /การกุศล ต้องขออนุญาต จาก ผวจ ก่อน การจำหน่ายอาคาร /ต้นไม้ / ดิน /วัสดุอื่นๆ /จาก การรื้อถอน ให้นำส่งเงินส่งคลังเป็นรายได้กรมธนารักษ์ ถ้าต้องนำวัสดุที่รื้อถอนไปใช้ประโยชน์ราชการ / สาธารณประโยชน์ /การกุศล ต้องขออนุญาต จาก ผวจ ก่อน หน้าที่ของผู้ขอใช้ที่ราชพัสดุ(ต่อ)

34 6. การส่งคืนที่ราชพัสดุ 6 กรณี - เลิกใช้ประโยชน์ - มิได้ใช้ประโยชน์ตามที่ได้รับ อนุญาต - ใช้ประโยชน์ไม่ครบ - ใช้ประโยชน์แตกต่างไปจากที่ ได้รับอนุญาต - เข้าครอบครองใช้ประโยชน์ โดยมิได้รับอนุญาตก่อน - มิได้ปฎิบัติตามเงื่อนไขที่ กรมธนารักษ์กำหนด 6. การส่งคืนที่ราชพัสดุ 6 กรณี - เลิกใช้ประโยชน์ - มิได้ใช้ประโยชน์ตามที่ได้รับ อนุญาต - ใช้ประโยชน์ไม่ครบ - ใช้ประโยชน์แตกต่างไปจากที่ ได้รับอนุญาต - เข้าครอบครองใช้ประโยชน์ โดยมิได้รับอนุญาตก่อน - มิได้ปฎิบัติตามเงื่อนไขที่ กรมธนารักษ์กำหนด หน้าที่ของผู้ขอใช้ที่ราชพัสดุ(ต่อ) 6.1 เมื่อกรมธนารักษแจ้งให้ส่งคืนและผู้ใช้ที่ไม่ โต้แย้งภายใน 60 วัน กรมธนารักษ์ อาจพิจารณาให้ผู้ขอรายื่ต่อได้โดยไม่ต้องแจ้งให้ ทราบ ระยะเวลาส่งคืน กรณีเลิกใช้ส่งคืนภายใน 30 วันนับแต่วันเลิกใช้ ส่งคืนภายใน 30 วันนับแต่วัน ครบกำหนด 3 ปีที่ได้รับ อนุญาตให้ใช้(ยกเว้นกรณี เลิกใช้ประโยชน์) แต่ถ้ายังจะใช้อยู่ให้ตกลง กค ภายใน 30 วัน นับแต่วันครบ กำหนดอนุญาต เมื่อมีผู้บุกรุก ผู้ใช้ต้อง ดำเนินการกับผู้บุกรุกก่อน ส่งคืน ระยะเวลาส่งคืน กรณีเลิกใช้ส่งคืนภายใน 30 วันนับแต่วันเลิกใช้ ส่งคืนภายใน 30 วันนับแต่วัน ครบกำหนด 3 ปีที่ได้รับ อนุญาตให้ใช้(ยกเว้นกรณี เลิกใช้ประโยชน์) แต่ถ้ายังจะใช้อยู่ให้ตกลง กค ภายใน 30 วัน นับแต่วันครบ กำหนดอนุญาต เมื่อมีผู้บุกรุก ผู้ใช้ต้อง ดำเนินการกับผู้บุกรุกก่อน ส่งคืน

35 6.2 กรณีมีปัญหา ให้เสนอ คกก.ที่ราชพัสดุ พิจารณาชี้ขาด 6.3 การส่งคืนกรณีมีผู้บุกรุก ผู้ใช้ที่มีหน้าที่ ดำเนินการกับผู้บุกรุก เว้นแต่กรมธนารักษ์จะ แก้ไขเอง / ร่วมกันแก้ไข - ถ้ามีความเสียหาย / อาจจะเกิดความ เสียหาย ซึ่งเป็นการกระทำโดยจงใจ /ประมาท เลินเล่ออย่างร้ายแรง/ เจตนาทุริต / ทำโดย ปราศจากอำนาจ/ทำนอกเหนืออำนาจหน้าที่ ให้ ผวจ / ธนารักษ์ แจ้ง หน.ส่วนราชการผู้ใช้ที่ ดำเนินการทางวินัย ทางแพ่ง ต่อไป 6.2 กรณีมีปัญหา ให้เสนอ คกก.ที่ราชพัสดุ พิจารณาชี้ขาด 6.3 การส่งคืนกรณีมีผู้บุกรุก ผู้ใช้ที่มีหน้าที่ ดำเนินการกับผู้บุกรุก เว้นแต่กรมธนารักษ์จะ แก้ไขเอง / ร่วมกันแก้ไข - ถ้ามีความเสียหาย / อาจจะเกิดความ เสียหาย ซึ่งเป็นการกระทำโดยจงใจ /ประมาท เลินเล่ออย่างร้ายแรง/ เจตนาทุริต / ทำโดย ปราศจากอำนาจ/ทำนอกเหนืออำนาจหน้าที่ ให้ ผวจ / ธนารักษ์ แจ้ง หน.ส่วนราชการผู้ใช้ที่ ดำเนินการทางวินัย ทางแพ่ง ต่อไป หน้าที่ของผู้ขอใช้ที่ราชพัสดุ(ต่อ)

