ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยนงนุช หงสกุล ได้เปลี่ยน 9 ปีที่แล้ว
1
ชี้แจงและถ่ายทอดตัวชี้วัด การประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรอง
การประชุม ชี้แจงและถ่ายทอดตัวชี้วัด การประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรอง การปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ 2558 วันที่ 12 มีนาคม 2558 ณ ห้องประชุมนรพัฒน์ สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ 1
2
การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ การพัฒนาองค์กรตามแนวทาง PMQA
กระบวนการพัฒนาระบบราชการ ปี 2558 การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ 1 การพัฒนาองค์กรตามแนวทาง PMQA 2 2
3
การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ
กระบวนการพัฒนาระบบราชการ ปี 2558 การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ 1 3
4
กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการปี 2558 กรมอนามัย
การประเมินประสิทธิผล (ร้อยละ 65) 1. ตัวชี้วัดตามภารกิจหลักของกระทรวง/ ยุทธศาสตร์ประเทศ/ภารกิจกรม และตัวชี้วัดของกระทรวง ที่มี เป้าหมายร่วมกัน (Joint KPI) 1.1 เด็กมีพัฒนาการสมวัย 1.2 เด็กนักเรียนมีภาวะอ้วน 1.3 อัตราการคลอดแม่วัยรุ่น 1.4 รพ.สต./ศสม.ให้บริการสุขภาพช่องปาก 1.5 สถานการณ์ด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ 1.6 การจัดการมูลฝอยติดเชื้อ การประเมินคุณภาพ (ร้อยละ 10) 2. คุณภาพการให้บริการประชาชน (Service Level Agreement : SLA) (กระบวนการรับรองมาตรฐาน โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร) มิติภายนอก (ร้อยละ 75) มิติภายใน (ร้อยละ 25) การประเมินประสิทธิภาพ (ร้อยละ 15) 3. การเบิกจ่ายงบประมาณ (5) (รายจ่ายภาพรวม /รายจ่ายลงทุน) 4. การประหยัดพลังงาน (5) (ไฟฟ้า / น้ำมัน) 5. การพัฒนาประสิทธิภาพระบบ (5) สารสนเทศภาครัฐ การพัฒนาองค์การ (ร้อยละ 10) 6. การพัฒนาสมรรถนะองค์การ (5) (ทุนมนุษย์ สารสนเทศ และ วัฒนธรรมองค์การ) 7. ระบบคุณธรรมและความโปร่งใส (5) ในการดำเนินงาน 4
5
การถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายสู่หน่วยงาน
หน่วยงานกำหนดตัวชี้วัดตามยุทธศาสตร์หรือภารกิจหลัก หน่วยงานที่เกี่ยวข้องรับผิดชอบตัวชี้วัดกรม หน่วยวิชาการ ศอ.1-12 สำนักส่งเสริมสุขภาพ รับผิดชอบ กระบวนงานรับรองมาตรฐานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร - ทุกหน่วยงาน พัฒนาองค์กรตามแนวทาง PMQA - เจ้าภาพหมวด ดูภาพรวมของกรม ทุกหน่วยงาน - เบิกจ่ายงบประมาณ - ประหยัดพลังงาน - ระบบคุณธรรมและความโปร่งใส กองแผนงานรับผิดชอบระบบสารสนเทศภาครัฐ 5
6
กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองฯ
ระดับหน่วยงาน ปีงบประมาณ พ.ศ.2558 ประเด็นการประเมินผล ตัวชี้วัด คะแนน มิติภายนอก การประเมินประสิทธิผล 1. ตัวชี้วัดตามยุทธศาสตร์และภารกิจหลักของหน่วยงาน 500 การประเมินคุณภาพ ไม่กำหนดเป็นตัวชี้วัด - มิติภายใน การประเมินประสิทธิภาพ 2. ร้อยละความสำเร็จของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ 100 3. ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการ ประหยัดพลังงาน 4. ระดับคุณธรรมและความโปร่งใส การพัฒนาองค์การ 5. ระดับความสำเร็จของการพัฒนาองค์การตามแนวทางPMQA 200 รวม 1,000 6
