งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

1.การน้อมนำและประยุกต์ใช้ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2.คนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา อย่างมีส่วนร่วม 3.การสนับสนุนและส่งเสริมแนวคิด การปฏิรูปประเทศ 4.การพัฒนาสถาบันการอาชีวศึกษา.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "1.การน้อมนำและประยุกต์ใช้ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2.คนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา อย่างมีส่วนร่วม 3.การสนับสนุนและส่งเสริมแนวคิด การปฏิรูปประเทศ 4.การพัฒนาสถาบันการอาชีวศึกษา."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 1.การน้อมนำและประยุกต์ใช้ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2.คนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา อย่างมีส่วนร่วม 3.การสนับสนุนและส่งเสริมแนวคิด การปฏิรูปประเทศ 4.การพัฒนาสถาบันการอาชีวศึกษา สู่ความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน กรอบแนวคิดและหลักการ ในช่วงของแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) ประเทศ จะยังคงประสบสภาวะ แวดล้อมและบริบทของการ เปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่อาจ ก่อให้เกิดความเสี่ยงทั้งจาก ภายในและภายนอกประเทศ แนวคิดและหลักการในการจัดทำยุทธศาสตร์สถาบันอาชีวศึกษา

2 บริบทการเปลี่ยนแปลงและภาพอนาคตประเทศไทย บริบทภายใน 1. ภาพเศรษฐกิจ ไทยในกรณีฐาน (ภายใต้สมมติฐาน) 2. การเข้าสู่ สังคมผู้สูงอายุ การเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุของประเทศไทยส่งผลให้อัตราการพึ่งพิงของประชากรวัยแรงงานต้องแบกรับ การดูแลผู้สูงอายุเพิ่มสูงขึ้น ต้องนำเข้าแรงงานไร้ทักษะจากประเทศเพื่อนบ้าน ส่งผลกระทบต่อตลาดแรงงาน ไทยในด้านการยกระดับรายได้และทักษะฝีมือแรงงานช้าลง ผลิตภาพแรงงานไทยอาจเพิ่มขึ้นช้า ปัญหา การค้ามนุษย์ และการขาดการคุ้มครองทางสังคมขั้นพื้นฐานที่จำเป็น ซึ่งจะเป็นปัญหาต่อเนื่องที่ส่งผลต่อ คุณภาพชีวิตของคนไทย การขยายตัวใน กรณีฐานดังกล่าว ทำให้เศรษฐกิจ ไทยมีความเสี่ยงที่ จะตกอยู่ภายใต้กับ ดักประเทศรายได้ ปานกลางอย่าง ถาวรมากขึ้น เมื่อ คำนึงถึงเงื่อนไขใน ระยะยาว

3 บริบทการเปลี่ยนแปลงและภาพอนาคตประเทศไทย (ต่อ) บริบทภายใน (ต่อ) 3. ความเหลื่อม ล้ำ ความเหลื่อมล้ำเป็นปัญหาสำคัญในสังคมไทยทั้งความเหลื่อมล้ำด้านรายได้ โอกาสการเข้าถึงบริการภาครัฐ และการเข้าถึงทรัพยากรธรรมชาติ นำไปสู่ความขัดแย้งในสังคม และเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาประเทศ ทั้งยังส่งผลให้เกิดปัญหาต่างๆ อาทิ ปัญหาการทุจริตคอร์รัปชั่น คนยากจนขาดโอกาสการเข้าถึงบริการ การศึกษาและสาธารณสุขที่มีคุณภาพอย่างเท่าเทียม การแย่งชิงทรัพยากร การรับรู้ข้อมูลข่าวสาร และปัญหา อาชญากรรมและยาเสพติด 4.ความเป็นเมือง การเปลี่ยนแปลงพื้นที่ชนบทไปสู่ความเป็นเมืองมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น จำเป็นต้องมีการลงทุนโครงสร้างพื้นฐาน การจัดบริการสาธารณะ เพื่อรองรับการเติบโตของเมือง ควบคู่กับการลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม 5.การบริหาร จัดการภาครัฐ (1)ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2558 วางกรอบด้านการบริหารจัดการภาครัฐ เอื้อต่อ การพัฒนาธรรมาภิบาลภาครัฐ มีมาตราสำคัญที่จะช่วยสนับสนุนให้การบริหารจัดการและการปรับปรุง ประสิทธิภาพกลไกการพัฒนา ได้แก่ มาตรา 69 มาตรา 82 และมาตรา 89 เป็นต้น (2)ภาคประชาสังคมให้ความสำคัญกับการบริหารจัดการของภาครัฐ อาทิ มูลนิธิ สถาบันการศึกษา หน่วยงานวิจัยต่างๆ นำเสนอผลการติดตาม วิเคราะห์ สังเคราะห์ เรื่องที่เกี่ยวกับการบริหารจัดการประเทศ และการปรับปรุงประสิทธิภาพกลไกการพัฒนา