36 การจัดหาประโยชน์ในที่ราชพัสดุ 1.การเช่า กรณีที่ ไม่ได้สงวน ไว้ และไม่ได้ใช้ประโยชน์ ให้เช่าที่ดิน เป็นที่อยู่อาศัย ใช้ประกอบเกษรกรรม ปลูกสร้างอาคารโดย ยก กรรมสิทธิให้ กค ให้เช่าพื่อประโยชน์อย่างอื่น ให้เช่าอาคารซึ่งเป็นที่ราช พัสดุ 1.การให้เช่า 2.การจัดทำสัญญาต่างตอบแทนอื่นๆนอกเหนือจาการเช่า 1.การให้เช่า 2.การจัดทำสัญญาต่างตอบแทนอื่นๆนอกเหนือจาการเช่า อำนาจการอนุมัติให้เช่า ในจังหวัด เป็น ผวจ. เว้นแต่ เช่าเป็นที่อยู่อาศัย เช่าทำเกษรกรรม เกิน 3 ปี เช่าเพื่อสร้างอาคารแล้วยก ให้ กค. เช่าในที่ราชพัสดุ เว้นแต่ เช่าเป็นที่อยู่อาศัย เช่าทำเกษรกรรม เกิน 3 ปี เช่าเพื่อสร้างอาคารแล้วยก ให้ กค. เช่าในที่ราชพัสดุ ต้องให้ กค. อนุมัติก่อน ระเบียบ กค ว่าด้วยจัดหาผลประโยชน์ในที่ราชพัสดุ พศ 2547

37 เว้นแต่การเช่าต่อไปนี้ไม่ต้องประมูล ใช้เป็นที่อยู่อาศัย ประกอบเกษรกรรม รัฐวิสาหกิจที่เป็นนิติบุคคลเช่าเพื่อดำเนินการตนเอง องค์กรอื่นของรัฐเช่าเพื่อดำเนินการตามอำนาจหน้าที่ องค์กรปกครองท้องถิ่นเช่าหาประโยชน์ตามหน้าที่ ใช้ในกิจการกุศลไม่มุ่งหากำไร ใช้ในทางสงเคราะห์ /สวัสดิการข้าราชการ การจัดหาประโยชน์ในที่ราชพัสดุ(ต่อ) 2.การจัดทำสัญญาต่างตอบแทนอื่นๆนอกเหนือจาการเช่า ให้ทำโดยวิธีประมูล

38 การมอบอำนาจให้ ผวจ. 1.สป.มอบอำนาจให้ ผวจ.ในเรื่องเกี่ยวกับที่ราชพัสดุ การให้ความเห็นชอบขอใช้ที่ราชพัสดุ การให้ความเห็นชอบในการรื้อถอนสิ่งปลูกสร้างใน ที่ราชพัสดุ การจำหน่ายสิ่งปลูกสร้างที่จะรื้อถอน การจำหน่ายต้นไม้ วัสดุอื่นๆ ที่ได้มาจากที่ราชพัสดุ การนำวัสดุที่รื้อถอน / ต้นไม้ ไปใช้ในราชการ การให้ความเห็นชอบในการส่งคืนที่ราชพัสดุ 1.สป.มอบอำนาจให้ ผวจ.ในเรื่องเกี่ยวกับที่ราชพัสดุ การให้ความเห็นชอบขอใช้ที่ราชพัสดุ การให้ความเห็นชอบในการรื้อถอนสิ่งปลูกสร้างใน ที่ราชพัสดุ การจำหน่ายสิ่งปลูกสร้างที่จะรื้อถอน การจำหน่ายต้นไม้ วัสดุอื่นๆ ที่ได้มาจากที่ราชพัสดุ การนำวัสดุที่รื้อถอน / ต้นไม้ ไปใช้ในราชการ การให้ความเห็นชอบในการส่งคืนที่ราชพัสดุ คำสั่ง สป ที่ สธ 2168/ 2547 วันที่ 14 ตค 47