7
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
(ตัวชี้วัดศูนย์อนามัยที่ 1-12) เจ้าภาพ : สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ 7
8
สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์
ตัวชี้วัดที่ 1.3 จำนวนของรพ.สป.ผ่านเกณฑ์ มาตรฐาน YFHS ฉบับบูรณาการ สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ คำอธิบาย วัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมให้รพ.จัดบริการสุขภาพและอนามัยการเจริญพันธุ์ที่เป็นมิตรกับวัยรุ่นและเยาวชนอย่างมีคุณภาพตามมาตรฐาน YFHS ฉบับบูรณาการ โรงพยาบาลสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข : รพช. รพ.สมเด็จพระยุพราช รพ.ทั่วไป และรพ.ศูนย์ ที่เข้าร่วมโครงการ และผ่านการอบรมเพื่อการจัดตั้งคลินิกวัยรุ่น มีจำนวน 855 แห่ง โรงพยาบาลผ่านเกณฑ์การประเมินและรับรองโรงพยาบาลตามมาตรฐาน YFHS ฉบับบูรณาการ : รพ.มีการจัดบริการ “คลินิกวัยรุ่น” ตามองค์ประกอบของมาตรฐาน องค์ประกอบ คือ 1)การบริหารจัดการ 2)การเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายและการสร้างความต้องการในการใช้บริการ 3) บริการที่ครอบคลุมความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย 4)ระบบบริการที่มีประสิทธิภาพ และเป็นมิตรต่อวัยรุ่น และผ่านเกณฑ์ในระดับที่ 2 ในทุกองค์ประกอบ 8 8
9
มาตรฐาน บริการสุขภาพ ที่เป็นมิตรสำหรับ วัยรุ่นและเยาวชน ฉบับบูรณาการ
องค์ประกอบที่ 2 การเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย และการสร้างความต้องการ ในการใช้บริการ องค์ประกอบที่ 3 บริการที่ครอบคลุม ความต้องการ ของกลุ่มเป้าหมาย องค์ประกอบที่ 4 ระบบบริการที่มีประสิทธิภาพ และเป็นมิตรต่อวัยรุ่น องค์ประกอบที่ 1 การบริหารจัดการ 2.1 เครือข่าย 2.2 การประชาสัมพันธ์ 2.3 การเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย 3.1 บริการให้ข้อมูล 3.2 บริการให้การปรึกษา 3.3 บริการครอบคลุมการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกัน รักษา และฟื้นฟู 3.4 การดูแลต่อเนื่องและการส่งต่อ 1.1 วิสัยทัศน์ พันธกิจ และนโยบาย 1.2 คณะทำงาน/คณะกรรมการ 1.3 แผนปฏิบัติงาน หรือโครงการ/กิจกรรม 1.4 ระบบข้อมูล สารสนเทศ และการจัดการความรู้ 1.5 การสื่อสารภายใน 1.6 การสนับสนุนทรัพยากร 1.7 การกำกับ ติดตาม และประเมินผล เริ่มจากปีพ.ศ กรมอนามัยได้จัดทำโครงการพัฒนาบริการสุขภาพและอนามัยการเจริญพันธุ์ นำแนวคิดของ Adolescent Friendly Health Services (AFHS) ตามแนวทางของWHO และนำไปให้โรงพยาบาลศูนย์ รพท.และรพช.และ รพ.สังกัดกรมอนามัยรวม 12 แห่ง ทดลองใช้และขยายการใช้ต่อภายใต้โครงการวัยเรียนวัยใสอนามัย ดี๊ ดี ที่เป็นการบูรณาการงานส่งเสริมสุขภาพ ได้แก่ อนามัยการเจริญพันธุ์ ทันตสุขภาพ และโภชนาการ ซึ่งสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ(สปสช.)