4  ความต้องการและการผลิตกำลังอาชีวศึกษาที่ไม่สอดคล้องกันทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ (Mismatch)  การพัฒนาครูและบุคลากรอาชีวศึกษาให้มีคุณภาพและมาตรฐานเป็นเงื่อนไขสำคัญของการจัด การศึกษาระดับอาชีวศึกษา ( หลักสูตร กระบวนการเรียนการสอนทั้งความรู้ทางทฤษฏีและความ เชี่ยวชาญปฏิบัติ มาตรฐาน )  ความเร็วของการเปลี่ยนแปลงบริบทภายในประเทศและโลกที่ผลต่อความต้องการกำลังคนที่ เหมาะสม ( คุณภาพ สมรรถนะ ) ประเด็นท้าทาย  การจัดการศึกษาอาชีวศึกษามีความสำคัญ ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของ ประเทศ  อาชีวศึกษาควรเป็นทางเลือกของผู้เรียน อย่างแท้จริง : สร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ และสามารถพัฒนาตน สังคม และประเทศชาติ เป็น ส่วนหนึ่งของกำลังแรงงานในตลาดแรงงานภูมิภาค / โลก

5 ฐานอุตสาหกรรมหลัก แหล่งผลิตอาหาร พัฒนาคน ฐานทรัพยากร ธรรมชาติฐานทรัพยากร ธรรมชาติ วัฒนธรรมล้านนา เชื่อมโยงอนุภูมิภาคฯ เกษตรอินทรีย์ แหล่งพลังงาน ทดแทนแหล่งพลังงาน ทดแทน ประตูสู่อินโดจีน เหนือ อีสาน กลาง ใต้ บ ทบาทภาค แหล่งอุตสาหกรรมใหม่ ความมั่นคงจังหวัดชายแดน

6 บริบทการเปลี่ยนแปลงและภาพอนาคตประเทศไทย (ต่อ) บริบทภายนอก 1. การเข้าสู่สังคม ผู้สูงอายุของโลก องค์การสหประชาชาติประเมินสถานการณ์ว่าในช่วงปี 2544-2643 (2001-2100) จะเป็น ศตวรรษแห่งผู้สูงอายุ นับเป็นโอกาสอย่างมากสำหรับประเทศไทยที่จะพัฒนาด้านธุรกิจและ ลงทุนด้านการค้าและบริการ ด้านการท่องเที่ยว ที่พักอาศัย การให้บริการสุขภาพในรูปแบบ ต่างๆ รวมทั้งเป็นโอกาสของแรงงานไทยในการไปทำงานในประเทศที่พัฒนาแล้ว 2. การปรับเปลี่ยนด้าน เทคโนโลยีและ นวัตกรรมที่รวดเร็ว การปรับเปลี่ยนที่รวดเร็วด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงใน รูปแบบการผลิตและการค้าที่มีการใช้เทคโนโลยีมาเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ภาคการผลิตที่ ปรับตัวตามการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีไม่ทัน ขาดการลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนา และนวัตกรรม จะทำให้ความสามารถในการแข่งขันลดลง