39 2. การมอบอำนาจตามข้อ 1 เป็นการมอบให้ เฉพาะส่วนราชการสังกัด สปเมื่อดำเนินการ แล้ว รายงาน สป.ทราบ 3. ในกรณีที่ ผวจ.เห็นสมควรจะมอบอำนาจ ตาม ข้อ 1 ให้ นพ สจจ.ก็ให้กระทำได้ 2. การมอบอำนาจตามข้อ 1 เป็นการมอบให้ เฉพาะส่วนราชการสังกัด สปเมื่อดำเนินการ แล้ว รายงาน สป.ทราบ 3. ในกรณีที่ ผวจ.เห็นสมควรจะมอบอำนาจ ตาม ข้อ 1 ให้ นพ สจจ.ก็ให้กระทำได้ การมอบอำนาจให้ ผวจ.(ต่อ)

40

41 ที่ธรณีสงฆ์ วัดมีฐานะเป็นนิติ บุคคล เจ้าอาวาสเป็นผู้แทน วัด ในกิจการทั่วไป วัดมีฐานะเป็นนิติ บุคคล เจ้าอาวาสเป็นผู้แทน วัด ในกิจการทั่วไป วัดมี 2 ชนิด 1.วัดที่ได้รับพระราชทาน วิสุงคามสีมา 2.สำนักสงฆ์ วัดมี 2 ชนิด 1.วัดที่ได้รับพระราชทาน วิสุงคามสีมา 2.สำนักสงฆ์ ที่วัดและที่ ซึ่งขึ้นต่อวัด ที่วัด คือที่ซึ่งเป็นที่ตั้งของวัด และแนวเขต ที่ธรณีสงฆ์ คือ ที่ซึ่งเป็น สมบัติของวัด ทีกัลปนา คือ ที่ซึ่งมีผู้อุทิศ ผลประโยชน์ให้วัด ที่วัดและที่ ซึ่งขึ้นต่อวัด ที่วัด คือที่ซึ่งเป็นที่ตั้งของวัด และแนวเขต ที่ธรณีสงฆ์ คือ ที่ซึ่งเป็น สมบัติของวัด ทีกัลปนา คือ ที่ซึ่งมีผู้อุทิศ ผลประโยชน์ให้วัด ศาสนสมบัติแบ่งเป็น 1.ศาสนสมบัติกลาง เป็นทรัพย์สินของพระศาสนา มิใช่ของวัดใดวัดหนึ่ง 2 ศาสนสมบัติของวัด เป็นทรัพย์สินของวัดใดวัด หนึ่ง

42 การจัดการศาสนาสมบัติกลางและวัดร้าง จัดให้ส่วนราชการ องค์การ เอกชน เช่า ปรับปรุงที่ดินศาสนาสมบัติกลางและที่วัด ร้าง เพื่อการศึกษา กิจการสาธารณะ อยู่ อาศัย ประกอบอาชีพในอัตราที่เหมาะสม เพื่อสงเสริมการศึกษาของชาติ ส่งเสริม กิจการสาธารณะ เพื่อความเป็นธรรม เพื่อ ความสะอาดเรียบร้อยของบ้านเมือง และ เพื่อช่วยเหลือ ปชช ผู้ยากไร้ให้มีที่อยู่อาศัย มีที่ประกอบอาชีพตามสมควรแก่กรณี พรบ.คณะสงฆ์ พศ. 2505 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2 ) พศ 2535

43 หลักเกณฑ์ให้ราชการขอใช้/ เช่า ทีดินวัดร้าง กรมการศาสนากำหนดให้เช่า หน่วยราชการใดที่เข้าไปอาศัยอยู่ก่อนแล้ว/ใช้ที่ดิน วัดร้างอยู่ก่อนแล้ว และไม่ได้ทำสัญญาให้จัดทำ สัญญาโดยระบุวัตถุประสงค์ในการขอใช้ที่ดินทุก ราย หน่วยราชการจะขอเช่า/ขอใช้ที่วัดร้างทุกราย แม้ สัญญาจะกำหนดกี่ปีก็ตามต้องเสนออขอนุมัติ กรมการศาสนา โดยความเห็นชอบของมหาเถรสาม คมก่อน หน่วยราชการใดได้รับอนุมัติให้ใช้/ให้ใช้ที่ดินวัด ร้างไว้แล้ว เมื่อจะปลูกสร้างอาคาร ต้องขออนุญาต กรมการศาสนาก่อน ที่ ศธ 0408/ 9058 วันที่ 25 กค 2527