สนับสนุนงบประมาณ ปี2552 การจัดทำมาตรฐานบริการสุขภาพที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่นและเยาวชน (Youth Friendly Health Services: YFHS ) ที่ได้รับความร่วมมือจากกรมสุขภาพจิต และกรมควบคุมโรค ซึ่งใช้เป็นเครื่องมือในการประเมินตนเองและการพัฒนาโรงพยาบาลในการจัดบริการสุขภาพที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่น และมีการอบรมผู้ให้บริการที่เป็นมิตรสำหรับโรงพยาบาล สังกัด สป. ใน 76 จังหวัด และเริ่มมีการเยี่ยมพัฒนาและประเมินโรงพยาบาลตามแนวทางมาตรฐานYFHS ในปี จนถึงปัจจุบัน 4.1 ระบบบริการ 4.2 สถานที่ให้บริการ 4.3 บุคลากรผู้ให้บริการ
10
บทบาทการดำเนินงานของกรมวิชาการในส่วนกลาง
1) เป็นกรรมการประเมินและรับรอง YFHS ระดับกรม 2) สุ่มเยี่ยมประเมิน YFHS ฉบับบูรณาการร่วมกัน 3 กรม 3) สนับสนุนการประเมินYFHS โดยจัดทีมร่วมประเมินฯ ตามการร้องขอ(สอวพ. / สำนักส่งเสริมและพัฒนาจิต ฯ / สถาบันสุขภาพจิตเด็ก ฯ / สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ 4)เป็นที่ปรึกษาในการประเมินรับรองYFHS 5) เสนอผลการประเมินรับรองYFHS เพื่อให้ปลัดกระทรวงลงนามในหนังสือแจ้งผลประเมิน
11
บทบาทการดำเนินงานของศูนย์อนามัย สคร
บทบาทการดำเนินงานของศูนย์อนามัย สคร. ศูนย์สุขภาพจิต ตามมาตรการ การจัดบริการที่เป็นมิตรในสถานบริการ 1. ชี้แจงและวางแผนการดำเนินงานร่วมกัน(สคร. ศูนย์สุขภาพจิต ศูนย์อนามัย สสจ. รพ.ในเขตรับผิดชอบ) 2. เยี่ยมประเมิน YFHS ฉบับบูรณาการร่วมกัน 3. สรุปผลการประเมินYFHS เสนอกรรมการประเมินและ รับรองส่วนกลาง 4. นิเทศติดตามการดำเนินงาน และจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในพื้นที่
12
ทีมเยี่ยมและพัฒนาระดับจังหวัด
พัฒนาคุณภาพบริการตามคู่มือแนวทางคลินิกวัยรุ่นและมาตรฐานYFHS (ฉบับบูรณาการ) โรงพยาบาล ประเมินตนเอง รพ. ที่พร้อม(คะแนน>/= 2.0 ) แจ้งความประสงค์ไปยัง สสจ.พร้อมส่งแบบประเมินตนเอง เยี่ยมเพื่อพัฒนาการดำเนินงานของโรงพยาบาลตามมาตรฐาน ฯ ทีมเยี่ยมและพัฒนาระดับจังหวัด ผ่าน 2.0 ขึ้นไป ไม่ผ่าน รายงานผลให้คณะกรรมการประเมิน ฯ ระดับเขต คณะกรรมการประเมินและรับรองระดับเขต เยี่ยมสำรวจและประเมินโรงพยาบาลที่ผ่านระดับ 2.0 ขึ้นไปเพื่อการ พิจารณาตัดสินและรับรองในระดับเขต รายงานผลการประเมินและรับรองมายังส่วนกลาง คณะกรรมการประเมินและรับรอง ส่วนกลาง พิจารณาและสรุปผลการประเมินรับรอง นำเสนอผลการประเมินรับรอง ฯ เสนอปลัดกระทรวงสาธารณสุข ให้ความเห็นชอบ และลงนาม เพื่อแจ้งผลการประเมินให้จังหวัดและโรงพยาบาลทราบ กระทรวงสาธารณสุข ดำเนินการมอบเกียรติบัตร และโล่ยกย่องเชิดชูเกียรติปีละครั้ง
13
เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับความสำเร็จตามเป้าหมาย