7 บริบทการเปลี่ยนแปลงและภาพอนาคตประเทศไทย (ต่อ) บริบทภายนอก (ต่อ) 3. ความเชื่อมโยงกับ เศรษฐกิจในระดับ ภูมิภาคและระดับโลกที่ สูงขึ้น (1)แนวโน้มการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศเพื่อนบ้าน จะมีผลต่อทิศทางการวางแผน พัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐานของประเทศไทย (2)การเปิดเสรีภายใต้ข้อตกลงประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน จะนำมาซึ่งโอกาสที่สำคัญๆ หลายประการต่อการยกระดับศักยภาพการขยายตัวของเศรษฐกิจไทย (3)การเปิดเสรีทางการค้ากับประเทศที่พัฒนาแล้ว ผู้ประกอบการภายในประเทศโดยเฉพาะ วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมต้องปรับตัวเพื่อพัฒนาผลิตภาพการผลิตและรูปแบบ ธุรกิจ พัฒนามาตรฐานของอุตสาหกรรม ตลอดจนพัฒนาสินค้าที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และมีความรับผิดชอบต่อสังคม/ชุมชนมากขึ้น (4)ตลาดเงิน ตลาดทุน และเศรษฐกิจโลกยังมีความเสี่ยงที่จะผันผวนตลอดช่วงแผนฯ 12 (5)ความเลื่อนไหลของกระแสวัฒนธรรมโลก ส่งผลให้มีทั้งโอกาสและความเสี่ยง ต่อวิถีชีวิต ทัศนคติ และความเชื่อในสังคม ตลอดจนความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล กระบวนการเรียนรู้ และพฤติกรรมการบริโภคของคนในประเทศ

8 บริบทการเปลี่ยนแปลงและภาพอนาคตประเทศไทย (ต่อ) 4. การเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ (1)การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate Change) จะส่งผลกระทบซ้ำเติมต่อสถานการณ์ ความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้มีความรุนแรงมากขึ้น (2)การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศยังส่งผลให้ภัยพิบัติทางธรรมชาติมีแนวโน้มเกิด บ่อยครั้งขึ้นและมีความรุนแรงมากขึ้น ข้อตกลงระหว่างประเทศเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศจะทวีความเข้มข้นและเป็น แรงกดดันให้ประเทศไทยต้องเตรียมพร้อมรับภาระในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ภายใต้ กระแสการแข่งขันทางการค้า 5. วาระการพัฒนา ของโลกภายหลัง ปี ค.ศ. 2015 (Post 2015 Agenda) ประเด็นสำคัญของวาระการพัฒนาโลกภายหลังปี ค.ศ. 2015 คือ การจัดทำเป้าหมายการพัฒนา ที่ยั่งยืนในกรอบสหประชาชาติ (Sustainable Development Goals–SDGs) ในช่วงเวลา 15 ปี โดยสหประชาชาติมีกำหนดจะรับรองในเดือนกันยายน 2558 ในที่ประชุม UNGA ประกอบด้วย เป้าประสงค์ (Goal) จำนวน 17 ข้อ และเป้าหมาย (Target) จำนวน 169 ข้อ ซึ่งจะส่งผลกระทบ กับการวางแนวทางการพัฒนาประเทศในอนาคต บริบทภายนอก (ต่อ)

9 กรอบวิสัยทัศน์และเป้าหมาย “ เป็นสถาบันที่ผลิตและพัฒนากำลังคนด้านวิชาชีพสายปฏิบัติการ ที่ได้มาตรฐานสากล ด้วยพลังความร่วมมือจากทุกภาคส่วน ” ” กรอบวิสัยทัศน์ การพัฒนาศักยภาพคนให้สนับสนุนการเจริญเติบโต ของประเทศและการสร้างสังคมสูงวัยอย่างมีคุณภาพ การลดความเหลื่อมล้ำในสังคมการสร้างการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ และสังคมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เป้าหมาย พันธกิจ