44 ค่าเช่าที่ดินวัดร้างและศาสนสมบัติกลาง ค่าเช่า ใหม่เป็น ร้อยละ 2.0 ของ ราคาประเมินที่ดินของราชการต่อปี ที่ พศ 0005/ 8394 วันที่ 12 พย 2549 การเช่าที่ศาสนสมบัติกลางของวัด ราชการ กฎกระทรวงฉบับที่ 2 (มส 2511) การให้เช่าที่ธรณีสงฆ์ ที่กัลปนา -เช่าไม่เกิน 3 ปี วัดดำเนินการได้เองไม่ต้องให้ กรมการศาสนา/มหาเถรสมาคมให้ความเห็นชอบ -เช่าเกิน 3 ปี ต้องได้รับความเห็นชองจากสำนักพุทธ ศาสนาก่อน

45 การใช้ที่ธรณีสงฆ์ ก่อสร้าง รพ. และสถานบริการอื่น ให้หลีกเลี่ยงการ ใช้ที่ธรณีสงฆ์ หากหลีกเลี่ยง ไม่ได้ ขอ อนุมัติ สป เป็นรายๆไป ที่ สธ 0212/14/2484 วันที่ 24 เมษ 2538 ที่ สธ 0212/14/3362 วันที่ 31 พค 2538 ที่ สธ 0212/14/2484 วันที่ 24 เมษ 2538 ที่ สธ 0212/14/3362 วันที่ 31 พค 2538

46 ที่ดิน สปก.

47 ที่ดิน ส.ป.ก. คืออะไร มีกฎระเบียบ ในการครอบครองอย่างไรบ้าง ส.ป.ก. ย่อมาจาก สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อ เกษตรกรรมย่อมาจาก ที่ดิน ส.ป.ก. คือ ที่ดินบริเวณที่ได้ประกาศให้เป็น เขตปฏิรูปที่ดิน ซึ่งจะอยู่ภายใต้การดูแลของ สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยไม่สามารถ นำมาออกเอกสารสิทธิตามประมวลกฎหมายที่ดิน ได้ หรือจะเรียกกันง่ายๆ ก็คือ ที่ดิน ส.ป.ก. เป็นที่ดินที่ทางภาครัฐยกให้แก่ เกษตรกรเพื่อสำหรับใช้เป็นที่ดินในการทำมาหา กินด้านการเกษตร

48 กฎระเบียบในการครอบครองที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 - ผู้ครอบครองที่ดินนี้ได้จะต้องเป็นเกษตรกร หรืออาจมี ประสบการณ์ทางด้านการเกษตรมาก่อน - ที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 นี้ ห้ามผู้ครอบครองขาย หรือเปลี่ยนมือ ให้แก่ผู้อื่น ยกเว้นการเป็นมรดกตกทอดให้แก่ทายาทต่อไป - ที่ดินนี้จะต้องใช้ประโยชน์ในด้านการเกษตร ห้ามนำมาใช้ ทำประโยชน์อย่างอื่นเด็ดขาด - หากเมื่อไหร่ที่ที่ดินนี้ไม่ได้ใช้ประโยชน์แล้ว ทางผู้ ครอบครองต้องคืนให้แก่รัฐบาล - หากเป็นที่ดินที่อยู่ในเขตป่าสงวน หรือเขตอุทยาน หรือบนที่ เนินที่ลาด 35 ดีกรี หรือมากกว่านี้ บุคคลไม่สามารถ ครอบครองได้ - บุคคลผู้ครอบครองที่ดินนี้ได้จะครอบครองได้ไม่เกิน 25 ไร่ ส่วนครอบครัวมีสิทธิ์ในการครอบครองที่ดินไม่เกิน 50 ไร่