หน่วยงาน จำนวน รพ. ทั้งหมด ผลงานปี 2557 เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับความสำเร็จตามเป้าหมาย 20 40 60 80 100 สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ 855 408 แห่ง(47.72%) 342 385 428 470 513 ศูนย์อนามัยที่ 1 37 17 แห่ง (45.94%) 16 19 22 25 28 ศูนย์อนามัยที่ 2 33 16 แห่ง (48.48%) 18 23 26 ศูนย์อนามัยที่ 3 71 28 แห่ง (39.43%) 31 34 43 ศูนย์อนามัยที่ 4 67 30 แห่ง (44.77%) 32 35 38 41 ศูนย์อนามัยที่ 5 79 60 แห่ง (75.94%) 54 57 63 66 ศูนย์อนามัยที่ 6 117 66 แห่ง (56.41%) 69 72
14
เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับความสำเร็จตามเป้าหมาย
หน่วยงาน จำนวน รพ. ทั้งหมด ผลงาน ปี 2557 เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับความสำเร็จตามเป้าหมาย 20 40 60 80 100 ศูนย์อนามัยที่ 7 101 56 แห่ง(55.44%) 50 53 56 59 62 ศูนย์อนามัยที่ 8 52 12 แห่ง (23.07%) 19 23 26 29 32 ศูนย์อนามัยที่ 9 46 21 แห่ง (45.65%) 16 22 25 28 ศูนย์อนามัยที่ 10 58 แห่ง (58.00%) 54 57 63 66 ศูนย์อนามัยที่ 11 75 25 แห่ง (33.33%) 33 36 39 42 45 ศูนย์อนามัยที่ 12 77 19 แห่ง (24.67%) 34 38 41 44 47
15
หลักฐานอ้างอิง/แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล :
1. สรุปการประชุมชี้แจงแผน และขั้นตอนแนวทางการดำเนินงาน รวมทั้งการพัฒนาศักยภาพทีมผู้ประเมินของศูนย์อนามัย สคร. และศูนย์สุขภาพจิต 2. ข้อมูลรายงานผลการเยี่ยมประเมินรับรองโรงพยาบาลตามมาตรฐาน YFHS ฉบับบูรณาการ และการรายงานผลของศูนย์อนามัยตามรายไตรมาส 3. หนังสือราชการ แจ้งผลการเยี่ยมประเมินรับรองให้จังหวัด และโรงพยาบาล 15
16
สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์
อัตราการคลอดในมารดา อายุ ปี 16
17
เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับความสำเร็จตามเป้าหมาย
หน่วยงาน เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับความสำเร็จตามเป้าหมาย 20 40 60 80 100 อัตราการคลอดในมารดา อายุ ปี 55 54 53 52 51
18
ชี้แจงเกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิภาพ
18
19
ตัวชี้วัดที่ 2 ร้อยละความสำเร็จของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ
ตัวชี้วัดที่ 2 ร้อยละความสำเร็จของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ กองคลัง คำอธิบาย การพิจารณาผลสำเร็จของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ ประเมินจากอัตราการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ 2 ประเภท 1)การเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายภาพรวม 2)การเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายลงทุน การคำนวณวงเงินงบประมาณรายจ่ายภาพรวม ไม่รวมเงินงบประมาณที่ได้รับการจัดสรรเพิ่มเติมระหว่างปีงบประมาณ (รับโอนหลังวันที่ 1 ก.ค. 58) ใช้ข้อมูลการเบิกจ่ายจากระบบ GFMIS การให้คะแนน พิจารณาตามความสามารถในการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายภาพรวม/รายจ่ายลงทุน ของหน่วยงานเทียบกับวงเงินงบประมาณที่ได้รับ ทุกหน่วยงานต้องจัดทำคำรับรองตัวชี้วัดนี้ โดยการประเมินผลระดับหน่วยงาน จะแบ่งเกณฑ์การประเมินผลหน่วยงานเป็น 2 กลุ่ม คือ 1. หน่วยงานที่ไม่มีงบประมาณรายจ่ายลงทุน ประเมินผลตามเกณฑ์การให้คะแนน กรณีที่ 1 2. หน่วยงานที่มีงบประมาณรายจ่ายลงทุน ประเมินผลตามเกณฑ์การให้คะแนน กรณีที่ 2
