งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 ที่เรียน จากการจัดกิจกรรมการเรียน โดยใช้การจัดลำดับ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 ที่เรียน จากการจัดกิจกรรมการเรียน โดยใช้การจัดลำดับ."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1

2 ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 ที่เรียน จากการจัดกิจกรรมการเรียน โดยใช้การจัดลำดับ ขั้นตอนการคำนวณความเค้นในการเรียนวิชาความ แข็งแรงของวัสดุ ชื่อผู้วิจัย / ตำแหน่ง นายเสกสรรค์ สัทธาอนันต์ ตำแหน่ง หัวหน้า โรงงานหมวดวิชาเทคนิคพื้นฐาน สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก

3 ในการเรียนการสอนวิชา ความแข็งแรง ของวัสดุ เนื้อหาในบทที่ทำการวิจัยนี้จะเน้นถึง การศึกษาเกี่ยวกับหลักการคำนวณความเค้น ผู้สอนพบปัญหาในการจัดการเรียนการ สอนที่นักศึกษาขาดความเข้าใจหลักการ คำนวณหาความเค้นจึงทำให้นักศึกษาไม่ สามารถหาค่าความเค้นได้ จึงส่งผลให้เกิดความเบื่อหน่ายและไม่น่าสนใจ ของผู้เรียน ซึ่งสภาพปัญหาดังกล่าวนี้ชี้ให้เห็นว่า ปัญหาในการจัดการเรียนการสอนควรได้รับการ ปรับปรุงแก้ไข เพื่อให้การเรียนวิชาความ แข็งแรงของวัสดุ สัมฤทธิ์ผลตามจุดประสงค์ของ การจัดการเรียนการสอน ปัญหา การวิจัย

4 1. เพื่อหาวิธีคำนวณความเค้น ใน รายวิชาความแข็งแรงของวัสดุ รหัสวิชา 3100 - 0107 สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูงให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 ที่เรียนจากการจัด กิจกรรมการเรียน โดยใช้การจัดลำดับ ขั้นตอนการคำนวณความเค้น ในวิชาความ แข็งแรงของวัสดุ รหัสวิชา 3100 - 0107 โดยใช้ แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน วัตถุประ สงค์

5 ตารางที่ 1 แสดงจำนวนร้อยละค่าเฉลี่ยและ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของ คะแนนทดสอบก่อนเรียนและหลัง เรียนวิชาความแข็งแรงของวัสดุ คะแนน ร้อยละ S.D. ————————————————————————————————— คะแนนทดสอบก่อนเรียน 46.4 4.64 0.95 คะแนนทดสอบหลังเรียน 85.2 8.52 1.08 ————————————————————————————————— —————— จากตารางที่ 1 พบว่าผลสัมฤทธิ์ของคะแนนทดสอบก่อนเรียนมี ค่าเฉลี่ย ( = 4.64) (S.D. = 0.95) คิดเป็นร้อย ละ 46.4 = 8.52 ) (S.D. = 1.08 ) คิดเป็นร้อย ละ 85.2 ส่วนผลสัมฤทธิ์ของคะแนนทดสอบ หลังเรียนมีค่าเฉลี่ย (

6 ตารางที่ 2 การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของคะแนน ทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนวิชา ความแข็งแรงของวัสดุ คะแนน ร้อยละ S.D. t ——————————————————————————— คะแนนทดสอบก่อนเรียน 46.4 4.64 0.95 - คะแนนทดสอบหลังเรียน 85.2 8.52 1.08 20.91 ——————————————————————————— —————————— T (.05, df 19 ) = 1.7291 จากตารางที่ 2 พบว่าค่า t ที่คำนวณได้มีค่าเท่ากับ 20.91 ส่วนค่า t จากตารางที่ระดับ.05, df 19 มีค่าเท่ากับ 1.7291 ซึ่งค่า t ที่ได้ จากการคำนวณมีค่ามากกว่าค่า t ในตาราง นั่นคือคะแนนที่ได้จาก การทดสอบหลังเรียนสูงกว่าคะแนนที่ได้จากการทดสอบก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 เป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้

7 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา ความแข็งแรงของเรื่อง ความเค้นในวัสดุ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 ที่เรียนจากการจัดกิจกรรมการเรียน โดยใช้การจัดลำดับขั้นตอนการคำนวณความเค้นในการ เรียน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D. = 0.95 ) ส่วน ผลสัมฤทธิ์ของคะแนนทดสอบหลังเรียนมีค่าเฉลี่ยส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D. = 1.08 ) การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ของคะแนนทดสอบก่อน เรียนหลังหลังเรียนวิชาความแข็งแรงของวัสดุเรื่อง ความ เค้นในวัสดุ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นสูงปีที่ 2 ที่เรียนจากการจัดกิจกรรมการเรียน โดยใช้ การจัดลำดับขั้นตอนการคำนวณความเค้นในการเรียน พบว่าผลสัมฤทธิ์ของคะแนนทดสอบหลังเรียนสูงกว่า ก่อนเรียน สรุปผล การศึกษา

8 2. เป็นส่วนในการช่วยพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอน ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น การนำผลการวิจัยไปใช้ ประโยชน์ 1. เป็นแนวทางสำหรับครูอาจารย์ที่สนใจการใช้การสอน โดยการใช้การจัดลำดับขั้นตอนการ คำนวณความเค้น 3. เป็นแนวทางการวิจัยโดยใช้วิธีการสอนโดยการใช้ การจัดลำดับขั้นตอนการคำนวณในการ เรียนวิชาคำควณ ในรายวิชาอื่น ๆ ต่อไป

9 จบการ นำเสนอ


ดาวน์โหลด ppt ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 ที่เรียน จากการจัดกิจกรรมการเรียน โดยใช้การจัดลำดับ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google