49 ที่ดิน ส.ป.ก. สำคัญอย่างไร? ที่ดิน ส.ป.ก. ออกมาตามประกาศเป็น ส.ป.ก. 4-01 โดยเริ่มมีขึ้นตั้งแต่ในปี 2518 เป็นพระราชบัญญัติ การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม เป็นเอกสารสิทธิที่ให้ประชาชนสามารถเข้าไปทำ ประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดินด้านเกษตรกรรมได้ เพียงอย่างเดียวเท่านั้น ไม่สามารถนำมาทำ ประโยชน์อย่างอื่นได้ ทั้งนี้ ผู้ครอบครองที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 นี้ จะต้องเป็น ผู้ที่มีฐานะการเงินยากจนเท่านั้นเงิน นอกจากนี้ เอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 ไม่อนุญาตให้ มีการทำการซื้อ-ขายที่ดินโดยหากมีการซื้อ-ขาย ในช่วงเวลาที่เอกสารสิทธินี้ยังมีผลอยู่ก็จะถือว่าเป็น โมฆะ ไม่มีผลใดๆ ทั้งสิ้น

50 สามารถทำการแบ่งแยก หรือโอน หรือเป็น มรดกตกทอดไปยังบุคคลอื่นในครอบครัวได้ ไม่ว่าจะเป็น บิดา มารดา สามี ภรรยา หรือบุตร เป็นต้น มีสิทธิเช่าหรือเช่าซื้อเพื่อการเกษตรกรรม เท่านั้น โดยไม่อนุญาตให้เช่าเพื่อจุดประสงค์ อื่นใด และจะจดทะเบียนจำนองไม่ได้ ยกเว้น แต่ว่าจะเป็นโครงการจากทางรัฐบาลที่อนุญาต ให้ใช้เอกสารสิทธิเป็นประกัน ซึ่งสิทธิของที่ดิน นั้นก็ยังเป็นของทางภาครัฐอยู่ ซึ่งหากเราไม่ ต้องการก็สามารถคืนที่ดินให้แก่ภาครัฐได้ ในขณะเดียวกันหากรัฐได้ตรวจสอบแล้วพบว่า เราไม่ได้ใช้ประโยชน์จากที่ดินในการทำกิน ทางภาครัฐก็สามารถเรียกคืนที่ดินจากเราได้ เช่นเดียวกัน

51 ที่ดินสปก.เปลี่ยนมาเป็น นส.3 ได้หรือไม่ คำตอบคือ ไม่ได้ เนื่องจากสปก. เป็นสิทธิ์ที่ ออกให้แก่เกษตรกรที่จะใช้ประโยชน์ทำกิน ด้านการเกษตรตกทอด สิทธิ์แก่ทายาทต่อไป จึงไม่สามารถขึ้นเป็นโฉนดหรือ นส.3 ได้ หากมีการเปลี่ยน เป็นโฉนดจึงไม่ถูกต้อง ในทางกฎหมาย เพื่อป้องกันนายทุนเข้า ครอบครองบุกรุกพื้นที่ทางการเกษตร คำตอบคือ ไม่ได้ เนื่องจากสปก. เป็นสิทธิ์ที่ ออกให้แก่เกษตรกรที่จะใช้ประโยชน์ทำกิน ด้านการเกษตรตกทอด สิทธิ์แก่ทายาทต่อไป จึงไม่สามารถขึ้นเป็นโฉนดหรือ นส.3 ได้ หากมีการเปลี่ยน เป็นโฉนดจึงไม่ถูกต้อง ในทางกฎหมาย เพื่อป้องกันนายทุนเข้า ครอบครองบุกรุกพื้นที่ทางการเกษตร

52 ที่ดินสปก.สามารถซื้อขายกัน ได้หรือไม่ คำตอบคือไม่ได้ แต่สามารถโอนเป็นมรดก ตกทอดแก่ทายาทได้ ถ้ามีการซื้อขาย ถือเป็นการทำผิด กฎหมาย คนซื้อก็ไม่สามารถฟ้องเอาเงิน คืนได้ หาก สปก.ตรวจสอบขึ้นมาจะผิดทั้งผู้ซื้อ ผู้ขาย โดนเพิกถอนสิทธิ์