20
กรณีที่ 1 หน่วยงานที่ไม่มีงบประมาณรายจ่ายลงทุน
เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน แบ่งเป็น 2 กรณี กรณีที่ 1 หน่วยงานที่ไม่มีงบประมาณรายจ่ายลงทุน ตัวชี้วัด น้ำหนัก เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับร้อยละของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ 20 40 60 80 100 ความสามารถในการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายภาพรวม - ไตรมาสที่ 2 0.50 49 51 53 55 56 - ไตรมาสที่ 3 0.25 70 72 74 76 77 - ไตรมาสที่ 4 90 92 94 96 97 รวม 1.0
21
เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับร้อยละของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ
กรณีที่ 2 หน่วยงานที่มีงบประมาณรายจ่ายลงทุน ตัวชี้วัด น้ำหนัก เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับร้อยละของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ 20 40 60 80 100 1. ความสามารถในการเบิกจ่ายเงิน งบประมาณรายจ่ายภาพรวม - ไตรมาสที่ 2 0.30 49 51 53 55 56 - ไตรมาสที่ 3 0.15 70 72 74 76 77 - ไตรมาสที่ 4 90 92 94 96 97 2. ความสามารถในการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายลงทุน 0.40 75 78 81 84 87 รวม 1.0 หลักฐานอ้างอิง 1. ข้อมูลการเบิกจ่ายงบประมาณจากระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) 2. รายงานวงเงินงบประมาณที่ประหยัดได้ (งบประมาณเหลือจ่าย) และไม่ได้นำเงินดังกล่าวไปใช้ในภารกิจหรือโครงการอื่นๆ
22
ตัวชี้วัดที่ 3 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการ สำนักงานเลขานุการกรม
ตามมาตรการประหยัดพลังงาน สำนักงานเลขานุการกรม คำอธิบาย ความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงาน : การที่หน่วยงานสามารถจัดการใช้ไฟฟ้าและน้ำมันเชื้อเพลิงภายในหน่วยงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีผลการใช้ไฟฟ้าและน้ำมันเชื้อเพลิงลดลงได้อย่างน้อย ร้อยละ 10 ของปริมาณการใช้มาตรฐาน การประหยัดพลังงาน พิจารณาจากการใช้พลังงาน 2 ชนิด ได้แก่ ไฟฟ้า และน้ำมันเชื้อเพลิง หน่วยงานที่มีบทบาทภารกิจเกี่ยวข้องต่อการบรรลุเป้าหมายตัวชี้วัด ต้องจัดทำคำรับรองฯ ตัวชี้วัดนี้ ซึ่งได้แก่ ทุกหน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย การประเมินผล พิจารณาจากความครบถ้วนของข้อมูลพื้นฐานสำหรับการประเมินปริมาณการใช้พลังงานมาตรฐานและค่าดัชนีการใช้พลังงาน ข้อมูลปริมาณการใช้พลังงานจริงของหน่วยงาน ข้อมูลการติดตามและรายงานผลการดำเนินงานตามมาตรการประหยัดพลังงาน ที่รายงานทางเว็บไซต์ และผลการประหยัดพลังงานตามเกณฑ์การให้คะแนน 22
23
เกณฑ์การให้คะแนน ประเด็นการประเมินผล