10 ส่งเสริม สนับสนุน กำกับคุณภาพ และมาตรฐาน (System Oversight Unit) ส่งเสริม สนับสนุน กำกับคุณภาพ และมาตรฐาน (System Oversight Unit) เป้าหมายปฏิรูปอาชีวศึกษา : ผู้สำเร็จอาชีวศึกษาที่มีคุณภาพและสมรรถนะตามมาตรฐานสากล นโยบาย และ ยุทธศาสต ร์ (Strategy Unit) นโยบาย และ ยุทธศาสต ร์ (Strategy Unit) คลัง สมอง / องค์ความรู้ (Intelligent Unit) คลัง สมอง / องค์ความรู้ (Intelligent Unit) ปฏิบัติกา ร (Action Unit) ปฏิบัติกา ร (Action Unit) นโยบาย ทิศทาง ยุทธศาสตร์ ระบบและเครือข่ายความร่วมมือ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ ระบบการแนะแนวการศึกษาเพื่อ อาชีพ เสริมสร้างภาพลักษณ์และ สื่อสารสังคม สถาบันการอาชีวศึกษา วิทยาลัย / โรงเรียนเอกชน กรอบคุณวุฒิและหลักสูตร ระบบวิจัยและพัฒนา การจัดการความรู้ นวัตกรรมการเรียนรู้ อาชีวศึกษา ระบบฐานข้อมูลและ ICT ระบบบริหารจัดการ และ ทรัพยากร ระบบครูและบุคลากร ระบบการควบคุม คุณภาพและมาตรฐาน ระบบติดตามประเมินผล

11

12

13 การยกระดับศักยภาพการ แข่งขันและการหลุดพ้นจาก กับดักประเทศรายได้ปาน กลางสู่รายได้สูง การพัฒนาศักยภาพคนตาม ช่วงวัยและ การปฏิรูประบบเพื่อสร้าง สังคมสูงวัยอย่างมีคุณภาพ การลดความเหลื่อมล้ำใน สังคม การรองรับการเชื่อมโยง ภูมิภาค และความเป็น เมือง การสร้างการเจริญเติบโต ทางเศรษฐกิจและสังคมที่ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม การบริหารราชการ แผ่นดิน ที่มีประสิทธิภาพ แนวทางการพัฒนา -ส่งเสริมด้านการวิจัย และพัฒนา -การพัฒนาผลิตภาพ แรงงาน -การส่งเสริม ผู้ประกอบการที่เข้มแข็ง และพาณิชย์ดิจิตอล -การลงทุนโครงสร้าง พื้นฐาน -ปรับโครงสร้างการผลิต -การพัฒนาศักยภาพ คนในทุกช่วงวัยให้ สนับสนุน การเจริญเติบโตของ ประเทศ -การยกระดับคุณภาพ การศึกษาและการ เรียนรู้ให้มีคุณภาพ เท่าเทียมและทั่วถึง -การพัฒนาด้าน สุขภาพ -การสร้าง สภาพแวดล้อมและ นวัตกรรมที่เอื้อต่อ การดำรงชีพในสังคม สูงวัย -การยกระดับรายได้และ สร้างโอกาสในการ ประกอบอาชีพ -การจัดบริการทาง สังคมให้ทุกคนตาม สิทธิขั้นพื้นฐาน และ เน้นการสร้างภูมิคุ้มกัน ระดับปัจเจกและสร้าง การมีส่วนร่วมใน กระบวนการตัดสินใจใน การพัฒนาประเทศ -การสร้างความเสมอ ภาคในการเข้าถึง ทรัพยากร -การเข้าถึงกระบวนการ ยุติธรรมอย่างเสมอภาค -การลงทุนด้าน โครงสร้างพื้นฐานและ สิ่งอำนวยความสะดวก ของเมือง -การพัฒนาด้านการ ขนส่งและโลจิสติกส์ เชื่อมโยงกับเพื่อนบ้าน -ส่งเสริมการลงทุน การค้าชายแดน และ การจัดตั้งเขตพัฒนา เศรษฐกิจพิเศษ -การรักษาทุนทางธรรมชาติ เพื่อการเติบโตสีเขียว -ส่งเสริมการบริโภคที่เป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อม -ส่งเสริมการผลิต การลงทุน และการสร้างงานสีเขียว -การจัดการมลพิษและรักษา คุณภาพสิ่งแวดล้อม -พัฒนาความร่วมมือด้าน สิ่งแวดล้อมระหว่างประเทศ -เพิ่มขีดความสามารถในการ ปรับตัวเพื่อรองรับการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และการบริหารจัดการเพื่อลด ความเสี่ยงด้านภัยพิบัติ -การสร้างความโปร่งใส -การพัฒนาบุคลากร ภาครัฐ -การสร้างรูปแบบการ พัฒนา อปท. ให้ เหมาะสม -การสร้างระบบ ตรวจสอบ ติดตามและ ประเมินผล ที่มี ประสิทธิภาพ