53 ส.ป.ก.จะออกหนังสือรับรองและโฉนดที่ดินตาม กฎหมายปฏิรูปที่ดินเป็นขั้นตอนดังต่อไปนี้ ส.ก.1 เป็นหนังสือจับจอง หรือหนังสือครอบครอง ที่ดินเพื่อจะใช้ในการทำกินหรือการเกษตร ไม่ใช่ หนังสือรับรองว่าเป็นเจ้าของที่ดิน น.ส.2 เป็นหนังสือรับรองว่าเป็นเจ้าของที่ดินซึ่ง รัฐบาลได้อนุมัติให้เป็นที่ดินทำกิน หรือการเกษตร ผู้ ครอบครองจะต้องปฏิรูปที่ดิน ให้เป็นประโยชน์ 75%ของที่ดินอย่างน้อย 3ปีจึงจะยื่นหนังสือขอ สิทธิ เป็นเจ้าของที่ดินได้ กรมที่ดินจึงจะออกเอกสาร สิทธิ์เรียก น.ส. 3หรือ น.ส.3ก แล้วแต่กรณี น.ส. 3 หรือ น.ส. 3ก -เป็นหนังสือรับรองว่าที่ดินผืนนี้ได้มีการปฏิรูปเป็น เวลาย่างน้อย 3ปี ได้ทำการรังวัดที่ดินและ ลงทะเบียนเป็นหลักฐาน

54 -น.ส. 3ก เป็นหนังสือรับรองเหมือนหนังสือ -น.ส. 3 เพียงแต่ น.ส. 3ก เพิ่มรูปถ่ายของที่ดินทาง อากาศ -ไม่ใช่โฉนดที่ดิน เพียงแต่เป็นหนังสือสิทธิเจ้าของที่ดิน ที่ได้รับรองว่าได้ทำประโยชน์ ในที่ดินดังกล่าว และได้ ทำรังวัดและจดทะเบียนเป็นหลักฐาน มีรูปถ่ายทาง อากาศ - เป็นที่ดินเพื่อการเกษตร จะใช้เป็นประโยชน์อื่นใดมิได้ ที่ดิน ส.ป.ก. เป็นที่ดินที่รัฐยกให้เป็นที่ดินทำกิน ไม่ สามารถซื้อขายได้ แต่เป็นมรดกตกทอดได้ การซื้อ ขายที่ดินเป็นสิ่งผิดกฏหมาย ที่ดินในเขตอุทยาน ที่ดินในเขตป่าไม้ ที่ดินในเขตภูเขา และรอบภูเขาที่เป็นที่ลาดชัน 35 ดีกรีหรือมากกว่า ไม่ สามารถครอบครองได้

55 จะรู้ได้อย่างไรว่าเป็นโฉนดแบบใด สปก. ครุฑ สีน้ำเงิน เป็นหนังสือที่ดินทำกินห้ามโอนเปลี่ยนมือ นส.3 จะมีครุฑสีดำ อนาคตสามารถออกเป็นโฉนดได้ สามารถซื้อขาย จำนองได้ แต่ตอนจะขายต้องประกาศว่าจะว่าจะขาย ล่วงหน้าหนึ่งเดือนถ้าไม่มีคนคัดค้านมี เหตุผลก็สามารถ ออกได้ ถ้าคนคัดค้านไม่มีหลักฐานจะโดนข้อหาแจ้ง ความเท็จ ส่วนนส.3 ก. จะมีครุฑเขียว สามารถซื้อขาย จำนองได้ ตอนขายไม่ต้องประกาศ โฉนด นส.4 จะเป็น ครุฑสีแดง สามารถซื้อขาย จำนองได้ สามารถโอนกรรมสิทธิ์ได้

56

57 การขออนุญาตใช้ที่ดินเพื่อกิจการสาธารณูปโภคและ กิจการอื่นๆ ในเขตปฏิรูปที่ดิน มิถุนายน พ. ศ. ๒๕๕๗ กลุ่มพิจารณาโครงการ ส่วนวิศวกรรมบริหาร

58 ความหมาย เขตปฏิรูปที่ดิน หมายถึง เขตที่ดินที่พระราชกฤษฎีกา กำหนดเป็นเขตปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง 1) ระเบียบคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมว่า ด้วยการมอบหมายให้เลขาธิการสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อ เกษตรกรรมพิจารณาอนุญาตการใช้ที่ดินเพื่อกิจการ สาธารณูปโภคและกิจการอื่นๆ ในเขตปฏิรูปที่ดิน พ.ศ.2536 2) คำสั่งสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ที่ 50/2549 เรื่อง การกำหนดแบบและขั้นตอนแนวทางปฏิบัติ 1) ระเบียบคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมว่า ด้วยการมอบหมายให้เลขาธิการสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อ เกษตรกรรมพิจารณาอนุญาตการใช้ที่ดินเพื่อกิจการ สาธารณูปโภคและกิจการอื่นๆ ในเขตปฏิรูปที่ดิน พ.ศ.2536 2) คำสั่งสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ที่ 50/2549 เรื่อง การกำหนดแบบและขั้นตอนแนวทางปฏิบัติ