ไฟฟ้า น้ำมันเชื้อเพลิง ขั้นตอนที่ 1 มีการติดตามและรายงานผลการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานด้านไฟฟ้า/น้ำมัน ของปีงบประมาณ พ.ศ.2558 รอบ 6 เดือน และรอบ 12 เดือน ตามรูปแบบที่ สนพ.กำหนด 10 ขั้นตอนที่ 2 - มีการรายงานข้อมูลพื้นฐานสำหรับการประเมินปริมาณการใช้ไฟฟ้า/น้ำมัน และค่าดัชนีการใช้ไฟฟ้า/น้ำมัน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2558 - มีการรายงานข้อมูลปริมาณการใช้ไฟฟ้า/น้ำมันที่ใช้จริง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2558 ครบถ้วน 12 เดือน (ต.ค. 57 – ก.ย.58) 5 ขั้นตอนที่ 3 มีผลการคำนวณ EUI ด้านการใช้ไฟฟ้า/น้ำมัน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2558 (อยู่ในช่วง ถึง ) ขั้นตอนที่ 4 มีผลการคำนวณ EUI ด้านการใช้ไฟฟ้า/น้ำมัน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2558 (อยู่ในช่วง ถึง ) ขั้นตอนที่ 5 มีผลการคำนวณ EUI ด้านการใช้ไฟฟ้า/น้ำมัน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2558 (อยู่ในช่วง 0 ถึง ) รวม 50
24
สูตรการคำนวณค่าดัชนีการใช้พลังงาน :
ดัชนีชี้วัดประสิทธิภาพการใช้พลังงาน (Energy Utilization Index : EUI) = (90% ของปริมาณการใช้พลังงานมาตรฐาน) – ปริมาณการใช้พลังงานจริง ปริมาณการใช้พลังงานจริง หลักฐานอ้างอิง/แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล 1. ข้อมูลรายงานในระบบ 2. หน่วยงานรายงานข้อมูลพื้นฐานสำหรับการประเมินปริมาณการใช้ไฟฟ้า และน้ำมันเชื้อเพลิงมาตรฐาน และค่าดัชนีการใช้ไฟฟ้า/น้ำมันเชื้อเพลิง ข้อมูลปริมาณการใช้ไฟฟ้า/น้ำมันเชื้อเพลิงจริงของหน่วยงาน ข้อมูลการติดตามและรายงานผลการดำเนินงานตามมาตรการประหยัดพลังงาน ในระบบ ให้ครบ 12 เดือน (ตั้งแต่เดือนต.ค.57- ก.ย.58)
25
สูตรการคำนวณการใช้พลังงานมาตรฐาน
สำนักงานทั่วไป ไฟฟ้ามาตรฐาน = [(1.501 × จำนวนบุคลากร) + (0.002 × พื้นที่ใช้สอยภายใน อาคาร) + (0.439 × เวลาทำการ) + (0.002 × จำนวนผู้เข้ามา ใช้บริการ)] × อุณหภูมิ น้ำมันมาตรฐาน = (6.917 × จำนวนบุคลากร) + (0.841 × ขนาดของพื้นที่ ให้บริการ) + (5.638 × ระยะห่างจากตัวจังหวัด) หน่วยงานระดับกรม ไฟฟ้ามาตรฐาน = [(1.294 × จำนวนบุคลากร) + (0.053 × พื้นที่ใช้สอยภายใน อาคาร) + (14.64 × เวลาทำการ) + (0.016 × จำนวนผู้เข้ามาใช้ บริการ)] × อุณหภูมิ น้ำมันมาตรฐาน = (2.814 × จำนวนบุคลากร) + 4,065.05
26
โรงพยาบาล ไฟฟ้ามาตรฐาน = [(0.108 × จำนวนบุคลากร) + (0.050 × พื้นที่ใช้สอยภายในอาคาร) + (8.898 × จำนวนเตียง) + (0.194 × จำนวนผู้ป่วยนอก) + ( × จำนวนวันนอนรวมผู้ป่วยใน)] × อุณหภูมิ น้ำมันมาตรฐาน = (0.531 × จำนวนบุคลากร) + (0.248 × จำนวนวันนอนรวมผู้ป่วยใน) + (0.161 × พื้นที่ของจังหวัดที่ตั้ง) + ( × ระยะห่างจาก จังหวัด)
27
ข้อสังเกตในการกรอกข้อมูลพื้นฐาน
บุคลากรทำงานเต็มเวลา (คน) - จำนวนบุคลากรที่ทำงานเต็มเวลาทำการ ตลอดทั้งเดือนนั้นนับรวมทั้ง ข้าราชการ ลูกจ้าง พนักงาน ที่ปรึกษา นักศึกษาฝึกงาน - ถ้าแบ่งเวลาทำงานเป็นรอบ ก็ให้นับจำนวนรวมกัน 2. จำนวนผู้เข้ามาใช้บริการ (คน) - จำนวนบุคคลภายนอกที่เข้ามาใช้บริการ - จำนวนของผู้ที่เข้าใช้ห้องประชุม 3. เวลาทำการ (ชั่วโมง) - เวลาทำงานปกติ นับรวมทั้งเดือนเฉพาะวันทำการ - เวลาทำงานนอกเวลา (Overtime) 4. จำนวนเตียง (เตียง) - นับจำนวนเตียงทั้งหมด (มีคนไข้ และไม่มีคนไข้) 5. จำนวนผู้ป่วยนอก (ครั้ง) - นับจำนวนครั้งที่มารับบริการในแต่ละวัน - ไม่นับจำนวนญาติ/ผู้ติดตาม 6. จำนวนผู้ป่วยใน - จำนวนผู้ป่วยที่รับไว้รักษา และนอนโนโรงพยาบาลในแต่ละวัน