14 ปัจจัยเสี่ยงที่ส่งผลต่อการพัฒนาคน 1. โครงสร้างประชากรมีความไม่สมดุลทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ 1. โครงสร้างประชากรมีความไม่สมดุลทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ วัยเด็ก มีอัตราการเกิดลดลงและมีพัฒนาการด้านสติปัญญา/อารมณ์/สังคมในระดับต่ำ วัยแรงงานมีจำนวนลดลงและผลิตภาพอยู่ในระดับต่ำ วัยสูงอายุส่วนใหญ่ที่มี ปัญหาสุขภาพและความรู้ต่ำ ส่งผลต่อการขยายตัวทางเศรษฐกิจและ ขีดความสามารถในการพัฒนาประเทศ 2. ความเสื่อมถอยทางค่านิยมไทยและสถาบันทางสังคมมีแนวโน้มอ่อนแอลง 2. ความเสื่อมถอยทางค่านิยมไทยและสถาบันทางสังคมมีแนวโน้มอ่อนแอลง จากการไหลเข้ามาของวัฒนธรรมต่างชาติและกระแสวัฒนธรรมเสมือนจริง ทำให้ สังคมไทยมีลักษณะต่างคนต่างอยู่ มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ลดลง และรวมตัวเป็น กลุ่มเพื่อตอบสนองความต้องการของตนเองเป็นหลัก นำไปสู่ปัญหาสังคม ที่หลากหลาย 3. การจัดบริการทางสังคมมีปัญหาด้านคุณภาพและการกระจายที่ทั่วถึง ทุกพื้นที่ 3. การจัดบริการทางสังคมมีปัญหาด้านคุณภาพและการกระจายที่ทั่วถึง ทุกพื้นที่ มีปัญหาด้านคุณภาพการศึกษาโดยเฉพาะโรงเรียนขนาดเล็กในชนบท ความสามารถของผู้สำเร็จการศึกษาไม่สอดคล้องกับความต้องการของนายจ้าง ขาดการบริหารจัดการการศึกษาตลอดชีวิตที่เหมาะสม และการให้บริการในแต่ละ ระบบประกันสุขภาพมีความไม่เท่าเทียมกัน ส่งผลกระทบต่อความเหลื่อมล้ำของ การได้รับบริการ


ดาวน์โหลด ppt 1.การน้อมนำและประยุกต์ใช้ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2.คนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา อย่างมีส่วนร่วม 3.การสนับสนุนและส่งเสริมแนวคิด การปฏิรูปประเทศ 4.การพัฒนาสถาบันการอาชีวศึกษา.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google