59 ขั้นตอนการขออนุญาตในเขตปฏิรูปที่ดิน 1. ส่วนราชการยื่นคำขออนุญาตใช้ที่ดินสำนัก ปฏิรูปที่ดินจังหวัดนั้นๆ ในที่ที่สปก.ตั้งอยู่ พร้อมเอกสาร ดังนี้ - คำขออนุญาตใช้ที่ดินในเขต สปก. (สป.ก.๔-๒๙ก.) -บันทึกรับรองการปฏิบัติตามเงื่อนไขการได้รับ อนุญาตการใช้ที่ดิน -แผนที่จุดที่ตั้งของที่ดิน 1:50,000 -แผนผังแสดงบริเวณและสิ่งก่อสร้างในที่ดินซึ่งผู้ ขออนุยาตลงชื่อกำกับขนาดเอ๓ 1. ส่วนราชการยื่นคำขออนุญาตใช้ที่ดินสำนัก ปฏิรูปที่ดินจังหวัดนั้นๆ ในที่ที่สปก.ตั้งอยู่ พร้อมเอกสาร ดังนี้ - คำขออนุญาตใช้ที่ดินในเขต สปก. (สป.ก.๔-๒๙ก.) -บันทึกรับรองการปฏิบัติตามเงื่อนไขการได้รับ อนุญาตการใช้ที่ดิน -แผนที่จุดที่ตั้งของที่ดิน 1:50,000 -แผนผังแสดงบริเวณและสิ่งก่อสร้างในที่ดินซึ่งผู้ ขออนุยาตลงชื่อกำกับขนาดเอ๓

60 ขั้นตอนการขออนุญาตในเขต สปก.(ต่อ) - บัญชีรายชื่อผู้ที่เสียสละหรือยินยอม พร้อมคำขอ สละสิทธิ ตาม สปก๔-๕๒ก. กรณีมีการจัดที่แล้ว หรือ หนังสือยินยอมของผู้ครอบครองที่ดิน กรณียังไม่ได้จัด ที่ดิน - กรณีส่วนราชการขอใช้พื้นที่มากกว่า 20 ไร่ ให้ จัดส่ง รายงานเหตุผลและความจำเป็น ซึ่งได้รับความ เห็นชอบจาก เจ้าสังกัดระดับกระทรวงแล้ว ประกอบคำ ขออนุญา -แนบหนังสือมอบอำนาจให้ดำเนินการแทนอธิบดี 2.สปก.จังหวัดทำหน้าที่ตรวจสอบหลักฐาน ต้องมี ความเห็นของ ผู้ปกครองท้องที่ ถ้าหากเนว่ามีผลกระทบ ต่อสิ่งแวดล้อมต้องผ่านความเห็นชอบชุมชนท้องถิ่น หรือ หากต้องผ่านความเห็นของหน่วยงานอื่นก็ต้องดำเนินการ - บัญชีรายชื่อผู้ที่เสียสละหรือยินยอม พร้อมคำขอ สละสิทธิ ตาม สปก๔-๕๒ก. กรณีมีการจัดที่แล้ว หรือ หนังสือยินยอมของผู้ครอบครองที่ดิน กรณียังไม่ได้จัด ที่ดิน - กรณีส่วนราชการขอใช้พื้นที่มากกว่า 20 ไร่ ให้ จัดส่ง รายงานเหตุผลและความจำเป็น ซึ่งได้รับความ เห็นชอบจาก เจ้าสังกัดระดับกระทรวงแล้ว ประกอบคำ ขออนุญา -แนบหนังสือมอบอำนาจให้ดำเนินการแทนอธิบดี 2.สปก.จังหวัดทำหน้าที่ตรวจสอบหลักฐาน ต้องมี ความเห็นของ ผู้ปกครองท้องที่ ถ้าหากเนว่ามีผลกระทบ ต่อสิ่งแวดล้อมต้องผ่านความเห็นชอบชุมชนท้องถิ่น หรือ หากต้องผ่านความเห็นของหน่วยงานอื่นก็ต้องดำเนินการ