28
ชี้แจงเกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด
มิติพัฒนาองค์การ 28
29
การดำเนินการตัวชี้วัดที่ 5 การพัฒนาองค์การตามแนวทาง PMQA
ใช้คู่มือการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ 29
30
ตัวชี้วัดที่ 5 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาองค์การ
ตามแนวทาง PMQA เกณฑ์การให้คะแนน 200 คะแนน หมวดที่ 1 การนำองค์การ 35 หมวดที่ 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ 35 หมวดที่ 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 35 หมวดที่ 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 35 หมวดที่ 5 การมุ้งเน้นทรัพยากรบุคคล 30 หมวดที่ 6 การจัดการกระบวนการ 30 ประกอบด้วยเกณฑ์การประเมิน 24 ข้อ หลักฐานอ้างอิงขั้นต่ำ 14 รายการ 30
31
คำอธิบาย เกณฑ์การประเมินตัวชี้วัดนี้ กำหนดขึ้นเพื่อประเมินสถานภาพหน่วยงาน ในการพัฒนาองค์การตามแนวทางการบริหารจัดการภาครัฐในเบื้องต้น ซึ่งคัดเลือกเฉพาะประเด็นสำคัญในแต่ละหมวดมาประเมินกระบวนการดำเนินงาน และผลผลิตที่เกิดขึ้น คำนิยาม ผู้รับบริการ : บุคคลที่มารับบริการจากหน่วยงานทั้งภายใน และภายนอกองค์กร ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย : บุคคล/หน่วยงานที่รับบริการจากผู้รับบริการขององค์กร และผู้ได้รับผลกระทบทั้งทางตรงและทางอ้อมจากการให้บริการของหน่วยงาน มาตรฐานการให้บริการ : แผนภูมิหรือคู่มือการติดต่อราชการ ที่ผู้ให้บริการ ประกาศ/เผยแพร่ให้ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทราบแนวทางการปฏิบัติในการมารับบริการ บริการที่จะได้รับ และระยะเวลาแล้วเสร็จ มาตรฐานการปฏิบัติงาน (SOP) : คู่มือการปฏิบัติงานของบุคลากร ทุกหน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย ต้องจัดทำคำรับรองฯ ตัวชี้วัดนี้ การประเมินผล พิจารณาจากการดำเนินงานตามเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้
32
ประเด็นการประเมินผล คะแนน
หมวดที่ 1 การนำองค์การ 35 คะแนน ประเด็นการประเมินผล คะแนน 1.1 ผู้บริหารของหน่วยงานมีการกำหนดทิศทาง นโยบาย เป้าหมายการดำเนินงาน และถ่ายทอด สื่อสารให้บุคลากรรับรู้และนำไปปฏิบัติ 15 1.2 ผู้บริหารมีการมอบอำนาจและความรับผิดชอบในการตัดสินใจ 10 1.3 ผู้บริหาร มีบทบาทในการติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน 32
33
หมวดที่ 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์
35 คะแนน ประเด็นการประเมินผล คะแนน 2.1 มีการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลปัจจัยภายในภายนอกที่สำคัญ 5 2.2 มีการจัดทำแผนยุทธศาสตร์/แผนปฏิบัติการของหน่วยงาน 2.3 มีการจัดทำข้อตกลงในการถ่ายทอดตัวชี้วัด จากระดับหน่วยงานสู่ระดับบุคลอย่างเป็นระบบ (Flow Chart) 10 2.4 มีการสื่อสารและทำความเข้าใจ เรื่องการนำแผนยุทธศาสตร์/แผนปฏิบัติการไปปฏิบัติ 2.5 มีการติดตาม การรายงานความก้าวหน้าการปฏิบัติงานตามแผนฯ และสรุปบทเรียนของการดำเนินงานระดับหน่วยงาน/ระดับบุคคล หลักฐาน : แผนยุทธศาสตร์/แผนปฏิบัติการ ส่งรอบ 6 เดือน หลักฐาน : แผนภาพแสดงการถ่ายทอดตัวชี้วัดและจากระดับหน่วยงานสู่ระดับบุคคล ส่งรอบ 6 เดือน 33
34
หมวดที่ 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
35 คะแนน ประเด็นการประเมินผล คะแนน หลักฐาน 3.1 มีการวิเคราะห์กลุ่ม C/SH สินค้าและบริการ ความคาดหวังความต้องการของ C/SH 15 ผลการวิเคราะห์ (ตามแบบฟอร์ม) ส่งรอบ 6 เดือน 3.2 มีการกำหนดมาตรฐานการให้บริการ ซึ่งมีระยะเวลาแล้วเสร็จของงานบริการ 5 มาตรฐานการให้บริการ 3.3 มีกิจกรรมสร้างความสัมพันธ์กับ C/SH รายงานสรุปผลการดำเนินกิจกรรม (ตามแบบฟอร์ม) 3.4 มีการดำเนินงานโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมในกระบวนงานหรือกิจกรรมของหน่วยงาน 3.5 มีการวัดความพึงพอใจและความไม่พึงพอใจของ C/SH รายงานสรุปความพึงพอใจ/ไม่พึงพอใจ 34
35
หมวดที่ 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้
35 คะแนน ประเด็นการประเมินผล คะแนน หลักฐาน 4.1 มีฐานข้อมูลสนับสนุนการดำเนินงานที่ครอบคลุม ถูกต้อง ทันสมัย 10 รายการฐานข้อมูลหรือระบุ URL เว็บไซต์ 4.2 มีระบบเทคโนโลยี ที่ C/SH สามารถเข้าถึงข้อมูล ข่าวสารและรับบริการได้อย่างสะดวก รวดเร็ว ทั่วถึง ทุกกลุ่ม 5 4.3 มีระบบติดตามเฝ้าระวังและเตือนภัยที่มีความไวต่อการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น 4.4 มีการจัดการความรู้ระหว่างบุคลากรในหน่วยงาน C/SH และมีการนำความรู้ไปใช้การพัฒนางาน รายงานสรุปผลการดำเนินงานกิจกรรมการจัดความรู้ภายในหน่วยงาน (ตามแบบฟอร์ม) 35
36
หมวดที่ 5 การมุ้งเน้นทรัพยากรบุคคล
30 คะแนน ประเด็นการประเมินผล คะแนน หลักฐาน 5.1 มีการพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้/ทักษะ และสามารถนำไปใช้ในการปฏิบัติงานให้บรรลุผลตามเป้าประสงค์ของหน่วยงาน 15 รายงานผลการพัฒนาความรู้/ทักษะ (ตามแบบฟอร์ม) ส่งรอบ เดือน 5.2 มีกิจกรรมส่งเสริมการมีสมรรถนะที่ดีของบุคลากร รายงานสรุปผลการจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการมีสมรรถนะที่ดีของบุคลากร (ตามแบบฟอร์ม) 36
37
หมวดที่ 6 การจัดการกระบวนการ
30 คะแนน ประเด็นการประเมินผล คะแนน หลักฐาน 6.1 มีการกำหนดกระบวนการทีสร้างคุณค่าและกระบวนการสนับสนุน ตามภารกิจของหน่วยงาน 5 หลักฐานการกำหนดกระบวนการสร้างคุณค่าและกระบวนการสนับสนุน 6.2 มีการจัดทำมาตรฐานการปฏิบัติงาน (SOP) ของกระบวนการสร้างคุณค่าและกระบวนการสนับสนุน 10 มาตรฐานการปฏิบัติงาน (SOP) 6.3 มีการนำมาตรฐานการปฏิบัติงานในข้อ 6.1 ไปใช้ในการดำเนินงานไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 ของกระบวนการสนับสนุนตามภารกิจของหน่วยงาน หลักฐานแสดงการนำมาตรฐานการปฏิบัติงานไปใช้ในการดำเนินงาน 6.4 มีแผนสำรองฉุกเฉิน เพื่อรองรับภาวะฉุกเฉิน ต่าง ๆที่อาจเกิดขึ้นและมีผลกระทบต่อการจัดกระบวนการ 37
38
Q&A 38
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.