61 ขั้นตอนการขออนุญาตใช้ที่ดินเขต สปก ( ต่อ ). 3 สปก.จังหวัดนำเรื่องการขอใช้ที่ดิน เสนอ คณะกรรมการปฏิรูปที่จังหวัด (คปจ.) เพื่อขอความเห็นชอบ และส่งเรื่องต่อ สปก. ส่วนกลาง 4 เมื่อ สปก.ส่วนกลางอนุญาต พร้อม ออกหนังสืออนุญาตให้ใช้ที่ดินเขตปฏิรูป (สปก๔-๓๑ ก.) ส่งให้ สปก.จังหวัดมอบผู้ขอ ใช้ต่อไป

62 ขั้นตอนการขออนุญาต ส่วนราชการ

63

64 เงินหรือทรัพย์สินที่มีผู้บริจาค ระเบียบ กค. ว่าด้วยการรับเงิน/ทรัพย์สินที่มีผู้บริจาค พ.ศ. 2526 ที่ สธ 0209/2/ ว 081 วันที่ 23 มกราคม 2529 หลักเกณฑ์การรับบริจาคอาคารที่มีผู้ก่อสร้างให้ส่วนราชการ สธ ที่ สธ 0201/ 540 วันที่ 29 มกราคม 2535 การบริจาคที่ดินและสิ่งก่อสร้างให้กับ สธ ที่ สธ 0212 /21/ 3784 วันที่ 18 สิงหาคม 2543 วิธีปฏิบัติและหลักเกณฑ์ในการบริจาคอาคารสิ่งก่อสร้าง

65 การรับเงิน 1. ส่วนราชการผู้รับ พิจารณา.... - ประโยชน์ที่ราชการจะได้รับ - ไม่มีประโยชน์ต่อผู้ใด - เมื่อไม่ตรงกับอำนาจหน้าที่ ให้ส่งมอบส่วน ราชการที่มีอำนาจหน้าที่โดยตรง 2. ตรวจสอบเอกสารสิทธิให้สมบูรณ์ 3. ห้ามกำหนดเป็นเงื่อนไขการประมูลซื้อทรัพย์สิน ว่าต้องบริจาค หากจะกำหนด ต้องขออนุมัติ กค.

66 การจ่ายเงิน 1.ระบุวัตถุประสงค์ให้ก่อหนี้ตามวัตถุประสงค์ นั้น 2.ถ้าไม่ระบุ/ระบุไม่ชัดเจน นำไปก่อหนี้ใน กิจการของส่วนราชการนั้น หน.ส่วนราชมี อำนาจอนุมัติ ก่อหนี้ / จ่ายเงิน 1.ระบุวัตถุประสงค์ให้ก่อหนี้ตามวัตถุประสงค์ นั้น 2.ถ้าไม่ระบุ/ระบุไม่ชัดเจน นำไปก่อหนี้ใน กิจการของส่วนราชการนั้น หน.ส่วนราชมี อำนาจอนุมัติ ก่อหนี้ / จ่ายเงิน การเก็บรักษา และการตรวจสอบ 1.เงินสด เท่าที่ กค.กำหนด 2.หลักฐานการจ่ายให้ สตง. ตรวจสอบ 1.เงินสด เท่าที่ กค.กำหนด 2.หลักฐานการจ่ายให้ สตง. ตรวจสอบ

67 ก่อนการก่อสร้าง ต้อง ปรากฏแน่ชัดว่า ที่ดินนั้นเป็น กรรมสิทธิ์ของราชการ โดย 1. จดทะเบียน โอนกรรมสิทธิ์ 2. เช่า

68 สรุปหนังสือ สป แนวปฎิบัติขอรับบริจาค ขออนุมัติ สป ก่อนรับบริจาค สป ไม่มีนโยบายจัดสรรงบประมาณสมทบ ใช้แบบแปลนมาตรฐานของกองแบบเท่านั้น การควบคุมงาน ต้องมีวิศวกรของราชการ คุมงานด้วย ขออนุมัติ สป ก่อนรับบริจาค สป ไม่มีนโยบายจัดสรรงบประมาณสมทบ ใช้แบบแปลนมาตรฐานของกองแบบเท่านั้น การควบคุมงาน ต้องมีวิศวกรของราชการ คุมงานด้วย

69 นายธีรเดช บุญวาศ 10 สค 59


ดาวน์โหลด ppt นายธีรเดช บุญวาศ. ที่ดิน ตาม ประมวล กม.ที่ดิน พศ.2497 มาตร 1 หมายถึง ที่ดินทั่วไป ภูเขา ห้วย หนอง คลอง บึง บาง ลำน้ำ ทะเลสาบ เกาะ ชายทะเล หมายถึง ที่ดินทั่วไป.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google